การจัดการตนเอง (Self-management)...

Preview:

Citation preview

แนวคิดการจัดการตนเอง (SELF-MANAGEMENT)

โครงการพัฒนาสมรรถนะอาจารยและบุคลากรสาธารณสุขดานการประยุกตแนวคิด

ทฤษฎีที่เก่ียวของกับการดูแลผูปวยเรื้อรังสูการบริการวิชาการแกสังคมและวิจัย

ชดชอย วัฒนะ Ph.D (Nursing)

9 มี.ค 2558

หองรมเหลืองจันทร

: หลักการและการประยุกตสูการวิจัย

การปฏิบัติการพยาบาลและบริการวิชาการ

การจัดการตนเอง มีพ้ืนฐานมาจากทฤษฎกีารเรียนรูทางสังคม

(SOCIAL LEARNING THEORY) ท่ีมีความเช่ือวา

บุคคลสามารถเรียนรูไดโดยการเสริมแรงอยางเปน

ระบบ

BROWDER & SHAPIRO (1985) การจัดการตนเองเปน

การประเมินความรู ทักษะและความสามารถของตนเอง

อยางตรงตามความเปนจริง

การต้ังเปาหมายที่มีความเปนไปได

การติดตามความกาวหนาในการปฏิบัติเพ่ือไปสูเปาหมาย

สรางแรงจูงใจเพ่ือไปถึงเปาหมายที่กําหนด

การควบคุมตนเองและตอบสนองตอผลสะทอนกลับ

โดยเปนกระบวนการเรียนรูหรือการเปล่ียนแปลง

พฤติกรรมเปนรายบุคคล”

BARLOW, HAINSWORTH, SHEASBY, & TURNER

(2002)

ความสามารถของบุคคลในการจัดการกับอาการแสดง

การรักษาผลกระทบทางกายและจิตใจ

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดําเนินชีวิตเมือ่มี

ภาวะเจ็บปวยเรื้อรัง

องคประกอบที่สาํคัญของการจัดการตนเอง

Creer (2000)

การตั้งเปาหมาย (goal selection)

การเก็บรวบรวมขอมูล (information collection)

การประมวลและประเมินขอมูล (information processing and evaluation)

Creer (2000)

1

2

3

การตัดสินใจ (decision making)

การลงมือปฏิบัต ิ(action)

การสะทอนการปฏิบัติ (self-reaction)

4

5

6

Creer (2000)

Creer & Holroyd (1997)

1. การตั้งเปาหมาย (goal selection) การต้ังเปาหมายเปนความรวมมือของผูปวยและ

บุคลากรทีมสุขภาพ มีการตอรองและการตัดสินใจ

รวมกันโดยรวมถึงการกําหนดเปาหมายในการปฏิบัติ

พฤติกรรมที่จําเปนเพ่ือไปสูความ

สําเร็จในการควบคุมโรคหรือ

ความเจ็บปวย

: ควรกระทําภายหลังบุคคลไดรับการเตรียมความพรอม

: ตองเกิดจากการที่บุคคลมีความรูเก่ียวกับโรคและการ

จัดการกับโรคอยางเพียงพอ

: ตองไดรับการใหความรูและฝกทักษะการจัดการตนเอง

ในการควบคุมโรคและความเจ็บปวย จึงจะสามารถกําหนด

เปาหมายในการจัดการตนเองเพ่ือใหมีภาวะสุขภาพและความ

ผาสุกในชีวิต

: เปาหมายควรมีความเปนไปไดจริงอาจกําหนดเปน

เปาหมายระยะส้ันและระยะยาว

2. การเก็บรวมรวมขอมูล (INFORMATION COLLECTION)

เปนการรวบรวมอาการ อาการแสดงเก่ียวกับการเจ็บปวย

และขอมูลอ่ืนๆ ที่เก่ียวของ

พ้ืนฐานสําคัญในการเก็บรวบรวมขอมูล

การเฝาระวังตนเอง (SELF-MONITORING)

หรือการสังเกตตนเอง (SELF-OBSERVATION)

การบันทึกขอมูลเก่ียวกับตนเอง (SELF-RECORDING)

