10
161 รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศ ศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ 1 , ดร.วีระ สุภะ 2 1 ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ ([email protected]) 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ ([email protected]) ABSTRACT This objective the study was to develop the collaborative learning through social media model for supporting communications project- based learning for postgraduate students. The research comprised of 3 steps: 1) analyzing and synthesizing relevant literature and in-depth interview 7 expert's opinion, 2) develop the collaborative learning through social media model for supporting communications project- based learning for postgraduate students, and 3) study the phenomena of using a collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning. The samples were 22 postgraduate students, Ramkhamhaeng University. They were chosen by multistage random sampling. The instruments consisted of in-depth interview form for expert opinion, learning management system for project-based learning in communication, and problem solving skill evaluation form. Data were statistically analyzed by arithmetic mean, standard deviation, and t-test dependent. The research findings were as follows: 1. The collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning for postgraduate students consisted of nine components as followed: 1) instructional objectives, 2) student’s role,3) instructor’s role, 4) communications project- based learning activities, 5) scaffolding, 6) instructional control, 7) communication and interaction,8) instructional media and resources, and 9) measurement and evaluation. 2. Collaborative learning activities through social media model for supporting communications project-based learning consisted of three steps as followed: 1) introduction step; orientation, and project group formation, 2) instruction step; study of the contents, collaborative learning activities through social media, communications project- based learning activities, and summarize the project, 3) synopsis step; project presentation and summative evaluation. 3. communications project-based learning activities consisted of six steps as followed: 1) thinking and choosing the topic of the project, 2) search the involve documents, 3) write the structure of projects: project preview, 4) doing the project, 5) writing the report of project, and 6) presentation the project’s product, showing, and evaluation. 4. The postgraduate students’ post-test score for the problem solving skills were significantly higher than the pre-test score in the problem solving skills at .05 significant level. Keywords: instructional model, collaborative learning, social media, project-based learning, communications project-based learning, postgraduate students. บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรู รวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การวิจัยแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะหและ สังเคราะหกรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนรู รวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย โครงงานนิเทศศาสตรและสัมภาษณเชิงลึก ผูเชี่ยวชาญ 7 ทาน 2) การพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคม ออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ 3) การศึกษาผล

Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

Embed Size (px)

DESCRIPTION

ปณิตา วรรณพิรุณ และวีระ สุภะ. (๒๕๕๕). รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานนิเทศศาสตร์สาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิง บูรณาการการเรียนรู้ออนไลน์ประชาคมอาเชียน: นโยบายและกระบวนการ ประจำปี ๒๕๕๕ (National e-Learning Conference 2012 Integrating ASEAN Online learning: Policy and Process) ๑๔-๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕. นนทบุรี. หน้า ๑๖๑-๑๖๙.

Citation preview

Page 1: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

161

รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑติศึกษา

Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ1, ดร.วีระ สุภะ2 1 ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

([email protected]) 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยนอรทกรุงเทพ

([email protected])

ABSTRACT This objective the study was to develop the collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning for postgraduate students. The research comprised of 3 steps: 1) analyzing and synthesizing relevant literature and in-depth interview 7 expert's opinion, 2) develop the collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning for postgraduate students, and 3) study the phenomena of using a collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning. The samples were 22 postgraduate students, Ramkhamhaeng University. They were chosen by multistage random sampling. The instruments consisted of in-depth interview form for expert opinion, learning management system for project-based learning in communication, and problem solving skill evaluation form. Data were statistically analyzed by arithmetic mean, standard deviation, and t-test dependent. The research findings were as follows: 1. The collaborative learning through social media model for supporting communications project-based learning for postgraduate students consisted of nine components as followed: 1) instructional objectives, 2) student’s role,3) instructor’s role, 4) communications project-based learning activities, 5) scaffolding, 6) instructional control, 7) communication and interaction,8) instructional media and resources, and 9) measurement and evaluation. 2. Collaborative learning activities through social media model for supporting communications project-based learning consisted of three steps as followed: 1) introduction step; orientation, and project group formation, 2) instruction step; study of the contents, collaborative learning activities

through social media, communications project-based learning activities, and summarize the project, 3) synopsis step; project presentation and summative evaluation. 3. communications project-based learning activities consisted of six steps as followed: 1) thinking and choosing the topic of the project, 2) search the involve documents, 3) write the structure of projects: project preview, 4) doing the project, 5) writing the report of project, and 6) presentation the project’s product, showing, and evaluation. 4. The postgraduate students’ post-test score for the problem solving skills were significantly higher than the pre-test score in the problem solving skills at .05 significant level. Keywords: instructional model, collaborative learning, social media, project-based learning, communications project-based learning, postgraduate students.

