102
รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949 Leadership 2010 สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ กิตติกรรมประกาศ รายงานการศึกษาเรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและ ชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949” ซึ่งเกิดจากการสํารวจ รวบรวมขอมูลทุติยภูมิ และการเก็บขอมูลปฐมภูมิจาก ผูที่มีสวนเกี่ยวของในภาคอุตสาหกรรมไทย ซึ่งตองอาศัยความรวมมือจากทั้งหนวยงาน และบุคคลสําคัญ จํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สถาบันยานยนต สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย และบริษัทเอกชน ไดแก บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด บริษัท เดมเลอรไครสเลอร (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เจเนอรัล มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัทที่ใหบริการตรวจรับรอง ใหคําปรึกษา และฝกอบรม รวมถึงผูประกอบการในภาคอุตสาหกรรม และนักวิชาการ/ผูเชี่ยวชาญ ที่เอื้อเฟอขอมูลและใหความรวมมือตาง กับคณะนักวิจัย เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล สําหรับการนําไปศึกษา วิเคราะห ใหผลการศึกษามีความนาเชื่อถือ และนําไปใชประโยชนไดสูงสุด ทั้งนีคณะนักวิจัยและที่ปรึกษาโครงการฯ ขอขอบคุณมา โอกาสนีสุดทายนีหากประโยชนใด ที่ไดรับจากรายงานการศึกษาฉบับนีคณะนักวิจัยและที่ปรึกษาโครงการฯ ถือเปน ผลงานของทุกทานที่ไดกลาวไวขางตน คณะทํางาน ที่ปรึกษาโครงการ ดร.สุปรียา สิทธิคง นางสมพิศ มะโน หัวหนาทีมวิจัย นางสาวอุษาศิริ สิริสุขะ คณะนักวิจัย นายอัฐพล พิริยประกอบ นางสาวสิริลักษณ อิงคชัยกุลรัชต นางสาวสุวิมล เล็กสกุล นางสาวนุชนาฎ อรุณจรัสธรรม ผูประสานงาน นางสาวปาณกาญจน ภัทรนิตย

ISO-TS 16949

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการศึกษาเรื่อง “ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949” ซึ่งเกิดจากการสํารวจ รวบรวมขอมูลทุติยภูมิ และการเก็บขอมูลปฐมภูมิจากผูที่มีสวนเกี่ยวของในภาคอุตสาหกรรมไทย ซึ่งตองอาศัยความรวมมือจากทั้งหนวยงาน และบุคคลสําคัญจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม สถาบันยานยนต สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย และบริษัทเอกชน ไดแก บริษัทโตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด บริษัท เดมเลอรไครสเลอร (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท เจเนอรัล มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัทที่ใหบริการตรวจรับรอง ใหคําปรึกษา และฝกอบรม รวมถึงผูประกอบการในภาคอุตสาหกรรม และนักวิชาการ/ผูเชี่ยวชาญ ที่เอื้อเฟอขอมูลและใหความรวมมือตาง ๆ กับคณะนักวิจัย เพื่อใหไดมาซึ่งขอมูลสําหรับการนําไปศึกษา วิเคราะห ใหผลการศึกษามีความนาเชื่อถือ และนําไปใชประโยชนไดสูงสุด ทั้งนี้ คณะนักวิจัยและที่ปรึกษาโครงการฯ ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

สุดทายนี้ หากประโยชนใด ๆ ที่ไดรับจากรายงานการศึกษาฉบับนี้ คณะนักวิจัยและที่ปรึกษาโครงการฯ ถือเปนผลงานของทุกทานที่ไดกลาวไวขางตน

คณะทํางาน

ที่ปรึกษาโครงการ ดร.สปุรียา สิทธิคง

นางสมพิศ มะโน

หัวหนาทีมวิจยั นางสาวอุษาศิริ สิริสุขะ

คณะนักวิจัย นายอัฐพล พิริยประกอบ

นางสาวสิริลักษณ อิงคชัยกุลรชัต

นางสาวสุวิมล เล็กสกุล

นางสาวนุชนาฎ อรุณจรัสธรรม

ผูประสานงาน นางสาวปาณกาญจน ภัทรนิตย

Page 2: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สารบัญ

หนา

บทสรุปสําหรับผูบริหาร ส - 1

Executive Summary ES - 1

บทที่ 1 วัตถุประสงคและกรอบแนวคิดการศกึษา

1. ความเปนมาของโครงการ 1-1

1.1 วัตถุประสงคของการศึกษา 1-3

1.2 ขอบขายการศึกษา 1-3

1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา 1-4

บทที่ 2 อุตสาหกรรมชิ้นสวนและยานยนตไทย

1. ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต 2-1

1.1 โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต 2-3

2. การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตในประเทศไทย 2-5

2.1 สถานการณดานการผลิต 2-5

2.2 การสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตของไทย 2-10

บทที่ 3 การจัดทําระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1. ที่มาของมาตรฐาน ISO/TS 16949 3-1

2. ขอกําหนดของมาตรฐาน ISO/TS 16949 3-1

Page 3: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สารบัญ (ตอ)

หนา

3. นโยบายการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 และนโยบายการคัดเลือกผูผลิตชิ้นสวนของผูประกอบรถยนตในประเทศ

3-3

4. จํานวนผูไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในประเทศไทย 3-7

5. คาใชจายในการขอการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 3-8

6. ประโยชนที่ไดรับจากการจัดทําและไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 3-9

