45
โครงงาน คอมพิวเตอร เรื่อง ASEAN Languages Electronic book for smart phone โดย 1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขที่ 17 2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขที่ 22 3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขที่ 23 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2 ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท. โรงเรียน สตรีนนทบุรี ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556

9 9-2-ebook-อาเซียน

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: 9 9-2-ebook-อาเซียน

โครงงาน คอมพิวเตอร

เร่ือง ASEAN Languages Electronic book for smart phone

โดย

1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขท่ี 17

2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขท่ี 22

3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขท่ี 23

รายงานน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2

ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท.

โรงเรียน สตรีนนทบุรี

ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556

Page 2: 9 9-2-ebook-อาเซียน

โครงงาน คอมพิวเตอร

เร่ือง ASEAN Languages Electronic book for smart phone

โดย

1. นางสาว ชลธิชา บุญกูล 6/4 เลขท่ี 17

2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ 6/4 เลขท่ี 22

3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล 6/4 เลขท่ี 23

รายงานน้ีเปนสวนหน่ึงของรายวิชา ง30299 โครงงานคอมพิวเตอร 2

ตามหลักสูตรหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตรของ สสวท.

โรงเรียน สตรีนนทบุรี

ภาคเรียนท่ี 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/4 ปการศึกษา 2556

Page 3: 9 9-2-ebook-อาเซียน

ชื่อโครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smart phone

ชื่อผูทําโครงงาน 1. นางสาว ชลธิชา บญุกูล

2. นางสาว พัชรพร อุนจิตติ

3. นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล

โรงเรียนสตรีนนทบรีุ อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุร ี

โทรศพัท 02-5253171 หรือ 02-5251506

ชื่ออาจารยที่ปรึกษา 1.อาจารยประพจน หมนพันธ

2.อาจารยพัชรี ศรีสุวรรณ

ชื่ออาจารยที่ปรึกษาพิเศษ อาจารยกนกวรรณ ชนะถาวร

ผูเช่ียวชาญพิเศษ คุณวันชนะ พลอยสีขํา

ระยะเวลาในการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2555– ภาเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556

บทคัดยอ

ในปพทุธศักราช 2558 สมาคมอาเซียนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยถือเปนหน่ึงในประเทศ

สมาชิกอาเซียน ดังนั้นประเทศไทยเราจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองเตรียมตัวใหพรอมและปรับตัวเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เพื่อสงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพื่อสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคงทางการเมือง

สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ

เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย แตคนไทยเราน้ันยังไมมีความพรอม การกระตือรือรน และยังมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับ

อาเซียนไมมากพอ ถึงแมจะมีสื่อที่ใหความรูเก่ียวกับสมาคมอาเซียน แตสื่อเหลานั้นยังขาดความนาสนใจ ซ่ึงสื่อเหลานี้ โดยสวน

ใหญแลวมักจะเปนสื่อที่ใหผูสนใจศึกษาดวยตนเอง คณะผูจัดทําจึงเกิดแนวคิดวาการใชส่ือมัลติมีเดีย จะทําใหผูศึกษาสามารถ

เรียนรูเน้ือหาขอมูลของอาเซียนไดดี เพราะส่ือมัลติมีเดียเปนสื่อประสมที่นําสื่อหลายๆชนิดมาใชรวมกัน ทําใหการศึกษามี

ความนาสนใจมากข้ึน นอกจากนี้ สื่อมัลติมีเดียจะชวยใหเกิดความหลากหลาย ไมนาเบื่อ และเพิ่มความสนุกสนานในการ

เรียนรูมากขึ้นดวย

โดยการใชโปรแกรม Adobe Indesign เปนโปรแกรมหลักในการสรางสรรคสื่อ แตตัวโปรแกรมนั้นไมสามารถใช

โปรแกรมเดียวไดตองมีการเตรียมรูปภาพมาจากโปรแกรม Adobe Photoshop และเตรียมคลิปอารต หรือ กราฟฟกตางๆ

มาจากโปรแกรม Adobe illustrator สวนขอความสามารถเตรียมไดจาก โปรแกรมประเภท Word Prospering แลวจึงนํามา

ประกอบรวมกันเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส นําไฟลผลงานไปอัพโหลดใน www.issuu.com เพื่อสะดวกในการศึกษา อีก

ทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคล

ที่ใช smart phone ดาวโหลดไปทดลองใชและประเมินความพึงพอใจของกลุมตัวอยางนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50

คน จากแบบสอบถามไดในระดับดีมากและดี

Page 4: 9 9-2-ebook-อาเซียน

กิตติกรรมประกาศ

โครงงาน ASEAN Languages Electronic book for smartphone นี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลา

ดังกลาว คณะผูจัดทําตองขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ที่ใหความ

อนุเคราะห สนับสนุนในดานตางๆตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครทูีป่รึกษาทั้ง 2 ทาน คือคุณครปูระพจน หมนพันธุ และ

คุณครพูัชรี ศรีสุวรรณ สําหรับการใหคําแนะนํา ติชม และแกไขขอบกพรองตางๆตลอดจนใหการสนับสนุนเรื่อยมา

ขอขอบพระคณุ คุณครูแสงระวี ศรีไพรบูลย คณุครพูทัจารี ซื่อศรีพทิกัษ และคุณครบูุณฑริก ศรบีญุเรือง คุณครทูีป่รึกษา

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงานตลอดมา ขอบคุณบรษิทัเอไอ

เอสที่สรางเว็บไซตสาธารณะเปนแหลงขอมูลเก่ียวกับภาษาอาเซียน

สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคณุครอบครัว และทุกทานที่ใหกําลังใจและการสนับสนุนการทําโครงงานครั้งน้ี

รวมถึงเจาของบทความ ขอมูลทั้งหลายที่ไมสามารถเอยนามไดทั้งหมด ที่ทําใหโครงงานน้ีเสร็จอยางสมบูรณ ตองขอขอบคุณ

ทุกทานที่ใหการสนับสนุนตลอดมา หากตกบุคคลทานใดไปที่ไมไดเอยถึง ตองขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย

นางสาว ชลธิชา บุญกูล

นางสาว พัชรพร อุนจิตติ

นางสาว กนกลักษณ ลิ้มพัฒนกุล

Page 5: 9 9-2-ebook-อาเซียน

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ ก

กิตติกรรมประกาศ ข

สารบัญ ค

สารบัญรปูภาพ ง

บทที่ 1 บทนํา

ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1

วัตถุประสงคของการศึกษา 1

ขอบเขตของการศึกษา 1

นิยามศัพทเฉพาะ 2

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3

บทที่ 2 เอกสารอางอิง

ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4

ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส 4

งานวิจัยที่เก่ียวของกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส 7

งานวิจัยเก่ียวกับการเรียนรู 8

บทที่ 3 วิธีการดําเนินงาน

วัสดุอุปกรณ 11

ขั้นตอนการดําเนินงาน 11

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน

ผลการประเมินผลงาน 12

แผนภูมิประเมินความพึงพอใจ 13

Page 6: 9 9-2-ebook-อาเซียน

บทที่ 5 อภิปรายผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ

อภิปรายผลการศึกษา 14

สรุปผลการศึกษา 14

ขอเสนอแนะ 14

ภาคผนวก 15

บรรณานุกรม 37

Page 7: 9 9-2-ebook-อาเซียน

สารบัญภาพ

หนา

วัสดุอุปกรณและโปรแกรม 15

ขั้นตอนการดําเนินงาน 16

Page 8: 9 9-2-ebook-อาเซียน

1

บทที่ 1

บทนํา

ที่มาและความสําคัญ

ยุคสมัยนี้เปนยุคโลกาภิวัฒน มีเทคโนโลยีเกิดขึ้นใหมมากมายเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย เชน การ

ผลิตคอมพิวเตอร การผลิตเครือขายอินเตอรเน็ต เพื่อใชในการติดตอสื่อสารและอํานวยความสะดวกตอการทํางานมากมาย แต

ประโยชนไมไดมีเพียงแคนั้น ยังมีการประยุกตในวงการอุตสาหกรรมและธุรกิจอยางแพรหลายณ ขณะนี้มีทั้งความ

สะดวกสบาย มีทั้งเทคโนโลยีที่เขามามีผลตอการดํารงชีวิต เชน การทําอาหาร การผลิตเส้ือผา หรือแมกระทั่งผลิตสื่อการเรียน

การสอน เน่ืองจากผูคนสวนใหญตองการความสะดวกและรวดเร็ว ถาคนตองการอานหนังสือก็คงจะไมไปหองสมุดเพื่อไปหยิบ

ยืมหนังสือมาเนื่องจากคงเสียเวลามาก

ในปพ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะมีสวนรวมในการเปดประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนความรวมมือของ 10 ประเทศ เพื่อ

สงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ระหวางประเทศในภูมิภาค ธํารงไวเพือ่สันติภาพ เสถียรภาพ ความม่ันคงทางการเมือง

สรางสรรคความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทางดานสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงในอนาคตทุกประเทศจะเปดเสรีมีการ

เขาออกประเทศอยางสะดวกสบาย และสิ่งสําคัญที่สุดคือ ภาษา เพราะไมวาคุณจะทําอะไรตัวกลางของการส่ือสารก็คือ ภาษา

กลุมของขาพเจาจึงตองการเผยแพรความรูที่เปนคําศัพท แบงออกเปนหมวดหมูของส่ิงที่จําเปนในชีวิตประจําวัน เชน หมวด

การทักทาย อาหาร การนับเลข และอ่ืนๆอีกมากมาย ซึ่งจะนําเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรประยุกตรปูแบบการนําเสนอเปน

แบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส เพื่อความสะดวกสบายในการศึกษาและเพิ่มความนาสนใจของโครงงานน้ีดวย

วัตถุประสงคของโครงงาน

โครงงานของเรามีจุดประสงคเพื่อสงเสริมการใชภาษาของ 10 ประเทศอาเซียน ในชีวิตประจําวันโดยใชเทคโนโลยี

เขามาเปนสวนหนึ่งในการนําเสนอโดยจะแบงแยกเปนขอยอยไดดังน้ี

1. เพื่อประยุกตใชเทคโนโลยีใหมๆมาทําเปนสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบที่นาสนใจกวาหนังสือ

2. เพื่อศึกษาการทําสื่อสรางสรรคของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

3. เพื่อประเมินคามพึงพอใจของสื่อที่จัดทําข้ึนกับนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบรุีจํานวน50คน

ขอบเขตของโครงงาน

1. ใชหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยสรางจากโปรแกรม adobe indesign

2. เน้ือหาครอบคลุม คําศัพทในหมวด ทักทาย อาหาร การนับเลข ช็อปปง สิ่งอํานวยความสะดวก สกุลเงิน การ

เดินทาง และสุขภาพ

3. กลุมตัวอยาง คือผูใชสมารทโฟนทั่วไป (ไมจํากัดอายุ)

Page 9: 9 9-2-ebook-อาเซียน

2

นิยามศัพทเฉพาะ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส หมายถึง หนังสือที่จัดทําดวยระบบคอมพิวเตอร โดยไมตองพิมพเนื้อหาสาระของหนังสือบน

กระดาษหรือจัดพิมพเปนรปูเลม หนังสืออิเล็กทรอนิกสสามารถเปดอานไดจากเครื่องคอมพิวเตอร เหมือนกับเปดอานจาก

หนังสือโดยตรง ทั้งนี้สามารถนําเสนอขอมูลไดทั้งตัวอักษรหรือตัวเลข เรียกวา ไฮเปอรเท็กซ (hypertext) และถาหากขอมูล

นั้นรวมถึงภาพ เสียง และภาพเคล่ือนไหวจะเรียกวา ไฮเปอรมีเดีย (hypermedia) โดยการประสานเชื่อมโยงสัมพันธของ

เนื้อหาที่อยูในแฟมเดียวกัน หรืออยูคนละแฟม เขาดวยกัน ทําใหผูใชสามารถคนหาขอมูลที่ตองการไดอยางรวดเร็วและมี

ประสทิธิภาพซึ่งผูเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนไดตามความตองการไมจํากัดเวลาและสถานที่

( http://www.gotoknow.org/posts/446337 , 2 ธันวาคม 2555)

โปรแกรมIllustrator หมายถึง โปรแกรมสําหรับสรางภาพลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงาน

กราฟกแบบ 2 มิติตางๆ สามารถแบงไดเปน 2 แบบคือ

1.ภาพแบบพิกเซล (pixel) คือ ภาพที่เกิดจากจุดภาพในรูปภาพที่รวมกันเปนภาพขึ้น โดยภาพหน่ึงๆ จะ

ประกอบไปดวยจุดภาพหรือพิกเซลมากมาย และเเตละภาพที่สรางข้ึนจะมีความหนาเเนนของจุดภาพ

2.ภาพกราฟกเวกเตอร (vector graphics) คือ ภาพที่เกิดจากการกําหนดพิกัดและการคํานวณคาบน

ระนาบสองมิติ รวมทั้งมุมและระยะทาง ตามทฤษฎีเวกเตอรในทางคณิตศาสตร ในการกอใหเกิดเปน เสน หรือรูปภาพ ขอดีคือ

ทําใหสามารถยอขยายได โดยคุณภาพไมเปลี่ยนแปลง ขอเสียคือภาพไมเหมือนภาพจริงเปนไดเพยีงภาพวาด หรือใกลเคียง

ภาพถายเทาน้ัน

( http://www.hellomyweb.com/index.php/main/content/41 , 2 ธันวาคม 2555)

ประชาคมอาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต (Association of South East Asian