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา การวิจัยแบงออกเปน 3 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะหและสังเคราะหกรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรและสัมภาษณเชิงลึก ผูเช่ียวชาญ 7 ทาน 2) การพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และ 3) การศึกษาผล

Page 2: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

162

การใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง จํานวน 22 คน จากการสุมแบบหลายขั้นตอน ใชเวลาในการทดลอง 12 สัปดาห เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณเชิงลึกของผูเช่ียวชาญเก่ียวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ระบบบริหารจัดการการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร และแบบวัดทักษะการแกปญหา วิเคราะหขอมูลโดยใชคาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t-test

dependent

ผลการวิจัยพบวา 1. รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนั กศึ กษ าระ ดับบัณ ฑิตศึ กษ า ประกอบด ว ย 9 องคประกอบ คือ 1) วัตถุประสงคการเรียน 2) บทบาทผูเรียน 3) บทบาทผูสอน 4) กิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานนิเทศศาสตร5) การเสริมสรางศักยภาพ 6) การควบคุมการเรียนการสอน 7) การติดตอส่ือสารและปฏิสัมพันธ 8) ส่ือการสอนและแหลงเรียนรู และ 9) การวัดและประเมินผล

2. ขั้นตอนการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นนําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยการ

ปฐมนิเทศ และการจัดกลุมโครงงาน 2) ขั้นการเรียนการสอน ประกอบดวย การนําเสนอเนื้อหา การเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน การทําโครงงานนิเทศศาสตร และการสรุปโครงงาน 3) ขั้นสรุป ประกอบดวยการนําเสนอโครงงานและประเมินผลการเรียน

3. ขั้นตอนการทําโครงงานนิเทศศาสตร ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ 1) การคิดและเลือกหัวขอโครงงาน 2) ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของ 3) การเขียนเคาโครงของโครงงาน 4) การปฏิบัติโครงงาน 5) การเขียนรายงาน และ 6) การนําเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการประเมินผล

4. นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรที่พัฒนาขึ้นมีคะแนนทักษะการแกปญหาสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คําสําคัญ: รูปแบบการเรียนการสอน, การเรียนรูรวมกัน, ส่ือสังคมออนไลน, การเรียนดวยโครงงาน, โครงงานนิเทศศาสตร, นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

1) บทนํา เทคโนโลยีทางดานสารสนเทศและการส่ือสาร (Information

and Communications Technology) ส่ือสังคมออนไลน (social media) ผานเครือขายสังคมออนไลน (social network) มีอิทธิพลตอการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต กระบวนการทํางานและการเรียนของมนุษยในปจจุบัน กอใหเกิดสังคมยุคสารสนเทศท่ีใช เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทํางาน การใชชีวิต ประจําวันและการเรียนรู โดยใชเทคโนโลยีเว็บ 2.0 และระบบเครือขาย อินเทอร เน็ตเปนส่ือกลางในการติดต อระหวางผู เรียนและผูสอน ผู เรียนสามารถเรียนไดโดยไมมีขอจํากัดในเร่ืองเวลาและสถานท่ี

เปนการสรางโอกาสและความเสมอภาคในการเรียนรูใหแกผูเรียน ผูเรียนสามารถแลกเปล่ียนเรียนรูไดอยางรวดเร็วกอใหเกิดสังคมแหงการเรียนรูในการ ผูเรียนเปล่ียนบทบาทจากผูเรียนท่ีรับการถายทอดความรูจากผูสอน (passive learner)