บทที่ 4 ความพรอมของผูมีสวนเกี่ยวของกับการจัดทําระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1. ความพรอมของหนวยรับรอง (Certification Bodies) 4-1

2. ความพรอมของที่ปรึกษา (Consultants) และผูตรวจประเมิน (Auditors) 4-2

3. ความพรอมของผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทย 4-4

3.1 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง (Direct Suppliers) 4-4

3.2 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออม (Indirect Suppliers) 4-5

3.3 ประสบการณและความเห็นในการจัดทําระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

4-5

4. ความพรอมของหนวยงานสนับสนุน 4-9

4.1 หนวยงานภาครัฐ 4-9

4.2 สถาบันและสมาคมตาง ๆ 4-10

4.3 กลุมบริษัทผูผลิตรถยนต 4-15

Page 4: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 5 บทสรุป และขอเสนอแนะในการสนับสนุนผูผลิตชิ้นสวนยานยนต

1. ความจําเปนในการจัดทําระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 5-1

2. สรุปความพรอมของผูมีสวนเกี่ยวของ 5-1

3. ขอเสนอแนะ 5-2

ภาคผนวก

ก. แบบสัมภาษณผูประกอบรถยนต ก-1

ข. แบบสัมภาษณผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ข-1

ค. รายนามผูใหขอมูลสัมภาษณ ค-1

ง. รายชื่อหนวยงานที่ใหบริการตรวจรับรอง ที่ปรึกษา และฝกอบรมมาตรฐาน ISO/TS 16949

ง-1

Page 5: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สารบัญตาราง

หนา

ตารางที่ 2.1 ประเทศผูผลิตรถยนตมากที่สุด 20 อันดับแรกของโลก ป 2548 2-6

ตารางที่ 2.2 ปริมาณการผลิต การจําหนายในประเทศ และการสงออกของอุตสาหกรรม ยานยนต

2-7

ตารางที่ 2.3 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนต 2-10

ตารางที่ 3.1 วันบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 ของบริษัทผูประกอบรถยนต คายตาง ๆ

3-4

ตารางที่ 3.2 จํานวนผูไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ 3-7

ตารางที่ 3.3 จํานวนผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบใหผูผลิตยานยนตรายใหญ ที่ไดรับการรับรอง มาตรฐาน ISO/TS

3-8

ตารางที่ 3.4 ประมาณการคาใชจายในการตรวจประเมินตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002

3-9

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรายชื่อผูใหบริการดานมาตรฐาน ISO/TS 16949 4-2

Page 6: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สารบัญแผนภาพ

หนา

แผนภาพที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ขอบังคับ และผลการดําเนินการของอุตสาหกรรมยานยนตไทย

2-1

แผนภาพที่ 2.2 การลงทุนขนาดใหญในอุตสาหกรรมยานยนตไทย ในชวงป 2531 – 2545 2-3

แผนภาพที่ 2.3 ปริมาณการผลิต การจําหนายในประเทศ และการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนต

2-8

แผนภาพที่ 2.4 สวนแบงตลาดรถยนตรวมทุกประเทศ ภายในประเทศ 2548-2549 2-9

แผนภาพที่ 2.5 ปริมาณการผลิตรถยนตเพือ่สงออก ป 2545-2548 ของผูผลิตรถยนต แตละราย

2-9

แผนภาพที่ 2.6 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน 2-11

Page 7: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ส - 1

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

ปจจุบันประเทศไทยเปนฐานการผลิตยานยนตใหกับผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลกหลายแหง สามารถรองรับความตองการของตลาดรถยนตในประเทศไดกวา 95% และมีการสงออกไปยังหลายประเทศทั่วโลกประมาณ 40% ของกําลังการผลิต โดยในป 2548 ประเทศไทยไดขยับขึ้นมาเปนประเทศที่มีกําลังการผลิตยานยนตเปนอันดับที่ 14 ของโลก จากการที่สามารถผลิตรถยนตนั่งและรถยนตเพื่อการพาณิชยไดมากกวา 1 ลานคันตอป

การประกาศใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดสงผลกระทบโดยตรงตออุตสาหกรรมยานยนตของไทยที่กําลังเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งผูผลิตรถยนต ผูผลิตชิ้นสวน และผูสงมอบวัตถุดิบและบริการที่เกี่ยวของ โดยที่มาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น ไดจัดทําขึ้นโดยกลุมองคกรความรวมมือดานอุตสาหกรรมยานยนตจากประเทศตาง ๆ ซึ่งรวมกันพัฒนามาตรฐานนี้มาจากมาตรฐาน ISO 9001 และ QS 9000 เพื่อเปนมาตรฐานสําหรับอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนตโดยเฉพาะ ดังนั้น มาตรฐาน ISO/TS 16949 จึงเปนมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับจากบริษัทผูผลิตรถยนตรายใหญของโลก และกลายเปนเงื่อนไขสําคัญในการสงมอบชิ้นสวน ยานยนตใหกับบริษัทรถยนตรายใหญทั่วโลก ถึงแมวากลุมผูผลิตรถยนตญี่ปุนหลายรายจะยังไมไดมีการบังคับใชกับผูผลิตชิ้นสวนของตนก็ตาม