Nations : ASEAN) เปนองคกรระหวางประเทศระดบัภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มีจุดเริ่มตนโดยประเทศไทย มาเลเซีย

และฟลิปปนส ไดรวมกันจัดตั้ง สมาคมอาสา (Association of South East Asia) เพื่อการรวมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคม

และวัฒนธรรม แตดําเนินการไปไดเพียง 2 ป ก็ตองหยุดชะงักลง เนื่องจากความผกผันทางการเมืองระหวางประเทศ

อินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเม่ือมีการฟนฟูสัมพันธทางการทูตระหวางสองประเทศ จึงไดมีการแสวงหาหนทางความ

รวมมือกันอีกครั้ง มี10ประเทศไดแก ไทย สิงคโปร อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลปิปนส บรูไน เวียดนาม ลาว พมาและกัมพูชา

( http://th.wikipedia.org/wiki/สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต , 2 ธันวาคม 2555)

smartphone คือ โทรศัพทที่รองรบัระบบปฏิบัติการ ตางๆได เสมือนยกเอาคุณสมบัติทางคอมพิวเตอรมาไวใน

โทรศพัท คุณสมบัติเดนๆ คือ การเชื่อมตออุปกรณไรสายและ สามารถรองรับไฟล Multimedia ไดหลากหลายรูปแบบ

( http://www.mindphp.com/คูมือ/73-คืออะไร/2389-smartphone-คืออะไร.html , 2 ธันวาคม 2555)

Page 10: 9 9-2-ebook-อาเซียน

3

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1.ผูจัดทําสามารถนําโปรแกรมตางๆมาใชในเบื้องลึกเพื่อสรางผลงานไดดีกวาเดิม

2. ผูจัดทํามีความรูความเขาใจขั้นตอนการทําโครงงานมากข้ึน

3. สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดวยโครงงานคอมพิวเตอร

4. เปนการนําคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตมาใชใหเกิดประโยชน

5. เปนแนวทางสําหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาคนควาเพิ่มเติม

6.บคุคลที่ไดศึกษาผลงานน้ีมีความรูเก่ียวกับภาษาทางอาเซียนมากขึ้น

Page 11: 9 9-2-ebook-อาเซียน

4

บทที่ 2

เอกสารอางอิง

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

เอกสารเก่ียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book )

1. ความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book )

มีนักวิชาการใหความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e – book ) ไวดังตอไปนี้

• เบเกอร ( Baker. 1992 : 139 ) ไดกลาววา E – Book เปนการนําเอาสวนที่เปนขอเดนที่มีอยูใน

หนังสือแบบเดิม มาผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอร ซึ่งมีความสามารถในการนําเสนอเน้ือหา หรือ

องคความรูในรูปแบบส่ือประสม เน้ือหาหลายมิติสามารถเชื่อมโยงทั้งแหลงขอมูลจากภายในและจาก

เครือขาย หรือแบบเช่ือมโยง และการปฏิสัมพันธรูปแบบอ่ืนๆ

• กิดานันท มลิทอง ( 2539 : 12 ) ไดกลาววา E – Book หมายถึง ส่ิงพิมพที่ไดรบัการแปลงลงบนสื่อ

บันทึกดวยระบบดิจิตอล เชน ซีดี – รอม หรือหนังสือที่พิมพลงบนสื่อบันทึกดวยระบบดิจิตอลแทนที่

จะพิมพลงบนกระดาษเหมือนสิ่งพิมพธรรมดา

• ปญญา เปรมปรีด์ิ ( 2544 : 45 ) ไดกลาววา E – Book คือเอกสารที่พิมพเขาเครื่องคอมพิวเตอรเอาไว

มีลักษณะทั่วไปเปนแฟมขอมูลอยางหนึ่งที่จะจัดรูปใหเปนเอกสาร HTML หรือ คือ เปนเวบเพจที่

เรียกดูโดยเบราเซอรของระบบอินเตอรเน็ต

• จิระพันธ เดมะ ( 2545 : 1 ) ไดกลาววา หนังสืออิเล็กทรอนิกส หรือ E – Book เปนจะเปนพัสดุ

หองสมุดยุคใหม ที่เปลี่ยนจากรูปแบบดั้งเดิมซึ่งเปนหนังสือที่ผลิตจากการเขียนหรือพิมพตัวอักษรหรือ

ภาพกราฟกลงในแผนกระดาษ หรือวัสดุชนิดอ่ืนๆ เพื่อบันทึกเน้ือหาสาระในรูปตัวหนังสือ รูปภาพหรือ

สัญลักษณตางๆ เชนที่ใชกันปกติทั่วไปจากอดีตถึงปจจุบันเปลี่ยนมาบันทึกและนําเสนอ เนื้อหาสาระ

ทั้งหมดเปนสัญญาณอิเล็กทรอนิกสในรูปสัญญาณดิจิตอลลงในสื่ออิเล็กทรอนิกสประเภทตงๆ เชน

แผนซีดีรอม ปาลมบุก

• ประภาพรรณ หิรัญวัชรพฤกษ ( 2545 : 43 – 44 ) ไดกลาววา E – Book เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกส

ซึ่งตองอาศัยเคร่ืองมือในการอานหนังสือประเภทนี้คือ ฮารดแวร อาจเปนเครื่องคอมพิวเตอรหรือ

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสพกพาอ่ืนๆ พรอมติดตั้งระบบปฏิวัติการหรือซอฟตแวรที่สามารถอานขอความ

ตางๆได สําหรับการดึงขอมูล E – Book ที่อยูบนเว็บไซตที่ใหบริการทางดานน้ีมาอาน และนอกจากนี้

ยังไดกลาวถึงพัฒนาการของ E – Book ไวดังตอไปนี้

• ในป 1938 H.G.Wells ไดตีพิมพลงในหนังสือสารานุกรมที่ชื่อวา World Beain ซ่ึงเปนแหลงความรูที่

สมบูรณและมีวิสัยทัศนที่กวางไกล โดยไดรวบรวมองคความรูทุกอยางที่เกิดขึ้นจากมันสมองของมนุษย

มาไวที่น่ี จากหนังสือชุดน้ีไดนําแนวความคิดตางๆ มาเรียบเรียงใหมและกอใหเกิดปรากฎการณทีพ่ลิก

โฉมหนาไปสูการเปนหองสมุดดิจิตอลข้ึน

Page 12: 9 9-2-ebook-อาเซียน

5

• ในป 1945 Vannevar Bush ไดตีพิมพบทความที่ช่ือวา As We May Think ลงในวารสาร The

Atlantic Monthly ซ่ึงไดประมวลความคิดเก่ียวกับ The Memory Extender หรือที่

เรียกวา Memex ซึ่งใชเครื่องมือเรียกวา Electro – mechanical Device ซ่ึงสามารถบรรจุองค

