Digital Technology for Museum

Preview:

DESCRIPTION

การบรรยายในหัวข้อ "พิพิธภัณฑ์ดิจิทัล: การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับงานพิพิธภัณฑ์" ให้กับเครือข่ายพิพิธภัณฑ์ภาคเหนือ ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2552 ณ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

Citation preview

พิพิธภัณฑดิจิทัลพิพิธภัณฑดิจิทัลการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลกับงานพิพิธภัณฑการประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลกับงานพิพิธภัณฑ

ราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ

หนวยปฏิบัติการวิจัยคลังอนุพนัธความรู

ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ

2

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร? มีประโยชนอยางไร

• ตัวอยางพิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

3

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พพิธิภัณฑดิจิทัลคืออะไร? มีประโยชนอยางไร?

• ตัวอยางพิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

4

““พพิิธภณัฑดิจิทัลพพิิธภณัฑดิจิทัล”” คืออะไรคืออะไร??

พพิธิภัณฑดิจิทัล (Digital Museum) คือ การ

ประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดเกบ็ การจัดการ

และการเผยแพร (จัดแสดง) หรือแลกเปลี่ยน ขอมูล

องคความรู (ทั้งแบบจับตองได และจับตองไมได) ของ

พิพิธภัณฑ

5

““เทคโนโลยีดิจิทัลเทคโนโลยีดิจิทัล”” คืออะไรคืออะไร??

เทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีการสื่อสารองคความรู + +

การจัดแสดงแบบออนไลน การจัดแสดงแบบออฟไลน

6

ทําไมตองทําไมตอง ““ดิจิทัลดิจิทัล””??

สามารถขอมูลตัวอักษร รูปภาพ เสียง วิดีโอ และ

ภาพเคลื่อนไหว

มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บ และจัดการกับขอมูล

จํานวนมาก รวมทั้งการสืบคนขอมูลที่ตองการได

สะดวก รวดเร็ว และตรงกับความตองการของผูใช

มีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ดานฮารดแวร

และซอฟตแวรอยางตอเนื่อง

7

อนุรักษอนุรักษ

ชวยในการอนรุักษขอมูลสําคัญ โดยลดการใชงานขอมูลตนฉบับที่ออนไหวตอการถกูทําลาย เสี่ยงตอการเสียหาย หรือสูญหายจากการเขาถึงไดโดยตรงจากผูใช

จัดการจัดการ

ชวยใหเจาของขอมูล มีเครื่องมือชวยในการบริหารจัดการขอมูลจํานวนมากอยางเปนระบบ ชวยในการแลกเปลีย่นหรือเผยแพรขอมูลผานระบบคอมพิวเตอรและเครือขายอินเทอรเนต็

เรียนรูเรียนรู

เปนแหลงเรียนรูดวยตนเองตลอดชีวิต 7 วัน 24 ชั่วโมง สําหรับทุกคน โดยบรรจุองคความรูที่สําคัญทางประวัติศาสตร ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาของบรรพบุรุษ

พิพธิภณัฑดิจิทัลมีประโยชนอยางไรพิพธิภณัฑดิจิทัลมีประโยชนอยางไร??

8

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร? มีประโยชนอยางไร?

• ตัวอยางพพิธิภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• เราจะพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

9

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลBritishBritish MuseumMuseum

EnglandEnglandhttp://www.britishmuseum.org/

10

11

12

13

14

15

16

17

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลLouvre MuseumLouvre Museum

FranceFrancehttp://www.louvre.fr/

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลNational Palace MuseumNational Palace Museum

TaiwanTaiwan

28

29

http://www.npm.gov.tw/

30

31

32

33

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

34

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

35

In this CD-Rom, users can explore the virtual Great Garden. Within the Great Garden, users can viewanimated movies in the Theater.