การเฝาระวังตนเอง (SELF-MONITORING) หรือการ

สังเกตตนเอง (SELF-OBSERVATION) : เปนปจจัยสําคัญ

ตอการจัดลําดับความสําคัญของปญหา

การบันทึกขอมูลเก่ียวกับตนเอง (SELF-RECORDING)

เชน การสังเกตวาตนเองมีอาการอะไรท่ีผิดปกติไป

จากเดิม เกิดขึ้นเมื่อไร เกิดบอยแคไหน อาการรบกวน

มากนอยแคไหน อาการอะไรท่ีรบกวนมากท่ีสุด

3. การประมวลและประเมินขอมูล (INFORMATION

PROCESSING AND EVALUATION) ตองมีการเรียนรูเก่ียวกับการตรวจสอบอาการ

เปลี่ยนแปลงของตนเอง

การประเมินการเปลี่ยนแปลงในแตละวันท่ีไดเก็บ

รวบรวมขอมูลไว

สามารถท่ีจะประเมินผลและตัดสินใจเก่ียวกับขอมูลท่ีได

เรียนรูในการประเมินความเปลี่ยนแปลงท่ีเปนผลจากการ

เจ็บปวยและหาสาเหตุ

พิจารณาเก่ียวกับปจจัยในการจัดการกับความเจ็บปวย

4. การตัดสินใจ (DECISION MAKING)

ผูปวยตองสามารถตัดสินใจโดยอาศัยขอมูลทีร่วบรวม

ไดเปนพ้ืนฐานหลังจากรวบรวมขอมูล ประมวลผลและ

ประเมินขอมูลเกี่ยวกับอาการเจ็บปวยของตนเอง โดย

ผูปวยควรมีสทิธิในการตัดสินใจเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง

ทั้งที่ซับซอนและไมซับซอน

(Creer & Holroyd, 1997)

5. การลงมือปฏิบัติ (ACTION)

เปนการปฏิบัตทัิกษะการจัดการตนเองในการ

ควบคุมความเจ็บปวยหรือความผิดปกติท่ีเปนผล

จากความเจ็บปวย

6. การสะทอนตนเอง (SELF-REACTION)

เปนการประเมนิตนเองของบุคคลเก่ียวกับส่ิงที่ลงมือปฏิบัติ

วาเปนไปตามเปาหมายที่ตนเองกําหนดไวหรือไม

การประเมินความตองการการฝกทักษะและความเชี่ยวชาญ

เพ่ือใหบุคคลสามารถคาดการณการปฏิบัติจริงวาตองการฝก

ทักษะเพ่ิมเติมหรือไมและทราบขอจํากัดของตนเองในการ

ปฏิบัติ

เปนการชวยใหทักษะการจัดการตนเองคงอยู

มีความสําคัญในการใหบุคคลปฏิบติัพฤติกรรมอยางตอเนื่อง

การประยุกตแนวคิดการจัดการตนเองสูการวิจัย

การปฏิบัติการพยาบาลและบริการวิชาการ

พิจารณาวาจะใช Self-Management ของใคร

o knowledge/education : literacy, technical skills

and resources

o relationship/partnership : communication and collaboration

o self-monitoring/self-care : ability, confidence, resources, and

technical skills.

o behaviors : problem solving, decision making, goal setting ,

relationship management, collaboration, communication and

resource utilization

(Hughes, 1992)

องคประกอบของ SELF - MANAGEMENT

o an accurate assessment of one’s own knowledge,

skills and abilities;

o well defined and realistic person goals,

o monitoring progress toward goal attainment

o being motivated through goal achievement,

o exhibiting self-control

o responding to feed back

o It involves an individual in learning processes or behavior changes

Self management (Browder & Shapiro, 1985)

Self-Management involves processes including:

goal selection; information collection; information processing and evaluation; decision making; action; self-reaction

(Creer, 2000).

ในบริบทของการจัดการโรคเร้ือรัง

การจัดการตนเองประกอบดวย 4 ระยะ:

1. รับรูอาการและอาการแสดงที่เปล่ียนแปลงวามีความเก่ียวของกับการเจ็บปวย

2. ประเมินการเปล่ียนแปลง3. เลือกกลวิธีการแกไข การรักษา; 4. ประเมินผลสําเร็จของการรักษา

(Riegel, Carlson, & Glaser, 2000).

