Acute Flaccid Paralysis (AFP) Surveillance Flaccid Paralysis (AFP) ผ ป วยท ม...

Preview:

Citation preview

Acute Flaccid Paralysis (AFP)

Surveillance

� Routine immunization อยางนอย 3 ครั้งในเด็กต่ํากวา 1

ป (รายตําบลไมต่ํากวารอยละ 90)

� สามารถคนหาและรายงานผูปวย AFP ไมนอยกวา

2:100,000 รายตอป ในเด็กต่ํากวา 15 ป รายจังหวัด

� สอบสวนโรคภายใน 48 ชั่วโมง และควบคุมโรคภายใน 72

ชั่วโมง หลังจากพบผูปวย (ในพื้นที่ที่ ความครอบคลุม

OPV3< 90%)

� sNID ปละสองรอบ

มาตรการหลักในการกวาดลางโปลิโอ

หลักสําคัญในการเฝาระวังผูปวย AFPเพื่อการกวาดลางโปลิโอ

� รายงานผูปวย AFP ทุกรายทันที โดยไมคํานึงถึงการวินิจฉัยของแพทย (2:100,000 รายตอ ปชก ต่ํากวา 15 ป)

� เก็บตัวอยางอุจจาระทุกรายอยางถูกตอง ( ≥ รอยละ 80 ของ

ผูปวย) เพื่อตรวจหาเชื้อ Polio virus

� อุจจาระ 2 ตัวอยาง หางกันอยางนอย 24 ชั่วโมง

� เก็บภายใน 14 วันหลงัเริ่มมีอัมพาต

� ติดตามอาการเมื่อครบ 60 วัน ตรวจหา residual paralysis

เพื่อแสดงความไวและความครอบคลุมของระบบเฝาระวังและ

ยืนยันวาประเทศไทยปลอดจากเชื้อไวรัสโปลโิอจริง

จํานวนผูปวย AFP และอัตราปวยตอประชากรอายุต่ํากวา 15 ป แสนคน ป 2535-2552

0

0.5

1

1.5

2

2.5

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

� �������

เกณฑมาตรฐานเกณฑมาตรฐาน,, WHO WHO

NonNon--polio AFP rate 2006 polio AFP rate 2006 -- 20102010

0

0.5

1

1.5

2

2.5

2006 2007 2008 2009 2010 (as10 Dec)

per

100

,000

pop a

ged

unde

r 15

yrs

.

303 (2.20)

226 (1.67)

261 (1.97)

208 (1.59)

248 (1.92)

NonNon--polio AFP rate by province 2009 polio AFP rate by province 2009 -- 20102010

AFP rate > 2/100,000 (26 provinces)AFP rate < 2/100,000 (27 provinces)No AFP reported (13 provinces)

2009

AFP rate > 2/100,000 (19 provinces)AFP rate < 2/100,000 (41 provinces)No AFP reported (17 provinces)

2010 as Jul

รอยละของผูปวย AFP ที่เก็บตัวอยางอุจจาระถูกตอง เพื่อตรวจยืนยันเชื้อไวรัสโปลิโอ 2006 - 2010

81.7 79.7

70.6373.976.55

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

2006 2007 2008 2009 2010 (asJuly)

%

การเก็บอุจจาระไดตามเกณฑเทียบกับการเก็บอุจจาระไดตามเกณฑเทียบกับวันที่ไดรับแจงผูปวยวันที่ไดรับแจงผูปวย AFP AFP พพ..ศศ.. 25532553

วันเริ่มปวย - วันรับแจงการเก็บอุจจาระ (%)

รวมภายใน 14 วัน นานกวา 14 วัน Missing

0 – 7 วัน 81 (85.3) 9 (9.5) 5 (5.3) 95

8 – 14 วัน 13 (59.1) 6 (27.3) 3 (13.6) 22

นานกวา 14 วนั - 16 (88.9) 2 (11.1) 18

Missing 5 (62.5) 1 (12.5) 2 (25.0) 8

ณ สิ้นเดือน กรกฎาคม 2553

สาเหตุที่ทําใหเก็บอจุจาระไมไดตามเกณฑ

� ผูปวยมารับการตรวจรักษาลาชา (เกินกวา 14 วัน)

� แพทยไมไดรายงานผูปวย AFP ตั้งแตแรกพบ (พบจากการทํา active search)

� รพ.แหงแรกที่พบผูปวยมกีารสงตอไป รพ.ทั่วไป/รพ.ศูนยฯ แตไมไดรายงานทําใหเกดิความลาชาในการเก็บอุจจาระ

� รพ.ปลายทางที่รับสงตอ (refer) ไมเกบ็อุจจาระ เนื่องจากสามารถใหการวินิจฉยัได

� ผูปวยอาการหนักไมสามารถถายและเก็บอุจจาระได

สาเหตุที่ทําใหเก็บอจุจาระไมไดตามเกณฑ

� เจาหนาที่เก็บอุจจาระปริมาณไมเพียงพอ ในการตรวจทางหองปฏิบัติการ

� ความยากลาํบากในการติดตาม และขอความรวมมือในการเก็บอุจจาระผูปวยในพื้นที่ เมือ่แพทยไดอนุญาตใหผูปวยออกจาก รพ. โดยยังเก็บอุจจาระไดไมครบตามเกณฑที่กําหนด