36

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

37

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

38

Der-Tsai Lee, TELDAP! Looking to the Future (Taiwan e-Learning & Digital Archives Program), NECTEC-ACE 2008, Thailand September 24, 2008

39

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

40

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

41

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

42

Aesthetic Models of “Old is New”—Value-Added Applications

43

Image Licensing-StarBucks Coffee

Notebooks Coffee cup

Wallet

Double-deck ceramic cup

2007,Jan 3 -14000 limited products

44

Brand Licensing-Franz

45

• E-Commerce

Internet Marketing-National Palace Museum Online Store

https://www.npmeshop.com/

46

47

Promoting the National Palace Museum

The Art Gallery of the NPM in the airport

Short film on buses, MRT and ATM

48

Promoting the National Palace Museum

49

ตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลตัวอยางพิพธิภณัฑดิจิทัลJ. Paul Getty MuseumJ. Paul Getty Museum

USAUSA

50

51

J. Paul Getty Museum

52

53

54

55

56

57

58

ตัวอยางคลังภาพดิจิทัลตัวอยางคลังภาพดิจิทัลBritish LibraryBritish Library

http://www.imagesonline.bl.uk/

59

60

61

62

63

ตัวอยางคลังเสียงตัวอยางคลังเสียงBritish LibraryBritish Library

http://www.bl.uk/

64

65

66

67

ตัวอยางคลังสื่อประสมตัวอยางคลังสื่อประสม

http://www.archive.org/

68

69

70

71

72

73

ตัวอยางคลังเอกสารโบราณตัวอยางคลังเอกสารโบราณSoutheast Asia Digital LibrarySoutheast Asia Digital Library

http://sea.lib.niu.edu/manuscript.html

74

75

76

77

78

79

ตัวอยางคลังจดหมายเหตุตัวอยางคลังจดหมายเหตุคลังจดหมายเหตุพุทธทาสคลังจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญอินทปญโญ

http://www.bia.or.th/

80

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญ ณ สวนวชริเบญจทัศหอจดหมายเหตุพุทธทาสหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปญโญอินทปญโญ ณณ สวนวชริเบญจทัศสวนวชริเบญจทัศ

81

อยูไมไกลจากแหลงชุมชน

เขาถึงไดงายทั้งทางรถยนต รถประจําทาง

และรถไฟลอยฟา และรถไฟใตดิน

มีบรรยากาศสงบ รมรื่น

ควรแกการศึกษาธรรม

ไดรับความเอื้อเฟอจากกรุงเทพฯ

ในการใชพื้นที่

สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) กรุงเทพฯ

82

เพื่อเปนแหลงรวบรวม ดแูล รักษา และอนุรักษผลงานการศึกษา คนควา และ

เผยแผพุทธธรรม ที่ทานพุทธทาสทําไว ใหสามารถใชงานไดอยางยั่งยืน

เพื่อเปนแหลงรวบรวม ดแูล รักษา และอนุรักษผลงานการศึกษา คนควา และ

เผยแผพุทธธรรม ที่ทานพุทธทาสทําไว ใหสามารถใชงานไดอยางยั่งยืน

เพื่อใหการบริการและสนับสนุน ในการศึกษา คนควา วิจัยพัฒนา เผยแผ

และแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานศาสนธรรม

เพื่อใหการบริการและสนับสนุน ในการศึกษา คนควา วิจัยพัฒนา เผยแผ

และแลกเปลี่ยนเรียนรู ดานศาสนธรรม

เพื่อสืบสานปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธทาส ในการเขาถึงหัวใจของ

ศาสนาของตน มีความเขาใจระหวางศาสนา และพนจากอํานาจวัตถุนิยม

เพื่อสืบสานปณิธาน ๓ ประการของทานพุทธทาส ในการเขาถึงหัวใจของ

ศาสนาของตน มีความเขาใจระหวางศาสนา และพนจากอํานาจวัตถุนิยม

๑๑

๒๒

๓๓

วัตถุประสงคของโครงการวัตถุประสงคของโครงการ

83

ผลงานตนฉบับอยูในสภาพที่มีความเสีย่งตอการชํารุดเสียหาย

84

ขอบเขตของขอมูลในหอจดหมายเหตุฯขอบเขตของขอมูลในหอจดหมายเหตุฯ

หนังสือ บันทึก ลายมือ

ตนฉบับ

๑๘,๕๖๕ รายการ

(๕๗๕,๐๐๐ หนา)