Eakin & Wilson (2005) ไดพัฒนากรอบแนวคิดเก่ียวกับกระบวนการสนับสนุนการจัดการตนเอง โดยกลาววาบุคลากรทีมสุขภาพตอง

o รวมวางแผนและต้ังเปาหมายในการจัดการตนเองo สนับสนุนขอมูลและพัฒนาทักษะที่จําเปนo สงเสริมการปรับเปล่ียนพฤติกรรมo วางแผนในการติดตามผลและการเฝาระวังตนเอง

Self-Management support : How to do?

o การประยุกตสูการวิจัย

คําถามการวิจัยคืออะไร?

ประชากร/กลุมตัวอยาง? แบบการวิจัย

o วิจัยเชิงสํารวจ

ศึกษาความเปนจริงของเหตุการณ เพ่ืออธิบายปรากฏการณวามีอะไรเกิดขึ้นในสภาพที่ตองการศึกษาหรืออธิบายความเปนเหตุเปนผล ของตัวแปรที่สนใจ เชน พฤติกรรมการจัดการตนเองในการควบคุมโรคของผูปวยความดันโลหิตสูง ภาวะซึมเศราในผูเปนโรคเบาหวานชนิดที่ 2

หรือการวิจัย เพ่ืออธิบายความสัมพันธของตัวแปรต้ังแต 2 ตัวขึ้นไป วามีความสัมพันธมากนอยเพียงใด โดยการตรวจสอบสมมติฐานการวิจัยที่เก่ียวของกับทฤษฎี เชน การศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการจัดการตนเองของผูปวยโรคมะเร็ง เปนตน

การวจิัยเชงิสหสัมพันธ เชน การศึกษาความสัมพันธ

ระหวางพฤติกรรมการจัดการตนเองในการควบคุมโรค

หอบหืดและการเกิดอาการกาํเริบของโรค

การวจิัยเชงิทาํนาย เชน ปจจยัทาํนายพฤติกรรมการจัดการ

ตนเองเพ่ือควบคุมโรคในผูปวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

Antecedent

conditions

การจัดการตนเอง

(Self-Management)

Consequences

มุงอธิบายความสัมพันธระหวางตัวแปรในเชิงเหตุและผลโดยวิธีการทางวิทยาศาสตรเพ่ือศึกษาความเปล่ียนแปลงของตัวแปรในการทดลองภายใตสถานการณ ท่ีไดรับการควบคุม

หรือศึกษาวาสถานการณท่ีจัดขึ้นนั้นเปนสาเหตุของผลท่ีเปล่ียนแปลง หรือตัวแปรตามท่ีตองการศึกษาหรือไม

การวิจัยเชิงทดลองหรือกึ่งทดลอง

เปรียบเทียบความแตกตางของตัวแปรตามที่เปลีย่นแปลงไประหวางปรากฏการณทีเ่กิดข้ึนในสภาพปกติ กับที่เกิดข้ึนในสภาพทีไ่ดรับการควบคุมตามเงื่อนไข (การทดลอง) เพ่ือใหไดขอสรุปที่เปนความจริง สามารถนําไปใชในการอธิบาย ทาํนาย และควบคุมได

เชน ผลของโปรแกรมการฝกการจัดการตนเองตอพฤติกรรมสุขภาพ

ของนักศึกษาพยาบาลศาสตร วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกลา

o ทําความเขาใจแนวคิดการจัดการตนเอง

o ออกแบบกิจกรรมโดยใชแนวคิดการจัดการตนเองเปนกรอบ

o ประเมินผลโดยเคร่ืองมือหรือตัวชี้วัดที่สะทอนการจัดการ

ตนเอง

หลักการ

o รวมวางแผนและตั้งเปาหมายในการจดัการตนเองo สนับสนุนขอมูลและพัฒนาทักษะที่จําเปนo สงเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมo วางแผนในการติดตามผลและการเฝาระวังตนเอง

Eakin & Wilson (2005)

o รับรูอาการและอาการแสดงที่เปลี่ยนแปลงวามีความเกีย่วของ กับการเจ็บปวย

o ประเมินการเปลี่ยนแปลงo เลือกกลวิธีการแกไข การรกัษา; o ประเมินผลสําเร็จของการรกัษา

Riegel, Carlson, & Glaser, (2000).