ประเทศไทยเปนฐานการผลิตรถยนตและรถจักรยานยนตของหลายคายทั้งจากอเมริกา ยุโรปและญี่ปุน ซึ่งแตละบริษัทไดกําหนดนโยบายในการใชชิ้นสวนในประเทศและการคัดเลือกผูสงมอบชิ้นสวนที่แตกตางกันไป แตตางก็มีรูปแบบอยูบนพื้นฐานเพื่อใหเกิดความมั่นใจในดานคุณภาพของชิ้นสวนที่สงมอบซึ่งสงผลโดยตรงตอคุณภาพของการผลิตยานยนต และความเชื่อมั่นของลูกคาทั้งในและนอกประเทศดวย ดังนั้น สําหรับผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยที่สามารถไดรับการรับรองระบบฯ ตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น จึงเทากับเปนการรับรองคุณภาพในการผลิตของตนวาสามารถผลิตไดตามขอกําหนดของลูกคา (ผูผลิตรถยนต) และสามารถสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตทุกคายได โดยไมจําเปนตองขอรับการรับรองหลายๆ ระบบ ซึ่งจะทําใหลดความซ้ําซอน ลดคาใชจายในการขอรับการรับรองมาตรฐานตาง ๆ และทําใหสามารถบริหารจัดการเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานอยูเสมอไดงายขึ้น และเปนการยกระดับการผลิตไปสูสากล เพื่อสรางความพรอมในการรับกับการจัดหาชิ้นสวนจากฐานการผลิตรถยนตจากประเทศตาง ๆ ดวย

จากการศึกษาและสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในสวนตาง ๆ พบวา ภาคเอกชนมีความตื่นตัวและมีการเตรียมการเพื่อรองรับมาตรฐาน ISO/TS 16949 มาระยะหนึ่งแลว แมวาขณะนี้มาตรฐานดังกลาว จะไดรับการยอมรับเฉพาะในกลุมผูผลิตรถยนตคายอเมริกาหรือยุโรป ในขณะที่ผูผลิตชิ้นสวนสวนใหญของไทยในปจจุบันสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตคายญี่ปุนซึ่งยังไมมีนโยบายบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 โดยกลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรง และกลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางออมไดมีการเตรียมตัวกันมาตั้งแตที่มาตรฐานเริ่มประกาศใช และจํานวนไมนอยที่ไดรับการรับรองเรียบรอยแลว โดยสวนหนึ่งดําเนินการจัดทํามาตรฐานเพราะเงื่อนไขความจําเปนที่ลูกคาของตนกําหนดใหทํา แตอีกสวนหนึ่ง ก็จัดทําเพราะเห็นวามี

Page 8: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ส - 2

ประโยชนกับการพัฒนาคุณภาพในกระบวนการผลิต และยังเปนการสรางโอกาสในการขยายตลาดไปสูลูกคารายอื่น ๆ ไดอีกดวย โดยภาครัฐใหความชวยเหลือในการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับมาตรฐาน และใหเงินทุนสนับสนุนการจางที่ปรึกษาเพื่อจัดทํามาตรฐาน

อยางไรก็ตาม ยังมีผูผลิตชิ้นสวนอีกมากที่ยังไมไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ ซึ่งสวนหนึ่งคือเปนกลุมที่เคยไดรับการรับรองในมาตรฐานระบบอื่นแลว และมีพื้นฐานหรือศักยภาพในการจะจัดทําตามระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ได อีกสวนหนึ่งคือกลุมที่ยังไมไดจัดทําระบบมาตรฐานการจัดการในองคกรเลย ซึ่งเปนผูผลิตรายเล็กในระดับ 2nd หรือ 3rd tier ยังขาดความพรอม และอาจจําเปนตองจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในระยะตอไปตามเงื่อนไขความตองการของลูกคาที่เปนผูผลิตชิ้นสวนรายใหญได สําหรับในกลุมนี้ การสรางพื้นฐานความรูความเขาใจในมาตรฐานดังกลาว นับเปนสิ่งจําเปนในระยะเรงดวน เพื่อที่ผูประกอบการจะไดเตรียมปรับโครงสรางพื้นฐานในองคกรเพื่อรองรบัการเปลี่ยนแปลงไดอยางมีประสิทธิภาพ

ในสวนของผูใหบริการปรึกษาแนะนํา และการตรวจประเมินตามมาตรฐานนั้น มีผูที่ใหบริการในมาตรฐาน ISO/TS 16949 อยูในปจจุบันไมมากนักเมื่อเทียบกับการใหบริการในมาตรฐานอื่น ๆ เนื่องจากยังมีผูเชี่ยวชาญในมาตรฐานนี้ไมมากนัก ตางจากจํานวนผูเชี่ยวชาญในดานมาตรฐาน ISO 9001 ซึ่งมีอยูจํานวนมากเพราะไดดําเนินการมาแลวเปนระยะเวลานาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง จํานวนผูตรวจประเมิน (Auditor) ตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 ที่ยังมีจํานวนจํากัดมาก อยางไรก็ดี หากอุปสงคในการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการ ISO/TS 16949 เพิ่มขึ้น บรรดาที่ปรึกษา และผูตรวจประเมิน ยอมสามารถพัฒนาเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับความตองการได

ดังนั้น เพื่อเปนการสรางความพรอม และสนับสนุนสงเสริมใหผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยสามารถยกระดับมาตรฐานการผลิต และมีขีดความสามารถในการผลิตตามมาตรฐานสากลที่ผูผลิตยานยนตตองการได ภาครัฐและหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ จึงควรจะเรงดําเนินงานในดานตาง ๆ เชน การสรางความเขาใจในมาตรฐานและการพัฒนาบุคลากร การจัดการดานฐานขอมูลเรื่องการไดรับการรับรองมาตรฐานตาง ๆ ของผูผลิตชิ้นสวนยานยนต การสนับสนุนดานงบประมาณบางสวนในการขอรับรองมาตรฐานหรือการขอรับการปรึกษาแนะนําดานมาตรฐาน และการสนับสนุนดานการพัฒนาเครื่องมือหรืออุปกรณการตรวจสอบหรือการสอบเทียบเครื่องมือวัดตางๆ เพื่อรองรับความตองการในการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการ ISO/TS 16949 : 2002