เป นผู เรียนที่มีความกระตือรือรนในการเรียนรู (active

learner) โดยผูเรียนเปนผูคิดตัดสินใจเลือกเนื้อหาในการเรียน การจัด ลําดับการเรียนรู การควบคุมเสนทางในการเรียนและการนําเสนอผลงาน ปฏิสัมพันธ ระหวางผูเรียนกับผูสอน ผู เ รี ยนกับผู เ รี ยน ผู เ รี ยนกับ เนื้ อหา และผู เ รี ยนกับส่ิงแวดลอมในการเรียนรู ซ่ึงเปนการสรางบรรยากาศในการแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกันระหวางผูเรียน (Bonk and Graham,

2004) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในยุคปจจุบัน จึงจําเปนตองมีการปรับเปล่ียนกระบวนทัศนใหทันสมัยและสอดคลองกับสภาพการเรียนรูของผูเรียน โดยการประยุกตใชส่ือสังคมออนไลน เชน facebook, twitter, youtube, multiply ในการเพิ่มชองทางในการส่ือสารและสรางปฏิสัมพันธในการเรียน ระหวางผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับผูสอน ผูเรียนกับกลุม

Page 3: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

163

ผูเช่ียวชาญ และผูเรียนกับแหลงขอมูล เพื่อใชประโยชนจากเทคโนโลยีเ ว็บ 2.0 ในแลกเปล่ียนเรียนรู และสรางเปนชุมชนแหงการเรียนผานส่ือสังคมออนไลน การเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร (Communications

project-based learning) เปนรูปแบบวิธีสอนท่ีสงเสริมสภาวะการเรียนรูภายในช้ันเรียน โดยการนําใหผูเรียนเขาสูกระบวนการแกปญหาที่ทาทายและสรางช้ินงานไดสําเร็จดวยตนเอง การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานที่ดีจะกระตุนใหผูเรียนเกิดการคนควาอยางกระตือรือรนและใชทักษะการคิดขั้นสูงในการคิดแกปญหา (Thomas, 1998) ศักยภาพในการรับรูส่ิงของผูเรียนจะถูกยกระดับขึ้นเมื่อไดมีสวนรวมในกิจกรรมการแกปญหาที่มีความหมายและเม่ือผู เรียนไดรับความชวยเหลือใหเขาใจวาความรูกับทักษะเหลาน้ันสัมพันธกันดวยเหตุใด เมื่อไหรและอยางไร (Bransford, Brown,

& Conking,2000) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนใหผูเรียนเรียนรูรวมกันและมีปฏิสัมพันธผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร จะทําใหเกิดการเรียนแบบรวมมือเกิดขึ้นบนระบบเครือขาย อันสงผลใหเกิดปฏิสัมพันธทางความคิด ระหวางผูสอน ผูเรียนและกลุมเพ่ือน เปนการลดขอจํากัดในดานการเรียน โดยกิจกรรมเหลาน้ีสามารถชวยในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน นิสัยในการเรียนดานความรวมมือซ่ึงกันและกัน ทักษะและความสามารถในการแกปญหา ของผูเรียนไดเปนอยางดี (Bersin, 2004) จากท่ีกลาวมาขางตนจึงจําเปนตองมีการรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับเพ่ือเปนแนวทางในการประยุกตใชส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตอไป

2) วัตถุประสงคการวิจัย

2.1) เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.2) เพื่อศึกษาผลของการใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่ อสนับสนุนการเรียนดวย

โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2.3) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะการแกปญหาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3) สมมติฐานการวิจัย

นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีคะแนนทักษะการแกปญหาหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 4) ขอบเขตการวิจัย

4.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2554 จํานวน 22 คน จากการสุมแบบหลายข้ันตอน

4.2) ตัวแปรในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ คือ รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ตัวแปรตาม คือ คะแนนทักษะการแกปญหา และคะแนนความพึงพอใจ

4.3) ระยะเวลาท่ีใชในการทดลอง 12 สัปดาห

การเรียนรูรวมกันผานส่ืออิเล็กทรอนิกส

การประยุกตสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน

การเรียน

ดวยโครงงาน

นิเทศศาสตร

รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

การออกแบบระบบการเรียนการสอน

Page 4: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

164

รูปที่ 1: กรอบแนวคดิการพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพือ่สนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 5) วิธีดําเนินการวิจัย

