จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต

Tags:

Preview:

DESCRIPTION

 

Citation preview

จริยจริยศาสตรศาสตร (ETHICS)(ETHICS)

ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับจริยศาสตร

จริยจริยศาสตรกับปรัชญาศาสตรกับปรัชญา จริยศาสตรจัดเปนปรัชญาสาขาหน่ึง เกิดจากธรรมชาติของมนุษยท่ีมีความอยากรูอยากเห็น อยากเขาใจ

ชีวิตและโลก เปนการใชปญญา (คิด) เพื่อไตรตรองสิ่งท่ียังติดใจสงสัย ชวยให

เราเขาใจมนุษย เขาใจโลก และเขาใจความหมายของชีวิต

คําตอบคําตอบ

คําถามคําถาม

สงสัยสงสัย???? ความสงสัยเปนจุดเร่ิมตนของปญญา ความรูทุกชนิด

สรุป รวบรวมคําตอบไดเปนแนวคิด ทฤษฏ ีและวิชาความรูตางๆ

กระบวนการแสวงหาคําตอบกอใหเกิดความรู และปญญา

จริยจริยศาสตรศาสตร :: ความสงสัยความสงสัยอะไรเปนสิ่งท่ีดีท่ีสุดของชีวิต !!!?

มนุษยควรดํารงชีวิตอยางไรจึงจะสมกับท่ีเกิดมา ??

ความดีคืออะไร ?? ความดีมีอยูจริงหรือไม ??

มีหลักตายตัวหรือไมท่ีจะใชตัดสินความด ี??

ความหมายความหมายของจริยของจริยศาสตรศาสตร ( (Ethics)Ethics)

กีรติ บุญเจือ (2519) จริย - ศาสตร: ระบบวิชาความรูท่ีวาดวยความประพฤติ หรือกริยาท่ีควรประพฤติ

เสฐียรพงษ วรรณปก: ศาสตรหรือวิชาการท่ีคนหาวาอะไรคือความดี อะไรคือความชั่ว และในเร่ืองความดีความชั่วน้ัน อะไรดีมาก อะไรดีนอย เพราะเหตุใด โดยอาศัยหลักเหตุผลหรือตรรกศาสตรเปนตัวตัดสิน

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525

: ปรัชญาสาขาหน่ึงท่ีวาดวยความประพฤติและการครองชีวิตวา อะไรดี อะไรชั่ว อะไรถูก อะไรผิด อะไรควรทํา อะไรไมควรทํา

สรุป

จริยศาสตร คือวิชาท่ีใชวิธีการทางปรัชญา (การใชเหตุผล) เพื่อศึกษาเร่ือง คุณคาทางจริยศาสตร (ความดี) ท่ีเกี่ยวของกับพฤติกรรมหรือการกระทําของมนุษย

ลักษณะของการลักษณะของการศึกษาจริยศึกษาจริยศาสตรศาสตรเปนการศึกษาเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับความดี ชั่ว ความถูกตอง ไมถูกตอง ในเชิงปรัชญา

ขอบเขตของการขอบเขตของการศึกษาจริยศึกษาจริยศาสตรศาสตร1. คุณคาการกระทําของมนุษย2. เกณฑตัดสินคุณคาการกระทําของมนุษย3. อุดมคติหรือเปาหมายสูงสุดของชีวิต

1. คุณคาการกระทําของมนุษย ไดแก ดี ช่ัว ถูก ผิด

เปนการศึกษาความหมายของคุณคาทางจริยศาสตร (ความดี)และคุณคาการการทําของมนุษย โดยทําการศึกษาในเร่ืองตอไปน้ี

1) คุณคามาจากไหน มีความสําคัญอยางไร

2) คุณคาการกระทําของมนุษย หรือ การกระทําท่ีเรียกวา ดี - ชั่ว มีลักษณะเปนอยางไร

3) คุณคาทางจริยศาสตร (ความด)ี คืออะไร

4) ความดี - ชั่ว มีอยูจริงหรือไม มีลักษณะเปนอยางไร

2. เกณฑตัดสินคุณคาการกระทําของมนุษย เปนการศึกษาสิ่งท่ีใชในการตัดสินการกระทําของมนุษยวาดีหรือชั่ว

ถูกหรือผิด โดยศึกษาเร่ืองดังตอไปน้ี

1) ใชเหตุผลอะไรในการตัดสิน

2) เหตุผลยอมรับไดหรือไม

3) มีเหตุผลท่ีดีกวาหรือไม

4) สามารถเปนหลักเกณฑท่ีแนนอนตายตัวไดหรือไม

3. อุดมคติหรือเปาหมายสูงสุดของชีวิต

1) มนุษยเกิดมาเพื่ออะไร

2) มนุษยควรดําเนินชีวิตอยางไรจึงจะคุมคากับท่ีเกิดมา

3) อะไรคือความดีสูงสุดท่ีมนุษยควรกระทํา

4) ควรปฏิบัติตนอยางไรจึงจะไปถึงความดีสูงสุดน้ันได

ทาทีที่ควรใชในการทาทีที่ควรใชในการศึกษาจริยศึกษาจริยศาสตรศาสตร- เน่ืองจากจริยศาสตรเปนการศึกษาเร่ืองความดี ความชั่วและเร่ืองคุณคา ซึ่งเปนเร่ืองละเอียดออนและซับซอน- ผูศึกษาจะตองมีทาที (จุดยืน)ท่ีเหมาะสมเพื่อจะไดวิเคราะหปญหาตางๆ และทําการตัดสินไดอยางถูกตอง

= ทาทีของโสเครติสโสเครติส (Socrates, 470 - 399 B.C.)- จุดมุงหมายสูงสุดของชีวิตอยูท่ีการหาความรูซึ่งทุกคนมีไดเหมือนกัน หากแตกิเลสทําใหไขวเขวจึงตองตัดกิเลสควบคูกับการคนหาความรู

ทาทีของโสเครติส

สรุปจากบทสนทนาชื่อ ไครโต (Crito) ดังน้ี

1. อยาใชอารมณในการตัดสินปญหาตางๆ2. อยาเชื่อมติของคนสวนใหญ ตองคนหาคําตอบดวยตัวเอง3. ตองพิจารณาแยกแยะใหไดวาสิ่งใดถูก สิ่งใดผิด

การประยุกตการประยุกตใชจริยใชจริยศาสตรศาสตรเราสามารถประยุกตใชจริยศาสตรไดดังตอไปน้ี

1) ใชเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตน2) ใชเปนแนวทางในการตัดสินเร่ืองราวตางๆ ไดอยางยุติธรรม3) นํามาใชในการพัฒนาและยกระดับจิตใจของตน4) ชวยใหสังคมเปนปกติสุข สงบเรียบรอย5) ชวยแกปญหาในสังคม6) พัฒนาทรัพยากรมนุษยในดานจิตใจ

จริยธรรม

: ประมวลกฎเกณฑความประพฤติ ธรรมท่ีเปนขอประพฤติปฏิบัติ

ศีลธรรม

: ประมวลกฎเกณฑความประพฤติของศาสนาใดศาสนาหน่ึง

มโนธรรม

: สํานึกถูกผิด ดีชั่ว

คําศัพทใกลเคียงที่ควรรูคําศัพทใกลเคียงที่ควรรู