16
เอกสารประกอบการเรียนวิชา นาฏศิลป์ เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่า ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท2 โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ จังหวัดร้อยเอ็ด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)

Embed Size (px)

Citation preview

เอกสารประกอบการเรียนวิชา นาฏศิลป์

เรื่อง นาฏยศัพท์และภาษาท่า

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

โดย นางสาวพนมพร ชินชนะ ครูชำนาญการพิเศษ

โรงเรียนจันทรุเบกษาอนสุรณ์ จังหวัดร้อยเอ็ด

สำนักงานเขตพืน้ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27

นาฏยศัพท์ คือ ศทัพ์ท่ีใช้ในวงการนาฏศิลป์ ใช้ส่ือความหมายในการแสดง

ได้ทกุฝ่ายของการแสดง

กิริยาเท้า

กระดก คือ ลกัษณะของการใช้เท้ายกขึน้ โดยให้ปลายเท้าชีล้ง แบง่ออกเป็น

กระดกหลัง คือ การยกเท้าไปข้างหลงั พยายามให้ส้นเท้าติดกบัก้น หรือ เกือบติดก้นโดยการดนัเข่าไปข้างหลงัมากๆ

กระดกเสี้ยว คือ การยกเท้าคล้ายกระดกหลงั แตย่กเท้ากระดกเฉียงไปด้านข้าง ซึง่ถ้ามองข้างหน้าจะสามารถมองเท้าที่กระดกได้ชดัเจน

ประเทา้ คือ เป็นกิริยาของเท้าที่วางอยูเ่บือ้งหน้า ใช้ในทา่ร าก่อนการยกเท้า ด้วยการเผยอจมกูเท้าขึน้เพียงนิดเดียว โดยที่ส้นเท้ายงัติดพืน้อยู ่ เชิดปลายเท้าขึน้ทกุนิว้

และตบจมกูเท้าลงกบัพืน้เบาๆแล้วยกเท้าขึน้ วิธีประเท้านีต้้องยอ่เข่าหรือหม่เข่าก่อน

ทกุครัง้

ยกเทา้ คือ การยกเท้าขึน้ไว้ข้างหน้า สืบเน่ืองมาจากการประเท้า อาจสืบเน่ืองจากการถอนเท้าแล้วยก หรือการก้าวเท้าปกติแล้วยก

ยกหน้า คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหนึง่ยกขึน้มาเหนือพืน้ให้ฝ่าเท้าอยูต่รงกบัเข่าข้างที่ยืนหรือต ่ากวา่นัน้เพียงเล็กน้อย หกัข้อเท้าและปลายนิว้เท้าขึน้ สว่นเท้าที่ไมไ่ด้ยก

ให้ยืนเป็นหลกัยอ่เข่าเล็กน้อย ส าหรับ

พระ จะกนัเข่าออกไปข้างๆ หนัปลายเท้าไปด้านข้าง เหลี่ยมขากว้าง

ตวันาง ยกเท้าข้างหน้าปลายเท้าตรง เชิดปลายเท้าขึน้การยกเท้าต้องหกัข้อเท้า

เข้าหาล าขาสว่นลา่ง

ยกขา้ง คือ การยกเท้าคล้ายยกหน้า แตด่นัเขา่ออกไปข้างมากๆ ส าหนบั “พระ” ถ้าเป็นตวันางจะเรียกวา่ “เดี่ยว” แทน คือใช้ส้นเท้าจรดขาข้างหนึ่ง ระดบัเขา่ข้างที่

ยืน แยกเข่าเหมือนตวัพระ

กา้วเทา้

การกา้วเทา้ คือ การใช้เท้าข้างใดข้างหน่ึงก้าวลงกับพืน้ โดยน า้หนักตัวต้องโน้มหนักไปข้าหน้าเท้าที่ก้าว เท้าหลังย่อเช่าให้ดูพองาม ถ้าเป็นพระจะเหล่ียมกว้าง นางจะแคบลง

ก้าวหนา้ คือ การก้าวเท้ามาข้างหน้าหรือสืบเน่ืองจากยกเท้าข้างใดข้างหนึ่งแล้ววางลงกบัพืน้โดยใช้ส้นเท้าวางก่อนแล้วจงึวางเต็มเท้าไปข้างหน้า ให้ส้นเท้าข้างหน้าตรง