ระยะที่ 1 การวิเคราะหและสังเคราะหกรอบแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร การวิเคราะหและสังเคราะห 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การเรียนรูรวมกันผานส่ือ อิเล็กทรอกนิกส การประยุกตใชส่ือสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน และการจัดทําโครงงานนิเทศศาสตร 2) สัมภาษณเชิงลึกผู เ ช่ียวชาญ 7 ทาน เกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พัฒนารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตามขั้นตอนการออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System Design: ISD) 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวิเคราะห (Analysis)

วิเคราะหเนื้อหา สรางแผนภาพมโนทัศนเปนการเริ่มตน

ขอบเขตเนื้อหา วิเคราะหคุณลักษณะและรูปแบบการเรียนรู ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และวิเคราะหบริบทที่ เกี่ยวของกับการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร และออกแบบโมดูลของเน้ือหาสําหรับระบบบริหารจัดการเรียนการสอน (LMS)

2) ขั้นการออกแบบ (Design) 2.1) ออกแบบองคประกอบของรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียน

ดวยโครงงานนิเทศศาสตร ประกอบดวย 9 องคประกอบ คือ 1) วัตถุประสงคการเรียน 2) บทบาทผูเรียน 3) บทบาทผูสอน 4) กิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานนิเทศศาสตร5) การเสริมสรางศักยภาพ 6) การควบคุมการเรียนการสอน 7) การติดตอส่ือสารและปฏิสัมพันธ 8) ส่ือการสอนและแหลงเรียนรู และ 9) การวัดและประเมินผล

2.2) ออกแบบยุทธศาสตรการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นนํา เขาสูบทเ รียน ประกอบดวยการปฐมนิเทศ และการจัดกลุมโครงงาน 2) ขั้นการเรียนการสอน ประกอบดวย การนําเสนอเน้ือหา การเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน การทําโครงงานนิเทศศาสตร และการสรุปโครงงาน 3) ขั้นสรุป ประกอบดวยการนําเสนอโครงงานและประเมินผลการเรียน

2.3) ออกแบบยุทธศาสตรการทําโครงงานนิเทศศาสตร ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ 1) การคิดและเลือกหัวขอโครงงาน (ดานวิทยุกระจายเสียงหรือวิทยุโทรทัศน/วีดิทัศน ดานประชาสัมพันธ ดานโฆษณา และดานวารสารศาสตร) 2) ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของ 3) การเขียนเคาโครงของโครงงาน 4) การปฏิบัติโครงงาน 5) การเขียนรายงาน และ 6) การนําเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการประเมินผล

3) ขั้นการพัฒนา (Development)

3.1) พัฒนาเคร่ืองมือตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ไดแก ระบบบริหารจัดการเรียนรูตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรโดยใช MOODLE รวมกับ FaceBook, Multiply และ YouTube คูมือการใชงานสําหรับผูดูแลระบบ และคูมือการเรียน

3.2) พัฒนาแบบวัดทักษะการแกปญหาสําหรับการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา 4) ขั้นการนําไปทดลองใช (Implementation)

4.1) การทดสอบแบบหน่ึงตอหนึ่ง (One-to-one testing) โดยใหนักศึกษาท่ีไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 3 คน เรียนโดยใชรูปแบบท่ีพัฒนาขึ้น สังเกตและการสัมภาษณ ปญหาและขอเสนอแนะการใชงาน จากน้ันนําขอมูลมาปรับปรุง แกไขขอบกพรองของรูปแบบ

Page 5: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

165

4.2) การทดสอบกับกลุมเล็ก (Small group testing) โดยใหนักศึกษาท่ีไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 5 คน เรียนเปนกลุม โดยใชรูปแบบที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบหน่ึงตอหนึ่ง สังเกตและสัมภาษณ ปญหาและขอเสนอแนะการใชงาน จากน้ันนําขอมูลมาปรับปรุงแกไขขอ บกพรองของรูปแบบ

4.3) การทดลองนํารอง (Field trial) โดยใหนักศึกษาท่ีไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 15 คน แบงเปน 3 กลุม เรียน