หนังสือ บันทึก ลายมือ

ตนฉบับ

๑๘,๕๖๕ รายการ

(๕๗๕,๐๐๐ หนา)

ภาพ

๔,๐๘๓ รายการ

(๕๑,๓๐๐ ชิ้น)

ภาพ

๔,๐๘๓ รายการ

(๕๑,๓๐๐ ชิ้น)

เสียงและโสตทัศน

๒๓๔ แผน

๑,๙๐๐ GB

เสียงและโสตทัศน

๒๓๔ แผน

๑,๙๐๐ GB

วัสดุอื่นๆวัสดุอื่นๆ

หอจดหมายเหตุ

พุทธทาส อินทปญโญ

แหลงรวบรวม และอนุรักษผลงานตนฉบับของทานพทุธทาส

85www.bia.or.th

การจัดทําสําเนาดิจิตอล, ฐานขอมลูดิจิตอล และ

จัดเตรียมอปุกรณเกบ็สําเนาดิจิตอล และ บุคลากรใน

การดแูลรกัษาและควบคุม เกบ็รายละเอียดขอมูลตามมาตรฐานจดหมายเหตุ ISAD

ผลงานตนฉบับ

กรรมวิธีอนุรักษตนฉบับ

ตามหลักจดหมายเหตุสากล

จดัทําทะเบียนควบคุม

การจดัเกบ็ตนฉบับ การจดัเกบ็ในรูปแบบดจิติอล

การจัดเตรยีมสถานที่เกบ็ทีไ่ดรับการควบคมุอณุหภูมิ

และความชื้น

การจัดเกบ็รกัษาดวยอุปกรณมาตรฐานที่ใชในการ

จัดเก็บจดหมายเหตุโดยเฉพาะ

ควบคุมดูแลทุกขั้นตอนโดยผูเชีย่วชาญดานจดหมายเหตุและเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดยจะเปนหอจดหมายเหตุดิจิตอลที่สมบูรณ

แนวทางในการดําเนินงานแนวทางในการดําเนินงาน

86

ผลงานการศกึษา

คนควา และเผยแผ

พุทธธรรม

ที่ทานพุทธทาสทําไว

หอจดหมายเหตุ

พุทธทาส อินทปญโญ

ระบบอินเตอรเน็ต

สื่อสิ่งพิมพตางๆ

ผลงานตนฉบับ

ฐานขอมูลดิจิตอล

นิทรรศการ

ฐานขอมูลดิจิตอล

หนังสือ บทความ

(ภาษาไทย/ตางประเทศ)

กิจกรรมในการปฏิบัติ

ธรรมและเสวนา

รปูแบบการใหบรกิารรปูแบบการใหบรกิาร

87

ตัวอยางงานที่สําเร็จในปตัวอยางงานที่สําเร็จในป พพ..ศศ.. ๒๕๕๑๒๕๕๑

สวนโมกขสวนโมกข๓๖๐๓๖๐ องศาองศา

88

ตัวอยางงานที่สําเร็จในปตัวอยางงานที่สําเร็จในป พพ..ศศ.. ๒๕๕๑๒๕๕๑

สวนโมกขสวนโมกข ๓๖๐๓๖๐ องศาองศา

89

เนื้อหาการบรรยายเนื้อหาการบรรยาย

• พิพิธภัณฑดิจิทัลคืออะไร? มีประโยชนอยางไร?

• ตัวอยางพิพิธภัณฑดิจิทัลในปจจุบัน

• เราจะพฒันาพพิิธภัณฑดิจิทัลไดอยางไร?

90

เริ่มตนพัฒนาพิพิธภัณฑดิจิทัลอยางไร?