� ตัวอยางอุจจาระเสียหายกอนสงตรวจ หาตัวอยางไมพบ

การสอบสวนโรคและติดตามผูปวยการสอบสวนโรคและติดตามผูปวย AFP AFP ที่ไดรับรายงานที่ไดรับรายงาน พพ..ศศ.. 25532553

� การสอบสวนผูปวยไดภายใน 48 ชั่วโมง รอยละ 93

� การติดตามผูปวยเมื่อครบ 60 วัน (ขอมูล ณ สิ้น พ.ค.

53) รอยละ 93

การสอบสวนโรค (แบบฟอรม AFP3/40)

� ขอมูลทั่วไป

� ประวัติการรักษา

� ขอมูลการเจ็บปวย� วันเริ่มปวย

� วันเริ่มมีอาการอัมพาต

� ลักษณะของอัมพาต

� อาการอื่นๆ

การสอบสวนโรค (แบบฟอรม AFP3/40)

� ประวัติการสัมผัสโรค� การเดินทาง การสัมผัสผูปวยรายอื่น

� เพิง่ไดรับ OPV (VAPP)

� สัมผัสผูที่เพิง่ไดรับ OPV (VDPV)

� การเก็บตัวอยางอุจจาระ

� การคนหาผูปวย AFP รายอื่นในชุมชน

� ประวัติการไดรับวัคซีน

การสอบสวนความครอบคลุมของวัคซีนในพื้นที่

� ตรวจสอบความครอบคลุม OPV3

� อายุต่ํากวา 5 ป ในหมูบาน

� อายุครบ 1 ปตําบล

� ตรวจสอบความครอบคลุมของ NID ระดับตําบล

ความครอบคลุมของ OPV ตองมากกวา 90% ในทั้ง 3 กรณี

การควบคุมโรค (ORI)ผูปวย AFP

OPV3 > 90%ทั้งหมูบาน ตําบล NID

OPV3 < 90%กรณีใดกรณหีนึ่ง

ไมตองทํา ORI(Outbreak response immunization)

ผูปวยอายุ < 5 ป ผูปวยอายุ 5 - 15 ป

OPV 1 ครั้ง ในเด็กอายุ < 5 ปในหมูบาน / ตาํบล

OPV 1 ครั้ง

ในเด็กอายุ < อายุผูปวย

ในหมูบาน / ตาํบล

การติดตามอาการอมัพาตของผูปวย

� ติดตามเมื่อครบ 60 วันหลังเริ่มปวย

� ตรวจดู residual paralysis

� กรณีที่ตองติดตามเมื่อครบ 30 วันหลังเริ่มปวย

� VAPP

� เก็บตัวอยางอุจจาระไมไดตามเกณฑ

ความครอบคลุมของความครอบคลุมของ OPV3 OPV3 ในผูปวยในผูปวย AFP AFP อายุอายุ 1 1 ปขึ้นไปปขึ้นไป ( (N=139)N=139)

73.3%

12.3%

0.7%

13.7%

ครบ 3 ครั้ง

นอยกวา 3 ครั้ง

ไมเคยไดรับ

ไมทราบ

Acute Flaccid Paralysis (AFP)Acute Flaccid Paralysis (AFP)

ผูปวยที่มีอาการออนแรงของ แขน, ขา หรือทั้งขาและแขน

ขางใดขางหนึ่ง หรือ ทัง้สองขาง ซึ่งอาการเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว

ยกเวนผูปวยที่มีอาการบาดเจ็บรุนแรง (Trauma) ซึ่งนําไปสูอาการอัมพาตกลามเนื้อออนแรง

การเฝาระวังผูปวยอัมพาตกลามเนื้อออนเปยกอยางเฉียบพลัน

AFP active case search

� การคนหาผูปวยเชิงรุก ซึ่งอาจมีการตกคาง ไมได

รายงานเขาสูระบบเฝาระวัง

� เพื่อประเมิน/เรงรัด การคนหาผูปวยโดยเฉพาะใน

พื้นที่ที่ไมมีการรายงาน หรือต่ํากวาเกณฑที่กําหนด

� AFP เปนกลุมอาการ (Syndrome) ไมใชโรค

� ผูปวย AFP อาจถูกวินิจฉัยเปนโรคตางๆ ได เชน

Poliomyelitis, Transverse myelitis,

Hypokalemia, Weakness caused เปนตน

AFP active case search

แนวทางการทํา Active search

OPD card และ IPD chart ของเด็กต่ํากวา 15 ป ตามกลุมโรค (ICD 10) ทั้ง

26 โรค ตามชวงเวลาที่กําหนด

ดูรายละเอียด อาการ และ การตรวจรางกาย

Key words ที่ชวยในการพิจารณา; แขนขาออนแรง, แขนขาไมมีแรง, ขยับแขนขาไมได, เดินเซ, ลุกไมได hypotonia, muscle weakness, motor power < 5, hyporeflexia (DTR < 2+), flaccid