Page 9: ISO-TS 16949

Study Report Effects from Automotive Standard ISO 16949 : 2002 to Thai Automotive Industrial Sector

Leadership

2010

Management System Certification Institute ES-1

Executive Summary

Currently, Thailand is known as the regional manufacturing base of major world’s leading automotive companies. Its automotive production has surged continuously and broke one million vehicles milestone of production in the year 2005. This made the country to be ranked at the 14th largest automotive producing country in the world. Nearly 40% of its production was exported around the world, in which the rest served more than 95% of its domestic demand.

Based on the ISO 9001 and QS 9000 standards, the International Automotive Task Force has developed and initiated standard on the automotive components and parts, called ISO/TS 16949. It is now widely accepted by major automotive makers around the world. This standard will involve all activities in the automotive supply chain from parts and components producers, car assemblers, and supporting services. Those who are in the supply chain in automotive parts and components must implement their business following the light of ISO/TS 16949.

Nowadays, Thailand has become the home of world-class foreign investors in automotive and motorcycle manufacturing industries, coming from various parts of the world such as Japan, USA and European. In their business practices especially on the parts and components, they might have different business policies, strategies and ways of doing businesses, but one common thing that they have obligated to do the same is quality assurance. The quality of parts and components supplied to automotive makers from supporting companies via supply network is crucial to quality of manufactured automobiles, in which it will be effect on consumers’ confidence on their products in both domestic and international markets. ISO/TS 16949 is one of instruments which automotive companies use to select their eligibly qualified parts and components suppliers. Therefore, for those Thai parts suppliers with systems certified for the ISO/TS 16949 standard, they would basically be certified in their manufacturing quality as capability in manufacturing products up to standard which is required by their customers (automobile manufacturers). Moreover, since ISO/TS 16949 has been well recognized by most of automotive manufactures, those certified ISO/TS 16949 parts and components suppliers are able to supply their products to all automobile companies without having to be certified on many different standards. Being ISO/TS 16949 certified, for Thai parts suppliers, therefore would be beneficial in helping them in cutting costs for not necessary to get certified for other standards. As a result, it will help them to manage and maintain their standard, and to improve their production quality up to international standards.

Page 10: ISO-TS 16949

Study Report Effects from Automotive Standard ISO 16949 : 2002 to Thai Automotive Industrial Sector

Leadership

2010

Management System Certification Institute ES-2

As result of our interviews, even though many agencies concerned might view that the establishment of the ISO/TS 16949 standard may not be necessary for Thai parts suppliers at the moment. This is due to the fact that this standard is currently accepted only by American and European automobile manufacturers, whilst this standard is not a compulsory for the Japanese automotive makers, and moreover Thai suppliers are attached most of their parts and components businesses with Japanese automotive manufacturers. As far as, the view of private sector is concerned, this standard has been well accepted, and they see it as an instrument for creating business opportunities. Many suppliers in the line of supply chain have been alert and seek for being certified since ISO/TS 16949 standard first introduced. Currently, quite a number of Thai companies were successfully certified under this standard. Some were forced by business requirement. On the other hand, many companies voluntarily seek for being certified in this standard in order to ensure customers on quality of their products, in which it will in turn to expand their business opportunity. And the government sectors provide training program relating to ISO/TS 16949 standard and subsidize for hiring consultants to help private sectors to attain ISO/TS 16949 certification.

However, there are still a large number of parts and components companies who are not certified in any type of standard on management. Based on their capabilities in implementing the ISO/TS 16949 standard, they could be divided into two groups. The first group is those who are certified in other standard, and have capability in getting the ISO/TS 16949. Another is those companies who have not capability enough to get ISO/TS 16949 standard. The later are mostly the small suppliers in 2nd and 3rd tiers level. In the near future, the study foresees that this group of small suppliers will be forced to seeking for the certification of ISO/TS 16949 standard if they want to maintain their business position in supply chain of the world-class automotive makers. It is therefore urgent for these suppliers to build their foundation of understanding in this standard, in order to ensure they will be well prepared and be resilient for the upcoming requirement of automotive makers on ISO/TS 16949 standard.

Since the number of ISO/TS 16949 experts in the country is relatively low comparing with experts in other standard system, such as ISO 9000, the consulting agencies on this standard is therefore relatively low compare to other standards. However, if there is an increase in demand for ISO/TS 16949 standard certification in the future, there is strong potential in the country to develop qualified ISO/TS 16949 consultants and auditors to fulfill the demand of the industry.

In conclusion, it is necessary indeed that all agencies concern both in private and public sectors have to urge and provide support to those small Thai automotive parts and components producers to elevate and enhance their productivity and efficiency in production to meet with international standard.

Page 11: ISO-TS 16949

Study Report Effects from Automotive Standard ISO 16949 : 2002 to Thai Automotive Industrial Sector

Leadership

2010

Management System Certification Institute ES-3

Urgent needs to infrastructure an improvement of standard of those small businesses to meet with ISO/TS 16949:2002 requirements are, for instance, to create an understanding on standard and human development to support the standard implementation, to provide information on standard certification, to support financially for being certified under this standard, and to improve and upgrade auditing tools and equipments.