โดยใชรูปแบบที่ปรับปรุงจากการทดสอบแบบกลุมเล็ก

5) ขั้นการประเมินผล (Evaluation)

5.1) ประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ดานการออกแบบระบบการเรียนการสอน ดานการเรียนรูรวมกันผานส่ืออิเล็กทรอนิกส และดานการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร โดยผูเช่ียวชาญ 5 ทาน

5.2) ประเมินคุณภาพของระบบบริหารจัดการเรียนรูตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร ดานเนื้อหาและดานเทคนิค โดยนําระบบบริหารจัดการเรียนรูและคูมือ ที่พัฒนาขึ้นเสนอใหผูเช่ียวชาญดานเน้ือหา 5 ทาน ประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของเน้ือหาโครงงานนิเทศศาสตร และผูเช่ียวชาญดานเทคนิค 5 ทาน ประเมินคุณภาพและความเหมาะสมของระบบบริหารจัดการเรียนรูดานเทคนิค ปรับปรุงระบบบริหารจัดการเรียนรูและคูมือ ตามขอเสนอแนะ

ระยะที่ 3 การศึกษาผลการใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโคร ง ง าน นิ เ ท ศศ าสตร สํ าห รับ นักศึ กษ า ร ะ ดั บบัณฑิตศึกษา ศึกษาผลของการใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตามแบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest-Posttest

Design (William and Stephen, 2009)

O1 X O2

มีขั้นตอนการดําเนินการดังน้ี 1) ขัน้เตรียมการกอนการทดลอง 1.1) ปฐมนิเทศนักศึกษาเก่ียวกับกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน เพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร วิธีการวัดและเกณฑประเมินผล และฝกปฏิบัติการใชเครื่องมือตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน 1.2) วัดและประเมินผลทักษะการแกปญหากอนเรียนและแจงผลการประเมินใหแกนักศึกษา 2) ขัน้ดําเนินการทดลอง 2.1) นักศึกษาเรียนดําเนินกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร เปนระยะเวลา 12 สัปดาห 2.2) วัดและประเมินผลทักษะการแกปญหาหลังเรียนและแจงผลการประเมินใหแกนักศึกษา 2.3) สอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาตอการเรียนตามรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน เพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉล่ียเลขคณิต สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานดวยการทดสอบแบบที t-

test dependent

6) สรุปผลการวิจัย

ตอนที่ 1 รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ตอนท่ี 1.1 รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย 3 สวน คือ

1) องคประกอบของรูปแบบ รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน เพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบดวย 9 องคประกอบ คือ

Page 6: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

166

1.1) วัตถุประสงคการเรียน คือ เพื่อพัฒนาทักษะการแกปญหาทางนิเทศศาสตร และพัฒนาการทํางานรวมกันเปนทีมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 1.2) บทบาทผูเรียน 1.3) บทบาทผูสอน 1.4) กิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานนิเทศศาสตร 1.5) ฐานการเสริมสรางศักยภาพการเรียนรูของผูเรียนบนระบบบริหารจัดการเรียนรู 1.6) การควบคุมการเรียนการสอนดวยกระบวนการกํากับตัวเอง 1.7) การติดตอส่ือสารและปฏิสัมพันธผานส่ือสังคมออนไลน 1.8) ส่ือการสอนและแหลงเรียนรูบนส่ือสังคมออนไลน 1.9) การวัดและประเมินผลการเรียนรูตามสภาพจริง

2) กิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน กิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อส นับสนุนการ เ รี ยนด วยโคร งง าน นิ เ ทศศาสตร ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 2.1) ขั้นนําเขาสูบทเรียน ประกอบดวยการ

ปฐมนิเทศ และการจัดกลุมโครงงาน 2.2) ขั้นการเรียนการสอน ประกอบดวย การนําเสนอเนื้อหา การเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน การทําโครงงานนิเทศศาสตร และการสรุปโครงงาน 2.3) ขั้นสรุป ประกอบดวยการนําเสนอโครงงานและประเมินผลการเรียน