กบัหวัแมเ่ท้าข้างหลงั เปิดส้นเท้าหลงัขึน้ ส าหรับตวัพระยอ่ตวักนัเข่าทัง้สองข้าง

ก้าวข้าง คือ การก้าวเท้าไปด้านข้าง ข้างใดข้างหนึ่ง เวลาก้าวให้ปลายเท้าที่ก้าวตัง้ฉากกบัเท้าที่ยืน ตวัพระไมต้่องเปิดส้นเท้า ตวันางจะหลบเข่าและเปิดส้นเท้าหลงั

ก้าวไขว้ คือ การก้าวเท้าเหมือนก้าวหน้า แตใ่ห้เท้าไขว้กนัมากกวา่ก้าวหน้า ลกัษณะการก้าวไขว้ตวันางมกันิยมใช้ ตวัพระจะใช้เป็นบางครัง้เชน่ การขยัน่เท้า

กิรยิามอื

การสะบัดมือจีบ คือ ลกัษณะของมือจากจีบหงาย หรือจีบปรกข้าง แล้วคลายจีบออก

โดยคลายฝ่ามือลงแล้วพลิกข้อมือขึน้ตัง้วง

ม้วนมือ คือ เป็นกิริยาของมือที่สืบเน่ืองมาจากจีบหงาย กระท าเม่ือเปลี่ยนมือจีบ

เป็นมือแบ วิธีม้วนมือคือ คอ่ยๆปักจีบที่หงายลงลา่งด้วยการม้วนมือลง แล้วคลาย

จีบออกให้มือแบแล้วตัง้วง

คลายมอื คือ เป็นกิริยาของมือสืบเน่ืองจากจีบคว ่า คอ่ยๆพลิกข้อมือหงายขึน้ ขณะที่

มือเร่ิมหงายก็ให้คลายจีบออกช้าๆจนมือแบ ท าจงัหวะคล้ายสะบดัมือจีบแตจ่ะอยูส่งู

หรือต ่าก็ได้

กรายมอื คือ ลกัษณะคล้ายม้วนจีบ แตล่ าแขนเหยียดตงึแล้วจงึงอแขนตัง้วง กราย

มือนีเ้ป็นสว่นหนึ่งของกิริยากราย ซึง่รวมทัง้การเคลื่อนไหวตวั ประกอบกบัลกัษณะ

เท้าพร้อมกนั

ภาษาทา่

ภาษาท่า คือ การใช้ทา่ทางสื่อความหมายในการแสดง

1. ปกเกล้า/ ร่มเย็น /ค า้จนุ คือ การจีบปรกข้างสงูเหนือศีรษะ

2. สวา่งไสว ผุดผ่อง รุ่งเรือง ร ่าลือ คือ จีบคว ่าคลายจีบจากลา่งไปสงู

3.ยวนใจ ใฝ่ฝัน เอ็นดู คิดถึง คือ ประกบฝ่ามือรวมที่อก

4.โศกเศร้า ไม่สบาย ทุกข์ร้อน คอื ประสานล าแขนสว่นลา่ง แตะฝ่ามือที่สะโพก

5. เห็น ประจกัษ์ คือ มือชีท้ี่ตา

6.ได้ยิน รู ้ ฟัง ไพเราะ คือ มือชีท้ี่ห ู

7. พูด กิน คือ มือชีท้ี่ปาก

8. เป็นใหญ่ มีศักด์ิ มฤีทธ์ิ สวยงาม คือ มือหนึ่งตัง้วงบวับาน มือหนึ่งท าวงหน้า

9. โอด เสียใจ คือ ฝ่ามือแตะที่หน้าผาก แล้วใช้ปลายนิว้ซบัน า้ตา (ใช้มือซ้าย)

10. ประณีต ดอกไม้ คือ จีบหงายหกัข้อมือเข้าหาล าตวัลดระดบัลงเล็กน้อย

หนงัสอือ้างอิง

รารี ชยัสงคราม หนงัสอืนาฏศิลป์ไทยเบือ้งต้น : องค์การค้าครุุสภา 2544

วริฎฐา ศิริธงชยักลุ หนงัสอืดนตรี-นาฏศิลป์ สถาบนัพฒันาคณุภาพวิชาการ(พว.) 2551

สมิุตร เทพวงษ์ หนงัสอืนาฏศิลป์ไทยส าหรับครูประถมและมธัยม ส านกัพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2541

สมิุตร เทพวงษ์ หนงัสอืนาฏศิลป์ไทยส าหรับครูประถม-อุดมศกึษา ส านกัพิมพ์โอเดียนสโตร์ 2548