Page 12: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

1 - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บทที่ 1

วัตถุประสงคและกรอบแนวคิดการศึกษา

1. ความเปนมาของโครงการ

อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตเปนอุตสาหกรรมยุทธศาสตรของประเทศ โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดจัดใหอุตสาหกรรมยานยนตอยูในกลุมอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพสูง มีลักษณะเปนอุตสาหกรรมที่มีความนาสนใจสูง (Attractiveness) และมีความสามารถในการแขงขันสูง (Competitiveness) โดยในป 2548 มีการผลิตยานยนตเปนจํานวนถึง 3,483,827 คัน คิดเปนรถยนต 1,125,316 คัน และรถจักรยานยนต 2,358,511 คัน มีการสงออกยานยนตจํานวน 1,787,586 คัน คิดเปนรถยนต 450,000 คัน1 และรถจักรยานยนต 1,337,586 คัน2) คิดเปนมูลคา 225,794 ลานบาท (รถยนต 203,025 ลานบาท และรถจักรยานยนต 22,769 ลานบาท) และมีการสงออกชิ้นสวนยานยนตคิดเปนมูลคาถึง 100,953 ลานบาท (รถยนต 88,795 ลานบาท และรถจักรยานยนต 12,158 ลานบาท) ซึ่งทําใหประเทศไทยเปนผูผลิตรถยนตรายใหญอันดับที่ 14 ของโลก นอกจากนั้น อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตยังเปนอุตสาหกรรมที่มีหวงโซอุปทานยาว และมีการจางงานถึงประมาณ 225,000 คน3 จากศักยภาพและความสําคัญตอระบบเศรษฐกิจและสังคมดังกลาว รัฐบาลจึงไดกําหนดเปาหมายในการพัฒนาใหประเทศไทยเปน “Detroit of Asia” คือ มุงหวังใหไทยกาวสูตําแหนง 1 ใน 10 ผูผลิตยานยนตรายใหญที่สุดในโลกภายในป 2010 และมีเปาหมายการดําเนินงานเพื่อกาวสูการเปน Detroit of Asia คือ ผลิตรถยนตไดไมนอยกวา 1.8 ลานคันตอป, สงออกรถยนตไมนอยกวา 800,000 คันตอป และสงออกชิ้นสวนยานยนตมูลคาไมนอยกวา 400,000 ลานบาทตอป

การรักษาความสามารถในการแขงขันของไทยดานการผลิตยานยนต ขึ้นกับการยกระดับความสามารถของผูผลิตชิ้นสวนยานยนตเปนสําคัญ ปจจุบันอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตของไทย ประกอบดวยผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง (Direct supplier) ประมาณ 700 รายซึ่งเปนผูผลิตในลักษณะ OEM ที่สงมอบสินคาใหกับผูผลิตยานยนตโดยตรง และมีผูผลิตชิ้นสงมอบทางออม (Indirect supplier) รวมกันประมาณ 1,000 ราย4

ดานกําลังการผลิต พบวา ผูผลิตยานยนตคายญี่ปุนมีกําลังการผลิตคิดเปนประมาณ 80% ของกําลังการผลิตยานยนตทั้งประเทศ จากการที่ผูผลิตยานยนตคายญี่ปุนไดเขามาตั้งฐานการผลิตในประเทศไทย ทําให OEM ของผูผลิตรถยนตคายญี่ปุน ตามเขามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศไทยเพิ่มขึ้นตามลําดับ เพื่อผลิต

1 จํานวนรถยนตสําเร็จรูป CBU (Completely Built – Up) 2 จํานวนรถจักรยานยนตสําเร็จรูป CBU (Completely Built – Up) รวมกับชิ้นสวนสําเร็จรูป CKD (Completely Knock Down) 3 รายงาน Automotive Industry in Thailand (January 2006) ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 4 รายงาน Automotive Industry in Thailand (January 2006) ของสํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

Page 13: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

1 - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ชิ้นสวนปอนใหกับผูผลิตยานยนต สําหรับผูผลิตชิ้นสวนที่มีคนไทยเปนเจาของ 100% (Pure Thai) มักเปนผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออม (Indirect supplier) ใหกับ OEM ของคายญี่ปุนอีกทอดหนึ่ง ทั้งนี้ สัดสวนการใชชิ้นสวนจาก OEM ภายในประเทศสําหรับการผลิตยานยนตแตละประเภท คือ ประมาณ 80% สําหรับการผลิตรถกระบะ, ไมเกิน 50% สําหรับการผลิตรถยนตนั่ง, และเกือบ 100% สําหรับการผลิตรถจักรยานยนต และในระยะ 2-3 ปที่ผานมาไดมีคายผูผลิตรถยนตอเมริกา ไดแก Auto Alliance (บริษัทรวมทุนระหวาง Ford และ Mazda) และ GM ไดลงทุนขยายฐานการผลิตในประเทศไทยมากขึ้น ซึ่งผูผลิตรถยนตเหลานี้ยังคงใชชิ้นสวนจากตางประเทศเปนสวนใหญ ดังนั้น ผูผลิตชิ้นสวนในประเทศไทยจึงยังมีโอกาสขยายตลาดไปสูผูผลิตรถยนตกลุมนี้ไดอีกมาก

และเนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนตเปนอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีและคุณภาพการผลิตสูง ผูผลิต ยานยนตจึงไดนําระบบมาตรฐานคุณภาพเขามาใช โดยในระยะแรกมีการใชมาตรฐานหลายฉบับตามคายผูผลิต ไดแก มาตรฐาน QS9000 ของผูผลิต Big 3 ของอเมริกา คือ GM, FORD และ DaimlerChrysler นอกจากนี้ ยังมีมาตรฐานทางฝงยุโรป ไดแก VDA 6.1 ของเยอรมนี AVSQ ของอิตาลี หรือ EAQF ของฝรั่งเศส ซึ่งผลจากการมีหลายมาตรฐานทําใหผูผลิตชิ้นสวนสับสน จึงไดมีการรวมกลุมกันเพื่อกําหนดมาตรฐานใหมใหเปนที่ยอมรับมากขึ้นจากหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงการพยายามผลักดันใหเปนมาตรฐานระดับนานาชาติดังเชนมาตรฐาน ISO 9001 โดยจัดต้ังเปนองคกรความรวมมือที่เรียกวา International Automotive Task Force หรือ IATF ซึ่งมีสมาชิกจากผูผลิตรถยนตคายตาง ๆ คือ Ford, GM, DaimlerChrysler, FIAT, Renault, PSA (PeugeotCitroen), Volkswagen และองคกรความรวมมือดานอุตสาหกรรมรถยนตในประเทศตาง ๆ ประกอบดวย AIAG (North America), ANFIA (Italy), FIEV (France), SMMT (UK) และ VDA (Germany)5 โดยมีเปาหมายในการจัดทํามาตรฐานระบบบริหารคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตที่ใชในระดับสากล ซึ่งผลจากการดําเนินงานของ IATF รวมกับคณะกรรมการวิชาการดานเทคนิคขององคการระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน คณะที่ 176 (TC176 Automotive Task Group : ATG) และ JAMA ของญี่ปุน ทําใหสามารถประกาศใชมาตรฐานสากลที่เรียกวา ISO/TS 16949 ครั้งแรกเมื่อป 1999 และมีการปรับปรุงและประกาศใชอีกครั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2002 ซึ่งหลังจากที่มาตรฐานประกาศใช ปรากฏวาไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดย DaimlerChrysler ไดบังคับใชกับผูสงมอบ 1st Tier แลวต้ังแต 1 กรกฎาคม 2004 ขณะที่ Ford และ GM จะบังคับใชกับ 1st Tier ต้ังแต 14 ธันวาคม 2006 (เนื่องจากมาตรฐาน QS9000 จะหมดอายุลงในวันที่ 14 ธันวาคม 2006)

การประกาศใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 สงผลกระทบโดยตรงตออุตสาหกรรมยานยนตของไทยที่กําลังเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งผูผลิตรถยนต ผูผลิตชิ้นสวน และผูสงมอบวัตถุดิบและบริการที่เกี่ยวของ ดังนั้น จึงจําเปนตองมีการศึกษาผลกระทบของมาตรฐาน ISO/TS 16949 ตออุตสากรรมยานยนต เพื่อทราบสถานะและความพรอมของอุตสาหกรรมยานยนตไทยในปจจุบัน ทั้งผูผลิตชิ้นสวนยานยนต หนวยงานใหบริการฝกอบรม และปรึกษาแนะนํา ตลอดจนหนวยใหบริการตรวจการรับรอง (CB) เพื่อนํา

5 www.iaob.org

Page 14: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

1 - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ผลกระทบเหลานั้นมาวิเคราะหและจัดทําเปนขอเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อกําหนดมาตรการสงเสริมที่เหมาะสมตอไป

1.1 วัตถุประสงคของการศึกษา

1.1.1 เพื่อศึกษาความพรอมของผูประกอบการอุตสาหกรรมไทย ตอการนํามาตรฐาน ISO/TS 16949 มาใช

1.1.2 เพื่อศึกษาปจจัยแวดลอมที่เกื้อหนุนตอการนํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดแก อุปทานดานแหลงฝกอบรม ปรึกษาแนะนํา ผูตรวจประเมิน และผูใหการรับรอง

1.1.3 เพื่อศึกษาแนวทางการกําหนดนโยบายและมาตรการสนับสนุนใหผูประกอบการในอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตเขาสูมาตรฐาน ISO/TS 16949

1.2 ขอบขายการศึกษา

1.2.1 โครงสรางอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต

1.2.2 สํารวจจํานวน และสัดสวน ของผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ที่ไดรับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1.2.3 ศึกษาขอกําหนด (Requirements) การจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ที่ผูประกอบ ยานยนตระบุใหผูผลิตชิ้นสวนยานยนตปฏิบัติตาม และกรอบเวลาที่มีผลบังคับใช

1.2.4 ศึกษารูปแบบการสนับสนุนจากบริษัทแม และบริษัทผูประกอบยานยนตที่เปนลูกคาที่ไมใชบริษัทแม

1.2.5 สํารวจความพรอมของหนวยงานใหบริการฝกอบรม ปรึกษาแนะนํา และตรวจรับรอง (CB) มาตรฐาน ISO/TS 16949 ในประเด็นคาใชจายในการขอรับบริการแตละประเภท การสนับสนุนคาใชจายจากภาครัฐ ความยาก – งาย ของการพัฒนาเปนผูตรวจประเมินมาตรฐาน ISO/TS 16949

1.2.6 สรุปประเด็นสําคัญของการศึกษา และจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับมาตรการสนับสนุนผูประกอบการในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949