ความรูที่เกิดข้ึนในโลกโดยใชเทคนิค Micro Reduction

• ในป 1968 Alan Kay จากบริษัท KayPro frame ซ่ึงเปนผูประดิษฐในยุคแรกๆของ Portable PCs ได

ประดิษฐ cardboardจําลองใหแก the Dynabook ซึ่งเปนคอมพิวเตอรที่มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง

มากในการดูขอความ ซึ่งเคยไดเรียกมันวา“ซุปเปอรกระดาษเสมือน” และยังแนะนําวาหนังสือ

อิเล็กทรอนิกสนี้จะถูกเขามาแทนที่กระดาษในอนาคต

• ในป 1971 Michael Hart ไดทําการบันทึกเอกสารเปนครั้งแรกในรูปแบบของเอกสารฉบับเต็ม (Full

text) โดยเก็บลงในฐานขอมูลและสามารถเขาถึงขอมูลเหลาน้ันจากเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรมของ

มหาวิทยาลัยอิลินอยส ตอมาไดเกิดโครงการกลูเตนเบิรก ( Project Glutenburg) ขึ้นเพื่อพัฒนาไปสู

การจัดเก็บวรรณกรรมคลาสสิกไวในหองสมุดและสามารถสืบคนไดทางอินเทอรเน็ต

• ในป 1981 ไดจัดทําศัพทสัมพันธข้ึนคือ The Random House Electronic Thesaurus ซึ่งไดกลาย

มาเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสเลมแรกในโบกที่ใชประโยชนในเชิงพาณิชย

• ยืน ภูวรวรรณ และสมชาย นําประเสริฐชัย (2546:51) ไดกลาววา E-Book หมายถึง การสรางหนังสือ

หรือเอกสารในรูปแบบส่ิงพิมพอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชประโยชนกับระบบการเรียนการสอนบนเครือขาย

• ศักดา ศักดิ์ศรีพาณิชย (2549: ออนไลน) ไดใหความหมายของ E-Book ไวคือ E-Book หรือหนังสือ

อิเล็กทรอนิกส เปนคําเฉพาะที่ใชสําหรับผลิตภัณฑที่เปนส่ิงพิมพดานอิเล็กทรอนิกสและมัลติมีเดีย

โดยเฉพาะอยางย่ิงผลิตภัณฑที่เปนแผนจานขอมูล (Optical disc)เชน ซีดีรอม และซีดีไอ และเปน

ซอฟแวรที่อยูมนรูปของดิสกขนาด 8 ซม.

จากความหมายของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ดังกลาวสรุปไดวา E- Book ( Electronic Book) หรือ หนังสือ

อิเล็กทรอนิกส เปนการสรางหนังสือใหอยูในรูปสิ่งพิมพอิเล็กทรอนิกส โดยใชคอมพิวเตอรในการนําเสนอ ซึ่งสามารถนําเสนอ

เนื้อหาไดทั้งที่เปนแบบตัวอักษร และภาพ

2. ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

• เบเกอร และ คิลเลอร ( Baker and Giller. 1991 : 281 – 290 ) ไดแบงประเภทของหนังสือ

อิเล็กทรอนิกส ตามประเภทของสื่อที่ใชในการนําเสนอและองคประกอบของเครื่องอํานวยความสะดวก

ภายในเลม แบงออกเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้

1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุหรือบันทึกขอมูล เน้ือหาสาระเปนหมวดวิชา หรือรายวิชา

โดยเฉพาะเปนหลัก

2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเปนหัวเรื่องหรือเรื่องเฉพาะเรื่องเปนหลัก

หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้จะมีเนื้อหาใกลเคียงกับประเภทแรกแตขอบขายแคบกวาหรือจําเพาะ

เจาะจงมากกวา

3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระ และเทคนิคการนําเสนอขั้นสูงที่มุงเนนเพื่อ

สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือการฝกอบรม

Page 13: 9 9-2-ebook-อาเซียน

6

4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทบรรจุขอมูล เนื้อหาสาระเนื้อเพื่อการทดสอบหรือสอบวัดผลเพื่อให

ผูอานไดศึกษาและตรวจสอบวัดระดับความรู หรือความสามารถของตนในเรื่องในเรื่อง

• เบเกอร (Baker. 1992 : 139 – 149 ) ไดแบงประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

ออกเปน 10 ประเภท ดังตอไปนี ้

1. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือ หรือแบบตํารา (Textbooks) หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้

เนนการจัดเก็บและนําเสนอขอมูลที่เปนตัวหนังสือ และภาพประกอบในรูปแบบหนังสือปกติทีพ่บเห็นทั่วไป

หลักหนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดน้ีสามารถกลาวไดวาเปนการแปลงหนังสือจากสภาพสิ่งพิมพปกติเปน

สัญญาณดิจิตอล เพิ่มศักยภาพเติมการนําเสนอ การปฏิสัมพันธระหวางผูอานกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสดวย

ศักยภาพของคอมพิวเตอรขั้นพื้นฐาน เชน การเปดหนาหนังสือ การสืบคน การคัดลอก เปนตน

2. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือเสียงอาน เปนหนังสือมีเสียงคําอานเม่ือเปดหนังสือจะมีเสียงอาน

หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้เหมาะสําหรับหนังสือสําหรับเด็กเริ่มเรียนหรือสําหรับฝกออกเสียง หรือฝก

พูด เปนตน หนังสืออิเล็กทรอนิกสชนิดน้ีเปนการเนนคุณลักษณะดานการนําเสนอเนื้อหาที่เปนทั้งตัวอักษร

และเสียงเปนลักษณะหลัก นิยมใชกับกลุมผูอานที่มีระดบัทักษะทางภาษาโดยเฉพาะดานการฟงหรือการ

อานคอนขางต่ํา เหมาะสําหรับการเริ่มตนเรียนภาษาของเด็กๆ หรือที่กําลังฝกภาษาที่สอง หรือฝกภาษาใหม

เปนตน

3. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพน่ิง หรืออัมบั้นภาพ เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มี

คุณลักษณะหลักเนนจัดเก็บขอมูล และนําเสนอขอมูลในรูปแบบภาพนิ่ง หรืออัลบั้มภาพเปนหลัก เสริมดวย

การนําศักยภาพของคอมพิวเตอรมาใชในการนําเสนอ เชน การเลือกภาพที่ตองการ การขยายหรือยอขนาด

ของภาพหรือตัวอักษร

4. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือภาพเคล่ือนไหว เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนน การนําเสนอ

ขอมูลในรูปภาพวีดีทัศน หรือภาพยนตรสั้นๆ ผนวกกับขอมูลสนเทศที่ในรปูตัวหนังสือ ผูอานสามารถเลือก

ชมศึกษาขอมูลได สวนใหญนิยมนําเสนอขอมูลเหตุการณประวัติศาสตร หรือเหตุการณสําคัญๆ เชน ภาพ