• สํารวจและแบงกลุมของขอมูลหรือเนื้อหา เพื่อ

– หามาตรฐานของคําอธิบายที่เหมาะสมสําหรับกลุมนัน้ๆ

– หาวิธีการในการแปลงขอมูลที่เหมาะสําหรับขอมูลรูปแบบตางๆ

– สําหรับกําหนดรูปแบบของการนาํเสนอ

• เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการทาํงาน (งาน คน เงิน เวลา)

91

ตัวอยางการจัดกลุมขอมูลจําแนกตามประเภทของสิ่งของ

• พระพุทธรูป• เครื่องพระราชทาน• เครื่องถมปด• ตาลปตร พัดรอง• เครื่องเบญจรงค• เครื่องลายคราม

• ปนชา• เครื่องประดับมุก• เครื่องแกวโบราณ• ตุกตาประดบัพระเมรุ• เครื่องสังเค็ด

วัตถทุี่จัดแสดงในพิพิธภัณฑอิเล็กทรอนกิสวัดมกุฏกษัตริยารามถูกแบงเปน 11 ประเภทคือ

92

ตัวอยางการจัดกลุมขอมูลจําแนกตามชนิดของวสัดุ

• วัสดุสะทอนแสง• วัสดุไมสะทอนแสง• ผา• ใบลาน• กระดาษโบราณ• หิน, จารึก• วัตถุขนาดเลก็• วัตถุขนาดใหญ

93

1

แปลงขอมูล

DIGITIZATION

3

แสดงผลขอมูล

INFORMATION

VISUALIZATION

2

บริหารจัดการขอมูล

INFORMATION

MANAGEMENT

กระบวนการในการพัฒนาพพิิธภัณฑดิจิทัล

94

การแปลงขอมูล

(Digitization)

95

การแปลงขอมูล (Digitization)

Analog ------------------------> Digital

scan

shoot

record

digital photo

digital video/audio

96

ประเด็นพิจารณาในการเลือกวิธีการในการแปลงขอมูล

• ชนิดของขอมูล หรือวสัดุ

• วัตถุประสงค หรือการใชงานอนาคต เชน ตองการใหสามารถ

ทาํการคนหาขอมูลในเอกสารได (Full text search)

• บุคลากร (ทาํเองหรือวาจางภายนอก)

• งบประมาณ

• สื่อทีใ่ชในการจัดเก็บ และมาตรฐานที่เกี่ยวของกับการจัดเก็บขอมูล

ชนิดของตนฉบับ วิธีการแปลงขอมูล ไฟลตนฉบับ ไฟลเผยแพร

รูปภาพ(กระดาษ)

สแกนถายภาพ

.tif300 dpi

.jpg72 dpi

รูปภาพ(ฟลม)

สแกน(film scanner)

.tif> 300 dpi

.jpg72 dpi

วิดีโอ บันทกึ .aviไมบีบอัด

.wmv, .rm, .mov, .mp4, .mpg, .m2p

เทปเสียง บันทกึ .wav .wma, .rm, .mov, .mp3, .mp4

การกําหนดรูปแบบมาตรฐานของขอมูลดิจิทัล

97

98

การแปลงขอมูลกระดาษ

99

การแปลงขอมูลวดิีโอ

100

+ +

การถายภาพนิ่งรายละเอียดสูง

101

ภาพปกติ

ภาพปกติ VS ภาพรายละเอียดสูง

ภาพรายละเอียดสงู

102

103

High Dynamic Range Panorama

Normal panorama

HDR panorama

104

การสรางภาพสามมิติดวยกลองถายภาพนิ่งดิจิทัล

105

การแปลงขอมูลดวยเครื่องสแกนภาพเลเซอรสามมติิ

106

UNESCO World Heritage�� (BC57- AD935) Gyeongju South Mountain Seven Buddhas

107

การแปลงขอมูลดวยเครื่องตรวจจับการเคลื่อนไหว

Faridah Noor Mohd Noor, INDIAN TRADITIONAL DANCE: A VIRTUAL PROTOTYPE

108

การบริหารจัดการขอมูล

(Information Management)

109

เมื่อพูดถึงการบริหารจัดการขอมูล

• สวนใหญคิดถึงซอฟตแวรที่จะนํามาใช และปรับตัวเอง

ใหเขากับขอจํากัดของซอฟตแวรนั้นๆ มากกวาการหา

ซอฟตแวรทีเ่ขากันไดกับความตองการทางวิชาการ

• เกิดสภาวะหลายมาตรฐาน หรือไมมีมาตรฐานในการ

ใหคําอธิบายรายละเอยีดขอมูลในพิพิธภัณฑ ซึ่งจะมีผล

ตอการสกัดความรูที่ตอบสนองตอการใหบรกิารแก

กลุมเปาหมายที่หลากหลาย และการแลกเปลี่ยนขอมูล

ระหวางพิพิธภัณฑ

110

คําอธิบายวัตถุคืออะไร?