การสนับสนุนการจัดการตนเอง การจัดการตนเอง

o รับรูอาการและอาการแสดง ที่เปลี่ยนแปลงวามีความเกี่ยว ของกับการเจ็บปวย

o ประเมินการเปลี่ยนแปลงo เลือกกลวิธีการแกไข การรกัษา; o ประเมินผลสําเร็จของการรักษา

Riegel, Carlson, & Glaser, (2000).

oใหขอมูลเก่ียวกับ

โรค/ความเจ็บปวย

oหลักการดูแล

สุขภาพตนเอง

o ฝกวิธีการเฝาระวัง

ตนเอง

o การสังเกตอาการ

เปลี่ยนแปลงของตนเอง

o ฝกการใชเคร่ืองมือ

ประเมิน

oฝกทักษะการจัดการตนเอง

ท่ีมีความเฉพาะเจาะจงกับ

โรคหรือความเจ็บปวย

o intervention

o treatment

o ฝกวิธีประเมินตนเอง

เก่ียวกับสิ่งท่ีลงมือปฏิบัติ

วาเปนไปตามเปาหมายท่ี

กําหนดไวหรือไม

o ฝกวิธีประเมินผลการ

รักษา วิธีการประยุกตการจัดการตนเองใน

การปฏิบัติการพยาบาลหรือการวิจัย

การจัดการตนเอง

ตัวอยางการทํากิจกรรมท่ีออกแบบโดยใชกรอบแนวคิดการจัดการ

ตนเองเปนแนวทางพัฒนาโปรแกรม

ช้ีแจงโครงการ

ทําแบบประเมินขอมูลเปนพ้ืนฐาน

ตัวอยางกิจกรรมที่สนับสนุนการจัดการตนเองในผูเปนโรคเร้ือรัง

การใหความรูเปนกลุมยอย

(2 hr. / session)

การอภิปรายกลุมยอย

(1-11/2 hr. /session)

Exercise and foot care

Proper medication

taking & symptoms

monitoring

Stress reduction

Meal planning

การตั้งเปาหมาย

การลงมือปฏิบัติและเฝาระวังตนเอง

การตัดสินใจและปรับเปลี่ยน

พฤติกรรมไปสูเปาหมาย

แบบประเมินพฤติกรรมการจัดการตนเองเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง

1. The factors that contribute to my positive and negative behaviors are often beyond my personal control.

strongly agree agree uncertain disagree strongly disagree

2. I cannot learn from an instructor whose personality I do not like.

strongly agree agree uncertain disagree strongly disagree

SELF-MANAGEMENT QUESTIONNAIRE

(The ABC approachPatridge Hill Publisher, 2000)

ตัวอยางเครื่องมือท่ีใชสาํหรับการวิจัยหรือทํา

กิจกรรมสงเสริมการจัดการตนเอง

o แบบวัดความรูเกี่ยวกับโรคเหรือความเจ็บปวย

o แบบวัดการรับรูสมรรถนะในการจัดการตนเองเกี่ยวกับ

โรคหรือความเจ็บปวย

o เคร่ืองมืออ่ืนๆ เชน แบบวัดคุณภาพชีวิต แผนพับ คูมือ ฯลฯ

o เคร่ืองช่ังน้ําหนัก

o เคร่ืองตรวจระดับน้ําตาลในเลือด ฮีโมโกลบินเอ วัน ซี ของ

หองตรวจเชิงปฏิบัติการซึ่งมีการตรวจคุณภาพ (Internal Quality

Control)

o คูมือการจัดกิจกรรมตามโปรแกรมการสงเสริมการจัดการตนเอง

o คูมือผูปวย “อยูอยางเปนสุขกับโรคเบาหวาน.”

คูมือการจัดการตนเอง

เพ่ือควบคุมโรคเบาหวาน

ศูนยความเปนเลิศดานการดูแลผูเปนโรคเร้ือรัง

วิทยาลัยพยาบาลประปกเกลา จันทบุรี

ประเมนิผลสําเร็จoBehavioral outcomesoPhysiological outcomesoPsychological outcomes

Indicators

4

Recommended