เหตุการณสงครามโลก เปนตน

5. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือส่ือประสม เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เนนเสนอขอมูลเนื้อหา

สาระในลักษณะแบบส่ือผสมระหวางส่ือภาพ ที่เปนทั้งภาพนิ่งภาพเคลื่อนไหวกับสื่อประเภทเสียง ใน

ลักษณะตางๆ ผนวกกับศักยภาพของคอมพิวเตอรอ่ืนเชนเดียวกันกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสอ่ืนๆ ที่กลาวมา

6. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือสื่อประสมหลากหลาย เปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่มีลักษณะ

เชนเดียวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบส่ือประสม แตมีความหลากหลายในคุณลักษณะดานความเชื่อมโยง

ระหวางขอมูลภายในเลมที่บันทึกในลักษณะตางๆ เชน ตัวหนังสือ ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหว เสียง ดนตรี เปน

ตน

7. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือส่ือเชื่อมโยง เปนหนังสือทีมีคุณลักษณะสามารถเชื่อมโยงเนื้อหา

สาระภายในเลม ซึ่งผูอานสามารถคล๊ิกเพื่อเช่ือมไปสูเนื้อหาสาระที่ออกแบบเชื่อมโยงกันภายในเลม การ

เช่ือมโยงเชนนี้มีคุณลักษณะเชนเดียวกันกับบทเรียนโปรแกรมแบบแตกก่ิง นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยง

กับแหลงเอกสารภายนอกเม่ือเชื่อมตอเช่ือมระบบอินเตอรเน็ตหรืออินทราเน็ต

Page 14: 9 9-2-ebook-อาเซียน

7

8. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสืออัจฉริยะ เปนหนังสือสื่อประสม แตมีการใชโปรแกรมขั้นสูงที่

สามารถมีปฎิกิริยา หรือปฏิสัมพันธกับผูอานเสมือนกับหนังสือมีสติปญญา ในการไตรตรอง หรือคาดคะเนใน

การโตตอบ หรือมีปฏิกิริยากับผูอาน

9. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบส่ือหนังสือทางไกล หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทนี้มีคุณลักษณะหลักๆ

คลายกับHypermedia Electronic Book แตเนนการเชื่อมโยงกับแหลงขอมูลภายนอกผานระบบเครือขาย

ทั้งที่เปนเครือขายเปด และเครือขายเฉพาะสมาชิกของเครือขาย

10. หนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบหนังสือไซเบอรสเปช หนังสืออิเล็กทรอนิกสประเภทน้ีมีลักษณะ

เหมือนกับหนังสืออิเล็กทรอนิกสหลายๆ แบบที่กลาวมาแลวมาผสมกัน สามารถเชื่อมโยงขอมูลทั้งจากแหลง

ภายในและภายนอก สามารถนําเสนอขอมูลในระบบสื่อที่หลากหลายสามารถปฏิสัมพันธกับผูอานได

หลากหลายมิติ

จากประเภท E-Book ดังกลาวสรุปไดวา E- Book หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส เปนการจัดทําหนังสือใหอยูใน

รูปแบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งสามารถจะเปดอานไดแบบหนังสือปกติทั่วไปโดยตองใชคอมพิวเตอรเปนอุปกรณในการอาน

3. งานวิจัยที่เก่ียวของกับ E-Book

3.1 งานวิจัยตางประเทศ

• โดเมน (Doman. 2001 : 74) ไดศึกษาเก่ียวกับ E – Book จะมีอุปกรณที่ใชอานขอความ

อิเล็กทรอนิกสหรือหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซ่ึงเปนข้ันตอนหนึ่งในการพัฒนาเครื่องมือทางเทคโนโลยีที่

ผลิตขึ้น ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายเพื่อการใชหนังสือรวมกันโดยผานการสื่อสารทางอินเตอรเน็ต โดยเปน

อุปกรณพื้นฐานของไมโครโปรเซสเซอร โดยในงานวิจัยไดกลาวถึงประวัติของขอความอิเล็กทรอนิกส

แบบส้ันๆ และคําแนะนําเก่ียวกับตลาดของหนังสืออิเล็กทรอนิกส ซึ่งความสะดวก และชัดเจนในการใช

เปนปญหาทีพ่บในการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส

• สทรพิฟส (Striphas. 2002 : 348) ไดสํารวจความเชื่อมโยงของพัฒนาการของหนังสือ เก่ียวกับ

โครงสรางอุปกรณทางเทคนิคของหนังสือ จากหนังสือในรูปเลมมาสูหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยหนังสือมี

การคมนาคมทางโทรศพัทผานทางอินเตอรเน็ต ซึ่งจากผลการวิจัย ทําใหทราบถึงการเช่ือมโยงของ

พัฒนาการของหนังสือจากอดีตที่ผานมาจนถึงปจจุบัน

• กริกก (Grigg. 2005 : 90) ไดศึกษาผลของการใชคอมพิวเตอรชวยสอน ( CAL) ในทางทันตกรรม ใน

การจัดฟนสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตร ีซึ่งไดทดลองกับนักศึกษากลุมตัวอยางจํานวน 48 คน โดย

ไดทําการทดลอง 2 รูปแบบ คือ การใช E – Book และกรณีการศึกษาจากระเบียนจริง ผลการวิจัย

พบวา นักศึกษาสวนมากไดรับความรูและมีการโตตอบกับโปรแกรมคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งจะใชเปน

แนวทางในการออกแบบพัฒนาระบบคอมพิวเตอรชวยสอนมาใชสําหรับทางทันตกรรม

• เฮจ ( Hage. 2006 : 97) ไดศึกษาเก่ียวกับเทคโนโลยี E- Book ซึ่งจะเปนการแลกเปล่ียนขอมูล

ขาวสารที่อยูในรูปของเอกสารดิจิตอล ในการอานหนังสืออิเล็กทรอนิกสนั้นจะตองใชอุปกรณ

อิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกสมีการเติบโตอยางชาๆและผูวิจัยไดศึกษา

ความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพของระดับการใชงานกับอายุมีความแตกตางกันทางสถิติ และ

ประสทิธิภาพของระดับการใชงานกับเพศไมมีความแตกตางทางสถิติ

Page 15: 9 9-2-ebook-อาเซียน

8

3.2 งานวิจัยในประเทศ

• สิทธิพร บุญญาวัตร ( 2540 : 23 – 37 ) ไดทําการวิจัยเก่ียวกับการนําเอาหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช

ในการฝกอบรม เรื่อง การใชโปรแกรมออโตแคด (AutoCAD R 13c4 ) ซ่ึงไดตั้งประเด็นปญหา

ไว 2 ประการ คือ ขาดสื่อในการฝกอบรมที่เหมาะสม และเอกสาร ตําราสวนใหญจะแปลมาจาก

ตางประเทศไมเหมาะกับผูเรียนระดับเร่ิมตน ซึ่งผูเรียนควรจะศึกษาจากหนังสือที่ผานการวิเคราะห

เน้ือหามาแลวจึงไดนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใช โดยใหขอดีของหนังสืออิเล็กทรอนิกส คือ ลดการ

ส้ินเปลืองวัสดุและพลังงานในการจัดทําสื่อ ชวยใหการใชสื่อมีความสะดวกยิ่งขึ้น และชวยใหการ

อบรมนอกสถานที่มีความคลองตัวขึ้น เน่ืองจากสามารถจัดเก็บในแผนซีดีได และจะชวยใหผูเรียนมี

การพัฒนาการเรียนรู เขาใจในเน้ือหาวิชาน้ันๆ มากข้ึน และควรจะนําหนังสืออิเล็กทรอนิกสมาใชใน

การเรียนการสอน

• เพญ็นภา พัทรชนม ( 2544 : บทคัดยอ ) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง กราฟก

เบื้องตน โดยทดลองกับนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

จํานวน 30 คน ซึ่งผลการวิจัยพบวา คะแนนของการทดลองหลังเรียนสูงกวาคะแนนจากการทดลอง

กอนเรียน

• พิเชษฐ เพียรเจรญิ (2546 :67) ไดทําการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส เร่ือง สื่อการสอน โดยได

ทดลองกับนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี

จํานวน 55 คน ผลการวิจัยพบวา หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง สื่อการสอน มี

ประสิทธิภาพ 82.0/82.5 สูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80/80 และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษา

หลังจากที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง ส่ือการสอน สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติที่ระดับ .01

จากการวิจัยที่เก่ียวของกับ E-Book สรุปไดวา การพัฒนารูปแบบของหนังสือใหมีความทันสมัย โดยการนําไป

ประยุกตใชกับคอมพิวเตอร ซึ่งนอกจากจะเปนการเพิ่มประสทิธิภาพของหนังสือใหมีกาส่ือสารไดรวดเร็วยิ่งขึ้นแลว เมื่อ

นํามาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนยังสามารถทําใหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูของผูเรียนสูงข้ึนดวย

4. งานวิจัยเก่ียวกับการเรียนรู

4.1ทฤษฎีการเรียนรู

• Vollam (1972) ไดศึกษาผลของภาพตางสีที่มีตอการเรียนรูเน้ือหาจากภาพของนักเรียนระดับ 6

จํานวน 90 คน โดยใชภาพขาว – ดํา ภาพสีธรรมชาติ และภาพประดิษฐ ปรากฏวา ผลการเรียนรู

เน้ือหาจากภาพสีใหผลสูงสุด รองลงมาเปนภาพขาว–ดํา ซ่ึงใหผลสูงกวาภาพประดิษฐ

• Sloan (1972) ไดศึกษาความชอบแบบภาพของนักเรียนและครูโรงเรียนประถมศึกษาระดบั 2 และ

ระดบั 5 แบงกลุมตัวอยางเปนนักเรียนในเมืองและนอกเมือง โดยใชภาพ 4 แบบคือ ภาพถาย

ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน โดยใหกลุมตัวอยางเลือกภาพที่ชอบมากที่สุด

ผลการทดลองพบวา นักเรียนทั้งในเมืองและนอกเมืองชอบภาพถายมากที่สุด รองลงมาคือ

ภาพวาดเหมือนจริง ภาพประดิษฐ และภาพการตูน

Page 16: 9 9-2-ebook-อาเซียน

9

• Kieiyer (1975) ไดศึกษาผลของระดับสตปิญญาที่มปีระสทิธิผลของอุปกรณการสอนประเภท

ภาพประกอบ (illustration) โดยใชภาพขาว–ดําและภาพสีประกอบการสอนเรื่องหัวใจดังนี้คือ

ภาพลายเสนสีดําบนพื้นขาว ภาพลายเสนสีน้ําเงินบนพื้นชมพู ภาพวาดแสดงรายละเอียดแรเงา

ขาว–ดํา ภาพวาดแสดงรายละเอียดสีตามความเปนจริง หุนรูปหัวใจขาว–ดํา หุนรูปหัวใจสี

ภาพถายตามความเปนจริงขาว–ดํา ภาพถายตามความเปนจริงสีเหมือนจริง ผลการทําวิจัยปรากฏ

วา ภาพสีทุกประเภทใหประสิทธิภาพในการเรียนรูของผูเรียนสูงสุด

4.2 งานวิจัยเก่ียวกับการเรียนรูอิเล็กทรอนิกส

• สุจิตรา กุลพันธ (2544) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการสรางบทเรียนไฮเปอรบุคสําหรับกระบวน

วิชา คอมพิวเตอรกับการศึกษาผลการศึกษาปรากฏวาเรียนไฮเปอรบุคมีประสิทธิภาพตาม ที่กําหนด

ไวและสามารถนําไปใชในการประกอบการเรียนการสอนสําหรับกระบวนวิชา คอมพิวเตอรกับ

การศึกษาไดผูเรียนสามารถเรียนจากบทเรยีนไฮเปอรบุคดวยตน เองที่ไหนเม่ือไรก็ได อีกทั้งยัง

สามารถพิมพเน้ือหาไดเปนอยางดี

• นพดล กําทอน (2545) ไดคนควาแบบอิสระเรื่องการพัฒนาระบบการเรียนแบบระบบ

อิเล็กทรอนิกสวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย ผลการศึกษาและวิจัยพบวา

การพัฒนาระบบการเรียนแบบอิเล็กทรอนิกสสารสนเทศเพื่อชีวิตสถาบันราชภัฎเชียงราย สามารถ

ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิตทําให นักศึกษาสะดวกใน

การศึกษาทบทวนเน้ือหาบทเรียนไดตลอดเวลาและผูเรียนมีความ พงึพอใจในการใชงานระบบ

• Bond and Nigel (1994) ไดรวมมือกับ ดร.ชาลส วิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่จะชวยใหผูเรียน

เกิดการเรียนรูไดงายขึ้น และสามารถใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนได สาเหตุที่พวกเขาสนใจ

ทําเรื่องที่เกิดจากเหตุผล 2 ประการ คือ มีความเชื่อวาวิธีการที่ใชในการศึกษาอยูในปจจุบันนี้ไมใช

วิธีที่ดีที่สุด และเชื่อวาคอมพิวเตอรเปนสื่อที่มีเสนห สมควรที่จะนํามาใชเพื่อการเรียนรู ดวยเหตุนี้

จึงไดสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกสขึ้นมาโดยเริ่มจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตว 10 บท ข้ันตอนแรกใน

การทําคือการเปล่ียนสคริปตและอัดเสียง สิ่งสําคัญสําหรับการเขียนสคริปต คือ ตองมีการชวย

ผูเรียนในการสรุปบทเรียนและเตรียมตัวช้ี (Cue) ใหกับผูเรียนส่ิงสําคัญที่ขาดไมไดคือ ผูเรียนตอง