• คําอธิบายวตัถุ (Metadata) คือ สารสนเทศที่มี

โครงสราง (Structured Information)

สําหรับอธิบายรายละเอียดตางๆ ของขอมูลหลัก

• เปนเครื่องมือเพิ่มประสิทธิภาพในการเขาถึงขอมูล

สืบคนขอมูล รวมทั้งเปนเครื่องมือที่ใชในการบริหาร

จัดการขอมูลในคลังขอมูล

111

Metadata ที่ติดมากับขอมูลหลกั

112

Metadata ที่ผูใชเปนผูกําหนด

รหัสภาพ: 25500101153000

ชื่อภาพ: วัดชัยวัฒนาราม

สถานที่: อยุธยา

เจาของภาพ: ลัดดา สาระเดช

ประเภท: Landscape

Architecture

วันที่ถายภาพ: 10 มิ.ย. 2550

คําอธิบายภาพ: วัดชัยวัฒนารามตั้งอยูบนริม

ฝงแมน้ําฟากตะวันตกของเกาะเมือง พระ

เจาประสาททองทรงสรางขึ้น ในป พ.ศ.

2173

113

คําถามเกี่ยวกับการใหคําอธิบายวตัถุ

• ใชรปูแบบไหนดี? (บัญชีเดินทุงของกรมศิลปากร ฯลฯ)

• ใครเปนคนใหคําอธิบาย?

• จะใหคําอธิบายไดอยางไร? (ใชบญัชีสาระสังเขป ฯลฯ)

• เชื่อไดอยางไรวาขอมลูถูกตอง

114

คุณสมบัติของ Metadata

• ไมยึดติดกับชนิดของฮารดแวร และซอฟตแวร

• มีลักษณะโครงสรางที่เปนมาตรฐาน สามารถ

รองรับการใชงานที่หลากหลายได

• ยืดหยุนตอการเปลี่ยนแปลง

115

ประเภทของ Metadata

• Descriptive Metadata

• Administrative Metadata

• Technical Metadata

• Rights Metadata

• Source Metadata

• Digital Provenance Metadata

• Preservation Metadata

116

เมตะดาตาเพื่อการอธิบายคุณลักษณะ(Descriptive Metadata)

คือ Metadata ที่ทําหนาที่ในการอธิบายขอมูลหลัก

และหมวดหมูของขอมูล ใชเปนเครื่องมือสําหรับการ

เขาถึงขอมูล หรือใชเปนเครื่องมือสําหรับการสืบคน

ตามความสนใจของผูใช

117

เมตะดาตาเพื่อการบริหารจัดการ(Administrative Metadata)

คือ Metadata ที่มีขอมูลสําหรับใชในการบริหารจัดการ

• Technical Metadata: ขอมูลเชิงเทคนิคที่เกี่ยวของ

กับขอมูลดิจิทัลของขอมูลหลัก เชน รูปแบบไฟล,

การบบีอัดขอมูล เปนตน

• Rights Metadata: ขอมูลเกี่ยวกบัลขิสิทธิ์ในขอมูล

หลัก และสิทธิหรือขอบเขตของการใชงาน

• Source Metadata: ขอมูลเกี่ยวกับขอมูลตนฉบับ

ของขอมูลหลัก

118

เมตะดาตาเพื่อการบริหารจัดการ (ตอ)

• Digital Provenance Metadata: ขอมูลที่อธิบายถึงขอมูลดิจิทัลอื่นๆ ของขอมูลหลักเดียวกนั เชน• รายละเอียดของไฟลตนฉบับ• รายละเอียดของไฟลสําหรับเผยแพรขนาดใหญ

(สําหรับการพิมพ)• รายละเอียดของไฟลสําหรับเผยแพรขนาดเล็ก

(สําหรับดูบนเว็บ)• รายละเอียดของไฟล Thumbnail• รายละเอียดของวิธีการในการแปลงขอมูล

119

เมตะดาตาเพื่อการอนุรักษ(Preservation Metadata)

Metadata ที่เก็บขอมูลที่จําเปนสําหรับการอนุรักษ

ขอมูลตนบับ และขอมูลดิจิทัล เชน ขอมูลเกี่ยวกับ

สภาพทางกายภาพของขอมูลตนฉบับ ขอมูลที่เกี่ยว

ของกับการสงวนรักษาไฟล เปนตน

120

มาตรฐานเมตะดาตาควรเปนอยางไร?

