36
ความรู้ด้านแผนที่เบื้องต้น โดย ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ และ ชฎาพร แหลมทอง

Introduction to reading map

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: Introduction to reading map

ความรู้ด้านแผนที่เบื้องต้นโดย

ดร.สฤษดิ์ ติยะวงศ์สุวรรณ

และ

ชฎาพร แหลมทอง

Page 2: Introduction to reading map

วัตถุประสงค์

1) มีความเข้าใจความหมายและสัญลักษณ์ของแผนที่2) มีความเข้าใจเรื่องมาตราส่วนและสัดสว่น

Page 3: Introduction to reading map

แผนที่คือ อะไร ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 4: Introduction to reading map

ท าไมต้องมีแผนที่ ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 5: Introduction to reading map

ในชีวิตจริง เราคุ้นเคยกับแผนที่มากกว่าที่คิด: ในยุค Smart Phoneหาสถานที่จาก Internet > Google Map

Page 6: Introduction to reading map
Page 7: Introduction to reading map

Facebook : Check InLine : Share Location

สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับแผนที่ทั้งหมด >>> ระบุต าแหน่งสถานที่

สื่อสารเพื่อเข้าใจตรงกัน

เพื่อการวางแผนและจัดการเรื่องต่าง ๆ

Page 8: Introduction to reading map

แผนที่ หมายถึงสัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่แสดงบนอุปกรณ์สื่อสาร

อาทิ กระดาษ ระบบออนไลน์ เพื่อแสดงต าแหน่งสิ่งต่าง ๆ

ของพื้นโลกมีการระบุพิกัดและย่อสัดส่วน

สามารถวัดระยะทางได้แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์].

แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

Page 9: Introduction to reading map

แผนที่มีความส าคัญและประโยชน์อย่างไร ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 10: Introduction to reading map

การเดินทางและการท่องเที่ยว

Page 11: Introduction to reading map

แผนที่มีความส าคัญและประโยชน์

ด้านอื่น ๆ อีกอย่างไร ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 12: Introduction to reading map

แผนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผังเมือง

อย่างไร ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 13: Introduction to reading map

ด้านการวางแผนพัฒนา ค านวณงบประมาณ ฯลฯ

Page 14: Introduction to reading map

การวิเคราะห์สถานะเพื่อการวางแผน

Page 15: Introduction to reading map

การวิเคราะห์สถานะเพื่อการวางผัง

โครงการพัฒนาผังการใช้ประโยชน์ที่ดินรอบสถานีระบบรางขนส่งมวลชนเมืองขอนแก่น

Page 16: Introduction to reading map

การจ าแนกชนิดของแผนที่

- แผนที่แบบแบนราบ- แผนที่ภูมิประเทศ- แผนที่ภาพถ่าย

Page 17: Introduction to reading map

- แผนที่แบบแบนราบแสดงพื้นผิวแนวราบ

ไม่สามารถบอกระดับความสูง-ต่ า ของสภาพภูมิประเทศได้

แสดงเพียงต าแหน่ง

Page 18: Introduction to reading map

- แผนที่ภูมิประเทศ

แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

แสดงความสูง-ต่ าของภูมิประเทศ แสดงต าแหน่งสถานีบางกรณี ส่วนใหญ่เป็นแผนที่ทางทหาร

Page 19: Introduction to reading map

- แผนที่ภาพถ่ายแผนที่สร้างจากภาพถ่ายทางอากาศ

มีสัญลักษณ์เพิ่มเติมตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ

Page 20: Introduction to reading map

สัญลักษณ์ของแผนที่

จุด (Point)เส้น (Line)

พื้นที่ปิดล้อม (Polygon)

Page 21: Introduction to reading map

สัญลักษณ์ของแผนที่จุด (Point)

มักแสดงต าแหน่งที่ตั้งพื้นที่เป้าหมาย อาทิ สถานที่ราชการ โรงพยาบาล ฯลฯ

Page 22: Introduction to reading map

สัญลักษณ์ของแผนที่เส้น (Line)

มักแสดงต าแหน่งที่ตั้งสิ่งที่มีแนวยาว อาทิ ถนน แม่น้ า ทางรถไฟ ฯลฯ

Page 23: Introduction to reading map

สัญลักษณ์ของแผนที่พื้นที่ปิดล้อม (Polygon)

มักแสดงต าแหน่งที่ตั้งขอบเขตพื้นที่ อาทิ ขอบเขตการปกครอง แปลงที่ดิน บึง ฯลฯ

Page 24: Introduction to reading map

มาตราส่วนของแผนที่คืออะไร ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน

Page 25: Introduction to reading map

มาตราส่วนของแผนที่อัตราส่วนเปรียบเทียบระหว่างระยะทางในแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง

Page 26: Introduction to reading map

มาตราส่วนของแผนที่ตัวอย่างระยะทางบนแผนที่ 1 ซ.ม.จะมีค่าเท่ากับระยะทางจริงพื้นโลก 1 ก.ม. (100,000 ซ.ม.)

ดังนั้นมาตราส่วนของแผนที่ คือ1 : 100,000

Page 27: Introduction to reading map

แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

Page 28: Introduction to reading map

แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

Page 29: Introduction to reading map

แบบฝึกปฏิบัติระยะทางในแผนที่ 2.5 ซ.ม. >>> ระยะทางจริงพื้นโลก 500 เมตร

แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

แผนที่นี้มาตราส่วนเท่าใด ?

สุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน ? แล้วเฉลย !!!

ให้นักศึกษาค านวณ ในช่วงเวลา 5 นาที

Page 30: Introduction to reading map

แบบฝึกปฏิบัติระยะทางในแผนที่ 2.5 ซ.ม. >>> ระยะทางจริงพื้นโลก 500 เมตร

แหล่งภาพ: รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนท่ีภูมิประเทศ [ออนไลน์]. แหล่งท่ีมา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].

2.5 ซ.ม. / 500 ม.

2.5 ซ.ม. / 50,000 ซ.ม.

1 ซ.ม. / 20,000 ซ.ม.

1 / 20,000

Page 31: Introduction to reading map

แบบฝึกปฏิบัติในมาตราส่วน 1 : 50,000 ระยะทางบนแผนที่วัดได้ 1 ซ.ม. จะมีค่าจริงพื้นโลกเท่าใด

ให้นักศึกษาค านวณ ในช่วงเวลา 5 นาทีสุ่มถาม-ตอบ 2-3 คน ? แล้วเฉลย !!!

Page 32: Introduction to reading map

แบบฝึกปฏิบัติในมาตราส่วน 1 : 50,000 ระยะทางบนแผนที่วัดได้ 1 ซ.ม. จะมีค่าจริงพื้นโลกเท่าใด

1 ซ.ม. / 50,000 ซ.ม.

1 ซ.ม. / 0.5 ก.ม.

1 ซ.ม. / 500 ม.

Page 33: Introduction to reading map

สัดส่วนย่อ-ขยาย แผนที่

Page 34: Introduction to reading map

แผนที่ต้นฉบับ

Page 35: Introduction to reading map

ภาพใดเป็นภาพย่อที่ถูกต้องส่วนภาพที่ไม่ถูกต้องไม่ถูกอย่างไร จงอธิบาย ?

1

2

3

Page 36: Introduction to reading map

เอกสารอ้างอิง

รัศมี สุวรรณวีระก าธร. 2557. เอกสารประกอบปฏิบัติการ: ระบบพิกัดและการอ่านแผนที่ภูมิประเทศ [ออนไลน]์. แหล่งที่มา: http://negistda.kku.ac.th/activity/2014/tn20140428/Lab01.pdf [5 สิงหาคม 2559].