สามารถทําเครื่องหมายลงในหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่สรางขึ้นไดดวย ทรพัยากรที่ใชประกอบดวย

ภาพถาย รูปภาพ ภาพเคล่ือนไหว เสียง วีดีโอและฟลม ซึ่งปจจุบนัอยูในรูปวีดีโอคลิป (Video

clips) นอกจากวิชาวาดวยพฤติกรรมสัตวแลว ยังไดจัดทําหนังสืออิเล็กทรอนิกสสําหรับวิชา

คณิตศาสตรโดยใชโปรแกรมควิกไทม (Quick Time) ในการสรางภาพเคลื่อนไหวไดงายๆเชน จาก

สมการสรางเปนกราฟ เพื่อใหกราฟที่ไดมีความเปนพลวัตไมหยุดนิ่ง ซึ่งจะทําใหผูอานจําไดมากขึ้น

จากรูปภาพและวีดีโอ

Page 17: 9 9-2-ebook-อาเซียน

10

• Kelly(1996) ศึกษาเรื่องกรณีตัวอยาง การพิมพวารสารอิเล็กทรอนิกสบนเวิลดไวดเว็บ ซ่ึงไดกลาว

วาเวิลดไวดเว็บเปนเครื่องมือที่ใชสื่อสารทั่วโลก ไฮเปอรมีเดียมีสมรรถภาพและความสามารถในการ

ถายทอดขอมูลไดไมจํากัด ดังน้ันจึงมีการใชเวิลดไวดเว็บในการผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสออนไลน

ข้ึนมามากขึ้น ผลการวิจัยพบวานโยบายของวารสารไมสามารถที่จะนํามาประเมินไดจนกวาวารสาร

จะมีการออกเผยแพรอยางเปนทางการแลว และมีความเปนไปไดในการวางกลยุทธทางการตลาด

เพื่อที่จะผลิตวารสารอิเล็กทรอนิกสบนอินเตอรเน็ตเพื่อเผยแพรตอไป

จากงานวิจัยที่เก่ียวกับการเรียนรู สรุปไดวา ส่ือมัลติมีเดียที่มีทั้งสีสัน รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว

ตางๆ ซึ่งเปนสื่อที่มีความนาสนใจจะทําใหมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรูของผูเรียนไดดีกวาสื่อที่เปนรปูภาพขาวดํา ไมมี

เสียง หรือไมมีภาพเคลื่อนไหวตางๆ

Page 18: 9 9-2-ebook-อาเซียน

11

บทที่ 3

วิธีดําเนินการทดลอง

วัสดุอุปกรณ

คอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมดังนี้

- Adobe illustrator ใชเพื่อ สรางลายเสนที่มีความคมชัดสูง งานภาพประกอบและงานกราฟก

- Adobe Photoshop ใชเพื่อ สรางและแกไขรูปภาพ

- Adobe in design ใชเพื่อ ทํางานดานการจัดหนากระดาษ

ข้ันตอนการดําเนินงาน

1. ตั้งปญหาที่ศึกษา

2. รวบรวมขอมูลที่จะศึกษา รวมถึงรวบรวมและทดลองใชโปรแกรมตางๆ

3. คัดเลือกขอมูลที่นาสนใจและสําคัญ และเลือกโปรแกรมหรือซอฟทแวรที่จะใช

4. ศึกษาเก่ียวกับโปรแกรมที่ตองการใชงาน

5. เขียนราง story board เพื่อแสดงถึงสวนประกอบภายในของหนังสืออิเล็กทรอนิกส

6. สรางกราฟกจากโปรแกรม Adobe Photoshop และโปรแกรม Adobe Illustrator

7. สรางภาพ Animation จากโปรแกรม Adobe flash

8. นําภาพกราฟกที่ไดไปประกอบรวมกันใหเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยใชโปรแกรม Adobe indesign

9. ตรวจสอบความผิดพลาดและทดลองใชงานชิ้นงานที่สรางขึ้น

10. นําผลงานที่ไดมาเสนออาจารยทีป่รึกษา เพื่อระบุขอดีขอเสียทีพ่บ และนําขอเสียไปปรบัปรุงแกไข

11. นําไฟลผลงานไปอัพโหลดเว็บสาธารณะ เพื่อสะดวกในการศึกษา อีกทางเลือกหนึ่งจะนําหนังสือ

อิเล็กทรอนิกสนี้ไปโพส ลงในแอพพลิเคชัน i love library เพื่อเปดเปนไฟลสาธารณะและใหบุคคลที่ใช smart

phone ดาวโหลดไปทดลองใช

12. ออกแบบใบประเมินความพึงพอใจ

13. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสื่อที่สรางข้ึน และทําแบบสอบถาม

14. รวบรวมเลมโครงงานและนําเสนออาจารยที่ปรึกษา

Page 19: 9 9-2-ebook-อาเซียน

12

บทที่ 4

ผลการดําเนินงาน

ผลการประเมินความพึงพอใจในการใชส่ือการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ

กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คน ไดผลการดําเนินงานดังน้ี

หัวขอ ดีมาก (คน)

ดี (คน)

พอใช (คน)

ควรปรับปรุง

1.ความรูท่ีไดรับหลังการใชelectronic book 1.1 ความเหมาะสมของเนื้อหา

34

15

1

-

1.2 ความครอบคลุมของเนือ้หา 33 17 - - 1.3 การแบงเน้ือหาเปนสวน เนนประเด็นสําคัญ

42 4 4

1.4 นําความรูท่ีไดรับไปประยุกตใชไดจริง

37 13 - -

2.สื่อประกอบการนําเสนอ 2.1 สื่อท่ีเลือกใชมีความนาสนใจและชวยใหเขาใจเร่ืองไดดขีึ้น

36

14

-

-

2.2 รูปแบบ ส ีขนาดและพิสูจนอักษร

28 21 1 -

2.3 ความนาสนใจของสื่อ 35 13 2 - 3. ความพึงพอใจ 3.1 สวนของ Animation

22

25

3

-

3.2 สวนของเนื้อหา 31 14 5 -

4.การเขาถึงหนังสืออิเลก็ทรอนิกส 4.1ความสะดวกตอการเขาถึง

22

28

-

-

4.2 การประชาสัมพันธแพรหลาย 19 21 10 -

Page 20: 9 9-2-ebook-อาเซียน

13

แผนภูมิประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอนASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ

กลุมตัวอยางคือนักเรียนโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน50คน

05

1015202530354045

ดีมาก

ดี

พอใช้

Page 21: 9 9-2-ebook-อาเซียน

14

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผล

จากการสํารวจความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smart phone ของ

กลุมตัวอยางคือนักเรียนในโรงเรียนสตรีนนทบุรีจํานวน 50 คนมี 11 รายการ คือ

1. ความเหมาะสมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 68

2. ความครอบคลุมของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 66

3. การแบงเนื้อหาเปนสวน เนนประเด็นสําคัญ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 84

4. นําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชไดจริง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ74

5. สื่อที่เลือกใชมีความนาสนใจและชวยใหเขาใจเรื่องไดดีข้ึน มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 72

6. รูปแบบ สี ขนาดและพิสูจนอักษร มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56

7. ความนาสนใจของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 70

8. ความพึงพอใจในสวนของ Animation มีระดับความพึงพอใจในระดับดีคิดเปนรอยละ 50

9. คามพึงพอใจในสวนของเนื้อหา มีระดับความพึงพอใจในระดับดมีากคิดเปนรอยละ 62

10. ความสะดวกตอการเขาถึง มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคิดเปนรอยละ 56

11. การประชาสัมพันธแพรหลาย มีระดับความพึงพอใจในระดับดคิีดเปนรอยละ 42

อภปิรายผล

กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสื่อสื่อการสอน ASEAN Languages Electronic book for smartphone อยู

ในระดับดีมากและดี เนื่องจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเน้ือหาและมีความสนใจในส่ือ ASEAN Languages Electronic

book แตในบางสวนซึ่งไดแกความพึงพอใจในสวนของ Animation การประชาสัมพันธ ซ่ึงอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวา ทําให

นักเรียนมีความรูสึกสนใจลดลงหลังจากการใชสื่อ

ขอเสนอแนะ

1.ปรบัปรุงการทํา Animation ใหมีความนาสนใจมากขึ้น

2.ทําการประชาสัมพันธใหแพรหลายมากขึ้น

Page 22: 9 9-2-ebook-อาเซียน

15

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก.

วัสดุอุปกรณและโปรแกรม

คอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมดังน้ี

1. Adobe illustrator

2. Adobe Photoshop

3. Adobe indesign

4. Adobe flash

Page 23: 9 9-2-ebook-อาเซียน

16

ภาคผนวก ข.

ขั้นตอนการทํา

ตอนที่ 1 ทําภาพกราฟฟกจากโปรแกรม Adobe illustrator

Page 24: 9 9-2-ebook-อาเซียน

17

Page 25: 9 9-2-ebook-อาเซียน

18

Page 26: 9 9-2-ebook-อาเซียน

19

Page 27: 9 9-2-ebook-อาเซียน

20

Page 28: 9 9-2-ebook-อาเซียน

21

Page 29: 9 9-2-ebook-อาเซียน

22

ตอนที่ 2 ตัดตอภาพกราฟฟกจากโปรแกรม Adobe Photoshop

Page 30: 9 9-2-ebook-อาเซียน

23

Page 31: 9 9-2-ebook-อาเซียน

24

Page 32: 9 9-2-ebook-อาเซียน

25

Page 33: 9 9-2-ebook-อาเซียน

26

Page 34: 9 9-2-ebook-อาเซียน

27

ตอนที่ 3 รวบรวมภาพกราฟฟกทําเปนหนังสืออิเล็กทรอนิกสโดยใชโปรแกรม Adobe indesign

Page 35: 9 9-2-ebook-อาเซียน

28

Page 36: 9 9-2-ebook-อาเซียน

29

Page 37: 9 9-2-ebook-อาเซียน

30

ตอนที่ 4 ทําอนิเมชั่นดวยโปรแกรม Adobe flash

Page 38: 9 9-2-ebook-อาเซียน

31

Page 39: 9 9-2-ebook-อาเซียน

32

Page 40: 9 9-2-ebook-อาเซียน

33

Page 41: 9 9-2-ebook-อาเซียน

34

Page 42: 9 9-2-ebook-อาเซียน

35

Page 43: 9 9-2-ebook-อาเซียน

36

Page 44: 9 9-2-ebook-อาเซียน

37

บรรณานุกรม

• กนิฐกนาฏ. (2551). ทฤษฎีความพึงพอใจ (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/492000

[23 พฤศจิกายน 2555]

• กรกช อําไพรพิศ. (2553). คอมพิวเตอรและเครือขาย (ออนไลน). สืบคนจาก : http://www.zoneza.com/ [26

พฤศจิกายน 2555 ]

• ธนะดี มงคชัย. (2551). ตัวอยางงานวิจัยหนังสืออิเล็กทรอนิกส. สืบคนจาก :

http://saiaom.blogspot.com/2012/02/3.html [9 ธันวาคม 2555]

• ธัญญนิชา.( 2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ประชาคมอาเซียน. สืบคนจาก : http://xn--

42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/ [25 พฤศจิกายน 2555]

• พัชรา แสงศรี. (2547). วิธีการสราง E-book จาก indesign. สบืคนจาก : http://berserk-

rabbit.exteen.com/20110603/e-book-indesign [17 พฤศจิกายน 2555 ]

• เอกนรินทร อ่ิมรส. (2555). สอนการทําE-book. สบืคนจาก :

http://www.youtube.com/watch?v=imAU13RjVwo [15 ธันวาคม 2555]

• อัญรินทร. (2554). ความหมายของศัพทเฉพาะ ภาษา. สืบคนจาก : http://www.gotoknow.org/posts/322514

[22 พฤศจิกายน 2555 ]

• nuch. (2554). สมาคมอาเซียน-ประเทศไทย. สืบคนจาก : http://hilight.kapook.com/view/67028

[25พฤศจิกายน 2555]

• พรนบัพัน. (2549). เก่ียวกับอาเซียน. สืบคนจาก: http://www.mfa.go.th/asean/ [27 พฤศจิกายน 2555]

• VirusT. (2554). การสรางE-bookอยางงาย. สืบคนจาก : http://www.getdd.net/techno/67-

ebookwizard.html [21 ธันวาคม 2555]

• VirusT. (2554). ความแตกตางของหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook) กับหนังสือทั่วไป. สบืคนจาก :

http://www.getdd.net/techno/63-ebookbook.html [22 ธันวาคม 2555]

• VirusT. (2554). โครงสรางหนังสืออิเล็กทรอนิกส (eBook Construction). สบืคนจาก :

http://www.getdd.net/techno/64-ebookconstruction.html [23 ธันวาคม 2555]

• สกรณ. (2553). ความรูเบื้องตนโปรแกรม Adobe Indesign. สืบคนจาก :

http://oit.cru.in.th/downloadmanual/InDesign1.pdf [24ธันวาคม 2555]

• มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Illustrator CS. สืบคนจาก :

http://www.pccl.ac.th/files/1012221616402461_11012512123509.pdf [24ธันวาคม 2555]

Page 45: 9 9-2-ebook-อาเซียน

38

• Lindsey Frerking. (2554). แนะนําโปรแกรม Adobe Photoshop. สืบคนจาก :

http://dese.mo.gov/divcareered/Business/MBEA/MBEA_SumConf07_AdobePhotoshop_Frerking.pdf

[24 ธันวาคม 2555]