• ชุดของรายการ (Fields) ที่ถูกกําหนด เขาใจ และ

ยอมรับในวงกวาง

• แตละพิพิธภัณฑสามารถใชงานทั้งหมดหรือ

บางสวนของมาตรฐานได ซึ่งถามีการใชรายการใด

จะตองใชในขอกําหนดดังระบุไวในมาตรฐาน

• แตละพิพิธภัณฑสามารถเพิ่มระเบียนอื่นๆ นอกเหนือจากที่กําหนดไวในมาตรฐานได

121

ตัวอยางการกําหนดมาตรฐานเมตะดาตา

122

ลักษณะการประยุกตใชมาตรฐานเมตะดาตา

มาตรฐานกลาง- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

มาตรฐานกลาง- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ก.- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ก.- เลขวัตถุ

- เลขเดิม

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ข.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ข.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- สภาพวัตถุ

พิพิธภณัฑ ค.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- ประวัติการอนุรักษ *

พิพิธภณัฑ ค.- เลขวัตถุ

- ชื่อวัตถุ

- คําอธิบาย

- ประวัติการอนุรักษ *

123

1.0แตงตั้งคณะทํางาน

2.0กําหนดกรอบและวิธีในการ

ดําเนินการ

3.0กําหนดกลุมผูใช และ

กําหนดความตองการของผูใชในแตละกลุม

4.0สํารวจมาตรฐานเมตะดาตาที่เกี่ยวของทั้งในประเทศไทยและตางประเทศ

5.0เปรียบเทียบมาตรฐานที่ไดจากการสํารวจกับความตองการของผูใชในแตละกลุม (จากขอ 3.0)

7.0กําหนดมาตรฐานกลางสําหรับเอกสารโบราณ

6.0ทดลองใช ประเมินผล รับ

ขอเสนอแนะ

8.0จัดทําเอกสารคูมือ

ประกอบมาตรฐานเพื่อเปนแนวทางในการใชงานและ

การกรอกขอมูล

แผนภาพแสดงลําดับขั้นตอนในการกําหนดมาตรฐานเมตะดาตาสําหรับเอกสารโบราณราชบดินทร สุวรรณคัณฑิ, ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ, 01/08/2551

124

ตัวอยาง Metadata

125

ตัวอยาง Metadata

Data from Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre

126

127

128

ประโยชนของ Metadata

1. เปนกลไกสําคัญในการจัดเก็บขอมูลพื้นฐาน และขอมูลที่อธิบายทีม่าของขอมูลหลัก รวมถึงขอมูลคําอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นทีส่นใจตางๆ ขอมูลเชงิลึก และขอมูลแวดลอม

2. ชวยใหสามารถบริหารจัดการขอมูลจํานวนมากไดอยางทัว่ถึง และมีประสิทธิภาพ

3. ชวยใหสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกับคลังขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของและเผยแพรขอมูลสูสาธารณะไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. ชวยสนับสนุนใหเกิดการสรางระบบคลังขอมูล เพื่อเปนแหลงเรียนรูของประเทศ หรือเปนแหลงขอมูลเพื่อการวางแผนและการตัดสินใจ

129

การแสดงผลขอมูล

(Information Visualization)

คลังขอมูลดิจิทัลคลังขอมูลดิจิทัล

สื่อดิจิทัล(CD, DVD)

คลังภาพ

คลังเสียงคลังวดิโีอ

ระบบการเรียนผานอินเทอรเน็ต

พิพิธภณัฑดจิิทัล

การแสดงผลขอมูลและการเขาถึงขอมูล

130

131

132

133

134

135

136

ขอบคุณครับขอบคุณครับ

* ดาวนโหลดเอกสารการสัมมนาไดที่ http://www.rachabodin.com/