จริยศาสตร์ สิทธิและหน้าที่

Preview:

Citation preview

สิทธิและหนาที่สิทธิและหนาที่

สิทธิ = ส่ิงที่พึงมีในฐานะมนุษย

หนาที่ = ส่ิงที่มนุษยตองรับผิดชอบปฏิบัติเมื่อไดรับสิทธิแลว

สิทธิและหนาที่กับสิทธิและหนาที่กับวิชาจริยวิชาจริยศาสตรศาสตร

สิทธิเปนผลสืบเนื่องมาจากคุณคาใน 2 ลักษณะคือ1. คุณคาในเชิงอัตนัย

สังคมกําหนดคุณคาข้ึน = สิทธิตามกฎหมาย2. คุณคาในเชิงปรนัย

คุณคาที่มีอยูแลวไมมีใครกําหนด = สิทธิซ่ึงประกันศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

สิทธิสิทธิ((Right)Right)

สิทธิ = ส่ิงที่พึงมีในฐานะมนุษยตามหลักจริยศาสตร สิทธิจะหมายถึง ขอเรียกรองในทางศีลธรรมของปจเจกชนที่สังคมยอมรับ

ปจเจกชนยอมตองการสิทธิ (ลักษณะบางประการ)เพ่ือปฏิบัติหนาที่ใหสมบูรณ

สิทธิสิทธิ((Right)Right)

• สิทธิของมนุษยตามประกาศขององคการสหประชาชาติ“ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนตามประกาศขององคการสหประชาชาต”ิ

(31 ธันวาคม ค.ศ.1966)

• สิทธิของคนไทย“รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550”

สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ(www.nhrc.or.th)

หนาที่หนาที่

หนาที่ = ส่ิงมนุษยตองรับผิดชอบปฏิบัติเมื่อไดรับสิทธิแลวตามหลักจริยศาสตร หนาที่คือ ความรับผิดชอบทางศีลธรรมของปจเจกชนที่สังคมยอมรับ

สิทธิและหนาที่เปนเหตุเปนผลของกันและกันจะมีเพียงอยางใดอยางหนึ่งไมได

สิทธิตามสิทธิตามหลักจริยหลักจริยศาสตรศาสตร1. สิทธิที่จะมีชีวิตอยู2. สิทธิที่จะมีเสรีภาพ3. สิทธิในการศึกษา4. สิทธิที่จะทํางาน5. สิทธิในทรัพยสิน6. สิทธิในสัญญาประชาคม (กฎหมาย)

หนาที่ตามหนาที่ตามหลักจริยหลักจริยศาสตรศาสตร1. หนาที่ในการยอมรับนับถือชีวิต2. หนาที่ในการยอมรับนับถือเสรีภาพและบุคลิกภาพ3. หนาที่ในการยอมรับลักษณะหรือนิสัย4. หนาที่ในการยอมรับนับถือทรัพยสินของผูอื่น5. หนาที่ในการยอมรับนับถือระเบียบของสังคม6. หนาที่ในการยอมรับนับถือความจริง7. หนาที่ในการยอมรับนับถือความกาวหนา