3) กิจกรรมการทําโครงงานนิเทศศาสตร กิจกรรมการทําโครงงานนิเทศศาสตร ประกอบดวย 6 ขั้นตอน คือ 3.1) การคิดและเลือกหัวขอโครงงาน 3.2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 3.3) การเขียนเคาโครงของโครงงาน 3.4) การปฏิบัติโครงงาน 3.5) การเขียนรายงาน 3.6) การนําเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และการประเมินผล

ตอนที่ 1.2 ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ผลการประเมินคุณภาพของรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

รายการประเมิน X S.D. ความเหมาะสม1. องคประกอบของรูปแบบ 4.75 0.50 มากท่ีสุด 2. กิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน

4.25 0.50 มาก

3. กิจกรรมการทําโครงงาน นิเทศศาสตร

4.75 0.50 มากท่ีสุด

4. ความเหมาะสมของรูปแบบในการพัฒนาทักษะการแกปญหาและการทํางานรวมกันเปนทีม

4.50 0.58 มากท่ีสุด

5. ความเหมาะสมในการ นํารูปแบบไปใชจริง

4.75 0.50 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 1 พบวา รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร มีคุณภาพดานองคประกอบของรูปแบบ กิจกรรมการทําโครงงานนิเทศศาสตร และมีความเหมาะสมในการนํารูปแบบไปใชจริง มากท่ีสุด ( X = 4.75, S.D. = 0.50) รองลงมาไดแก ความเหมาะสมของรูปแบบในการพัฒนาทักษะการแกปญหาและการทํางานรวมกันเปนทีม ( X =

4.50, S.D. = 0.58) และ กิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน ( X = 4.25, S.D. = 0.50) ตามลําดับ

ตอนท่ี 2 ผลของการใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตอนท่ี 2.1 ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการแกปญหาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

Page 7: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

167

ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการแกปญหาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

คะแนนทักษะ การแกปญหา

คะแนนเต็ม

X S.D. t-Test Sig.

กอนเรียน 40 15.12 4.12 10.04 * .00

หลังเรียน 40 30.45 2.17

*p < .05

จากตารางท่ี 2 พบวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีคะแนนทักษะการแกปญหาหลังเรียน ( X = )

สูงกวากอนเรียน ( X = ) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ตอนท่ี 2.2 ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร

รายการประเมิน X S.D. ความพึงพอใจ 1) กิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลน

1.1) ขั้นนําเขาสูบทเรียน 4.59 0.50 มากท่ีสุด

1.2) ขั้นการเรียนการสอน 4.55 0.51 มากท่ีสุด

1.3) ขั้นสรุป 4.45 0.51 มาก

รวม 4.53 0.50 มากที่สุด

2) กิจกรรมการทําโครงงาน นิเทศศาสตร

รายการประเมิน X S.D. ความพึงพอใจ2.1) การคิดและเลือกหัวขอโครงงาน

4.45 0.51 มาก

2.2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 4.73 0.46

2.3) การเขียนเคาโครงของโครงงาน

4.50 0.51 มากท่ีสุด

2.4) การปฏิบัติโครงงาน 4.64 0.49 มากท่ีสุด

2.5) การเขียนรายงาน 4.73 0.46 มากท่ีสุด

2.6) การนําเสนอผลงาน การแสดงผลงาน และ การประเมินผล

4.64 0.49 มากที่สุด

รวม 4.65 0.49 มากท่ีสุด

ความพึงพอใจในภาพรวม 4.59 0.49 มากที่สุด

จากตารางที่ 3 พบวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.59, S.D. =

) นักศึกษาพึงพอใจกิจกรรมการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.53,

S.D. = 0.50) และนักศึกษาพึงพอใจกิจกรรมการทําโครงงาน นิเทศศาสตรในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.65,

S.D. = 0.49)

7) อภิปรายผลการวิจัย

7.1) ผลการศึกษาคะแนนทักษะการแกปญหาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษากอนเรียนและหลังเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร พบวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีคะแนนทักษะการแกปญหาหลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลองกับงานวิจัยของ George

Lucas Educational Foundation (2001) ที่พบวา การเรียนรู

Page 8: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

168

ดวยโครงงานชวยสรางองคความรูจากการคนควา ผูเรียนที่เรียนรูดวยโครงงานจะมีสวนรวมในการเรียนมากขึ้น ลดการขาดเรียน เพิ่มทักษะในการเรียนรูแบบรวมมือ ชวยยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและทักษะในการแกปญหาทางการเรียนของผูเรียน ซ่ึงสอดคลอง แนวคิดของ Bonk and Graham (2004) ที่กลาววา กิจกรรมการเรียนสอนผานเว็บทําใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดอยางอิสระ สนับสนุนปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียนดวยกัน และผูเรียนกับผูสอนโดยการติดตอแบบสวนตัว ชวยใหการเรียนรูดีขึ้น

7.2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาตอการเรียน

โดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตร พบวา นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาท่ีเรียนโดยใชรูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด สอดคลองกับงานวิจัยของ (Driscoll, 2002) ที่พบวาการมีปฏิสัมพันธที่เกิดข้ึนในการเรียนผานเว็บชวยทําใหผูเรียนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นไดอยางเทาเทียมกันและตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล การท่ีผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับผูสอนหรือกับกลุมผู เรียน ชวยทําใหการจัดการเรียนการสอนนาสนใจมากย่ิงขึ้น และยังเปนการสนับสนุนการเรียนการสอนท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ นอกจากน้ี ผูเรียนยังสามารถทบทวนกิจกรรมการเรียนการสอนเน้ือหา และฝกทําแบบฝกหัดไดทุกสถานที่ ทุกเวลาท่ีตองการ และเปนการใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนมากย่ิงขึ้น

8) ขอเสนอแนะ

8.1 ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใช สถาบันการศึกษาท่ีนํารูปแบบการเรียนรูรวมกันผานส่ือสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวยโครงงานนิเทศศาสตรไปใช ควรมีการเตรียมความพรอมทางดานเคร่ืองมือและระบบโครงสรางพ้ืนฐานท่ีจําเปนในการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ไดแก หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ควรมีการพัฒนาทักษะความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารใหกับผูเรียนกอนทําการเรียนตามรูปแบบ

ไดแก ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการใชงานคอมพิวเตอร การใชบริการบนอินเทอรเน็ต เชน การคนหาขอมูลสารสนเทศ การใชเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร การใชงานระบบเครือขายสังคม เปนตน

8.2 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 8.2.1 ในการวิจัยคร้ังน้ีศึกษากลุมทดลองเพียงกลุมเดียว ควรศึกษาเพ่ือเปรียบเทียบผลของการเรียนตามรูปแบบท่ีพัฒนาขั้นระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุมท่ีเรียนตามปกติ

8.2.2 ควรศึกษาพัฒนาการของทักษะการคิดแกปญหาของผู เรียนในสัปดาหที่ 7 ซ่ึงตามทฤษฎีการคิดพบวา เปนระยะแรกท่ีผูเรียนเริ่มมีพัฒนาการทางดานการคิด

9) เอกสารอางอิง Bersin, J. (2004). The blended learning book: Bestpractices,

proven methodologies, and lessons learned.

San Francisco: Pfeiffer.

Bonk C. J., and Graham C. R. (2004). Handbook of blended

learning: Global perspective local designs.

San Francisco, U.S.: Pfeiffer. Bransford, J., Brown, A., & Cocking, R. (2000). How

people learn: Brain, mind, experience, and

school. Washington, DC: National Academy

Press.

Driscoll, M. (2002) Blended Learning: let’s get beyond the

hype. E-learning, 1 May, 2011.[Online]

Available: http://elearningmag.com/ltimagazine

George Lucas Educational Foundation. (2001). Project-

based learning research , 1 May,

2011.[Online] Available: http://www.edutopia.org

Rosenberg M. J. (2006). Beyond e-learning: approaches

and technologies to enhance organizational

Knowledge, learning, and performance. San

Francisco, U.S.: John Wiley & Sons Inc.

Thomas, J.W. (1998). Project-based learning: Overview.

Novato, CA: Buck Institute for Education.

Page 9: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students

169

William W., and Stephen G. J. (2009). Research

methods in education: an introduction. 9th

ed. Boston, U.S.: Pearson.

Page 10: Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students