กลุมอาการ 26 โรค� AFP

� Acute anterior poliomyelitis

� Acute myelopathy

� Guillain-Barre syndrome

� Acute demyelinating neuropathy

� Acute axonal neuropathy

� Peripheral neuropathy

� Acute intermittent porphyria

� Critical illness neuropathy

� Myasthenia Gravis

� Insecticide intoxication

� Tick paralysis

� Idiopathic inflammatory myopathy

� Trichinosis

� Hypokalemic paralysis

� Traumatic neuritis

� Transverse myelitis

� Myalgia

� Weakness (Malaise, Fatigue)

� Hemiplegia

� Botulism

ผลการทําผลการทํา active searchactive searchจังหวัด จํานวนเวชระเบียน AFP ที่ยังไมได

รายงานตาม ICD 10 ทั่วไป ’52

มุกดาหาร 21 720 5

ศรีสะเกษ 19 720 3

สุโขทัย 14 720 4

ตาก 21 240 3

สมุทรสาคร 13 240 1

ราชบุรี 17 240 2

ระนอง 13 720 1

สุราษฏรธานี 172 720 7

นครสวรรค 34 1195 3

กําแพงเพชร 240 4

พิจิตร 65 75 3

แพร 24 836 1

พะเยา 25 720 3

ตรัง 55 1,578 4

พัทลุง 21 240 1

ระยอง 0

สระบุรี

ขอนแกน

รวม 514 9,204 45

� ผูปวยชาย 3 ป มา รพศ.

� Vaccine ไมไดตามกําหนด เนื่องจากอยูเกาะ

� CC: ไข ขาออนแรง ไมยืน

� Rt.leg hypotrophy, hypotonic, Knee jerk 1+

� Weakness Rt. leg

� Admit 1 วัน refer กลับ รพท.

ผูปวยที่ไมไดรายงาน 2551 - 2552

� ชาย 13 ป

� ขาขวาออนแรง ชา 7 hr PTA

� R/O transverse myelitis

� PE: Motor power gr I – II Rt.Thigh, DTR 1+

Loss sensation below T6

� Dx: spinal cord lesion สงตอ รพศ.

ผูปวยที่ไมไดรายงาน 2551 - 2552

� ผูปวยชาย 9 ป

� CC: ไข ปวดขา เดนิไมได กระดกขอเทาไมขึ้น 12 hr

� Motor upper V/V, lower IV/IV, DTR ไมไดบนัทึกไว

� CBC: wbc 3,800 cells/mm3 (N 50%, L 41%),

Hct 41%, plt 233,000/mm3

� Admit 5 – 7 ต.ค. 52

� Dx: Acute febrile illness with myositis

ผูปวยที่ไมไดรายงาน 2551 - 2552

ขอเสนอแนะจากการทํา active search

� AFP เปนการรายงานตามอาการ โดยไมขึ้นกับการวินิจฉัยของแพทยและผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ

� ผูปวยที่มาดวยอาการออนแรงเฉียบพลัน ควรมีบันทึกการตรวจรางกายทางระบบประสาทอยางครบถวน

� ผูปวย refer ตางโรงพยาบาล ควรประสานไปยัง สสจ. เพื่อติดตามผูปวย

� ผูปวยจําหนายออกจากโรงพยาบาลเร็ว ควรประสานไปยังพื้นที่เพื่อติดตามผูปวย

� ผูปวยตางชาติ ผูปวยไมมีประวัติวัคซีน ตองรายงานโดยดวน!!!

Case reportZero report

ขอเสนอแนะระบบเฝาระวัง

OPD

IPD

SRRTเวชปฏิบัติฯ

แพทยวินิจฉัย

ICD10 ใน stat program

ดึงเขารหัส 506

แพทยวินิจฉัยICD10 ใน stat program

ดึงเขารหสั 506

สสจ.

AFP ตองอยูใน list โรคที่ตองรายงานในโปรแกรม

เวชสถติิ และการสรุป ICD10 ตองทําอยางรวดเร็ว

AFP ตองอยูใน list โรคที่ตองรายงานในโปรแกรม

เวชสถติิและการสรุป ICD10 ตองทําอยางรวดเร็ว

แพทย พยาบาล สามารถรายงาน AFP ทางวาจาได เมื่อพบผูปวยตามนิยาม แม

ไมไดวินิจฉัยเปน AFP

สอบถามพยาบาลกอนเขียนเลข “0”

Thank you very muchThank you very muchทานสามารถรายงานผูปวยสงสัยโรคติดตอรายแรง / การระบาด ไดที่

� เจาหนาที่ระบาดวิทยา (SRRT) ฝายเวชกรรมสังคม /

เวชปฏิบัตชิุมชน ของโรงพยาบาลของทาน

� สํานักระบาดวิทยา โทร 02-590-1882 หรือ

outbreak@health.moph.go.th

Recommended