Page 15: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

1 - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

1.3 ระเบียบวิธีการศึกษา

1.3.1 การศึกษาขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารและเว็บไซต เกี่ยวกับโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตในประเทศไทย, ขอกําหนดมาตรฐาน, สถิติและรายชื่อ ผูไดรับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1.3.2 การสัมภาษณผูเกี่ยวของ ไดแก

1) ผูเชี่ยวชาญจากหนวยงานภาครัฐดานอุตสาหกรรมยานยนต ไดแก สถาบันยานยนต, สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และกรมสงเสริมอุตสาหกรรม เพื่อขอขอมูลเกี่ยวกับโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนต, ผลกระทบของมาตรฐาน ISO/TS 16949 ตออุตสาหกรรมยานยนตไทยในภาพรวม, ความพรอมของผูผลิตชิ้นสวน ยานยนตในประเทศไทย และความพรอมของผูใหบริการคําปรึกษาแนะนํา ฝกอบรม และการตรวจรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949

2) ผูบริหารหรือผูแทนองคการภาคเอกชนที่เกี่ยวของ อาทิ สมาคมผูผลิตชิ้นสวน ยานยนตไทย, กลุมอุตสาหกรรมยานยนต และ กลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนและอะไหลยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

3) ผูประกอบยานยนต และผูผลิตชิ้นสวนยานยนต เพื่อขอขอมูลเกี่ยวกับความพรอมของผูผลิตชิ้นสวนยานยนต การสนับสนุนจากบริษัทแม และจากบริษัทผูประกอบยานยนตที่เปนลูกคาที่ไมใชบริษัทแม

4) ผูใหบริการฝกอบรม ปรึกษาแนะนํา และหนวยรับรอง (CB) เพื่อขอขอมูลเกี่ยวกับความพรอมดานจํานวนและความเชี่ยวชาญของผูใหบริการดานตางๆ , คาใชจายในการใหบริการ, ความยาก – งาย ของการพัฒนาเปนผูตรวจประเมิน, แนวโนมการขอการรับรองจากหนวยรับรอง

1.3.3 การประชุมกลุมยอย (Focus group) ผูเชี่ยวชาญ และผูประกอบการ เพื่อรวบรวมมุมมอง เกี่ยวกับแนวทางการสนับสนุนผูประกอบการใหจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ที่เหมาะสม

Page 16: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บทที่ 2

อุตสาหกรรมชิ้นสวนและยานยนตไทย

1. ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต

อุตสาหกรรมยานยนตในประเทศไทยไดเริ่มตนขึ้นต้ังแตป 2504 และไดมีการพัฒนาเรื่อยมาเปนลําดับ โดยการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐตางๆ เชน การใหการสงเสริมการลงทุน นโยบายการบังคับใชชิ้นสวนในประเทศ นโยบายทางภาษีตางๆ เปนตน ซึ่งขอกําหนดหรือนโยบายตางๆ นั้น ไดมีการปรับเปลี่ยนไปตามลําดับขั้นของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในประเทศ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ และระดับในการเปดเสรีทางการคาและการลงทุน จนถึงในปจจุบัน ที่อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมเปาหมายในการพัฒนาของประเทศ จากอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อทดแทนการนําเขามาเปนอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการสงออก เปนอุตสาหกรรมหลักที่ดึงดูดเงินลงทุนและเทคโนโลยีจากตางประเทศ ทําใหเกิดการลงทุนและการจางงานในอุตสาหกรรมตอเนื่องและอุตสาหกรรมสนับสนุนจํานวนมาก และจากขอไดเปรียบและความนาสนใจในดานการลงทุน ทําใหประเทศไทยสามารถพัฒนาการผลิตจนกลายเปนฐานการผลิตยานยนตที่สําคัญแหงหนึ่งในเอเชีย และประกาศนโยบายที่จะพัฒนาใหเปน Detroit of Asia ดวย โดยในป 2548 ประเทศไทยขยับเปนประเทศที่มีกําลังการผลิตยานยนตเปนอันดับที่ 14 ของโลก จากการที่สามารถผลิตรถยนตนั่งและรถยนตเพื่อการพาณิชยไดมากกวา 1 ลานคันตอป

แผนภาพที่ 2.1 การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ขอบังคับ และผลการดําเนินการของอุตสาหกรรมยานยนตไทย

ที่มา : การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

Page 17: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ปจจุบันประเทศไทยเปนฐานการผลิตยานยนตใหกับผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลกหลายแหง รองรับความตองการของตลาดในประเทศไดกวา 95% และสามารถสงออกไปยังหลายประเทศทั่วโลกประมาณ 40% ของกําลังการผลิต สําหรับประเภทรถยนตที่ผลิตนั้น เปนรถยนตปคอัพประมาณ 73% รถยนตนั่ง 25% และรถยนตเพื่อการพาณิชยอื่นๆ อีกประมาณ 2% โดยรถยนตที่มียอดขายสูงสุดสําหรับตลาดในประเทศตามลําดับ ในป 2548 ไดแก โตโยตา อีซูซุ ฮอนดา มิตซูบิชิ นิสสัน และเชฟโรเลต และหากพิจารณาสวนแบงตลาดในประเทศตามประเภทของรถยนต พบวา รถปคอัพ 1 ตัน สามารถครองสวนแบงตลาดไดมากที่สุด คือ รอยละ 66.77 รองลงมาคือ รถยนตนั่ง รอยละ 26.75 และรถยนตเพื่อการพาณิชย (ไมรวมรถกระบะ 1 ตัน) รอยละ 5.71

ในสวนของอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนตนั้น จากการที่การผลิตรถยนตสวนใหญในประเทศเปนของบริษัทผูผลิตรถยนตจากคายญี่ปุน ทําใหผูที่ผลิตชิ้นสวนยานยนตตางๆ จึงมาจากเครือขายของบริษัทญี่ปุนเปนสวนใหญดวย คือ เปนบริษัทในเครือของผูผลิตญี่ปุน บริษัทที่รวมลงทุนกับบริษัทญี่ปุนที่เปนเจาของเทคโนโลยี และเปนบริษัทที่ไดรับความชวยเหลือ (Technology Assistance) หรือลิขสิทธิ์จากบริษัทญี่ปุน แตในระยะหลังเริ่มมีผูผลิตชิ้นสวนยานยนตในกลุม 1st tier ที่ไมใชญี่ปุนเขามาลงทุนในประเทศเพิ่มมากขึ้นตามการเขามาลงทุนของคายรถยนตจากอเมริกา คือ Auto Alliance (Ford) และ General Motor สําหรับคายรถยนตจากยุโรปนั้น เนื่องจากมีปริมาณการผลิตรถยนตไมมากนัก ทําใหมีการลงทุนในสวนของการผลิตชิ้นสวนนอยและใชชิ้นสวนนําเขาจากตางประเทศเปนสวนใหญ หรือเปนการผลิตชิ้นสวนเอง (In-house part Manufacturing)

สวนบริษัทที่เปนของคนไทยทั้งหมดนั้น หลังจากที่ไดมีการยกเลิกการบังคับใชชิ้นสวนในประเทศ และมีการเปดเสรีในดานการคาและการลงทุน ทําใหผูผลิตชิ้นสวนในประเทศตองแขงขันกับผูผลิตในตางประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยในระยะหลัง บริษัทตางๆ ที่เปนของคนไทยทั้งหมดนั้น เริ่มมีการปรับเปลี่ยนไปรวมลงทุนกับบริษัทตางชาติ หรือทํา Technology Assistance Agreement กับบริษัทตางชาติ เพื่อใหสามารถยกระดับความสามารถทางดานเทคโนโลยีการผลิต หรือการจัดการ ใหตอบสนองความตองการของลูกคาตามมาตรฐานสากลได สําหรับผูผลิตชิ้นสวนที่ไมไดมีความรวมมือในดานเทคโนโลยีกับบริษัทผูผลิตรถยนตตางๆ นั้น สวนใหญจะอยูในกลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางออม หรือ 2nd หรือ 3rd tier และมีปญหาในเรื่องการกาวใหทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปและความตองการมาตรฐานของสินคาที่สูงขึ้น รวมทั้งการแขงขันกับผูผลิตชิ้นสวนจากตางประเทศดวย

Page 18: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

แผนภาพที่ 2.2 การลงทุนขนาดใหญในอุตสาหกรรมยานยนตไทย ในชวงป 2531 – 2545

ที่มา : การพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของไทย, สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

1.1 โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต

โครงสรางของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนของประเทศไทย ประกอบดวย1

1.1.1 ผูประกอบรถยนต จํานวน 16 บริษัท

1.1.2 ผูประกอบรถจักรยานยนต 5 บริษัท

1.1.3 ผูประกอบรถดัดแปลง 3 ราย

1.1.4 ผูผลิตชิ้นสวนยานยนต มีประมาณ 1,700 ราย กลุมอุตสาหกรรมสนับสนุนดานวัตถุดิบและชิ้นสวนประกอบยอย (Raw Materials) ไดแก อุตสาหกรรมเครื่องหนัง, พลาสติก, ยาง, เหล็ก, ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส, กระจก, สีและชุบผิว และปโตรเคมี

1.1.5 กลุมอุตสาหกรรมสนับสนุนดานการผลิต (Equipment Suppliers) ไดแก Mould & Die, Jig & Fixture, Forging, Casting, Tooling, Cutting, Surface Treatment, Heat Treatment, Precision, Electronic Connector และ Engineering Plastic

1 ขอมูลจากแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต พ.ศ. 2545-2549

Page 19: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

1.1.6 บริษัทแมผูจัดจําหนาย 15 ราย (ไมรวม Dealer)

1.1.7 ธุรกิจบริการหลังการขาย ไดแก กลุม Dealer 1,052 ราย, อูและศูนยบริการซอมรถยนต 1,200 ราย

1.1.8 ธุรกิจตอเนื่องอื่นๆ (Linkage Industries) อาทิ ธุรกิจเชาซื้อ Leasing ขายรถมือสอง, บริการขนสงสินคาทางเรือและทางอากาศ (Air Transport and Shipping) เปนตน

1.1.9 ธุรกิจการเงินการธนาคาร

1.1.10 สถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัย หนวยงานใหบริการฝกอบรม และสถาบันวิจัย ฯลฯ

1.1.11 สมาคมและสถาบันเฉพาะทาง อาทิ สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต, สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย, กลุมอุตสาหกรรมยานยนต และกลุมอุตสาหกรรมชิ้นสวนอะไหลยานยนต สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย, สถาบันเฉพาะทาง ไดแก สถาบันยานยนต สถาบันไทย-เยอรมัน สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส สถาบันเหล็กและเหล็กกลา และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ

สําหรับผูผลิตชิ้นสวนยานยนต สามารถแบงไดเปน 2 กลุม คือ ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง (Direct Supplier) และผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออม (Indirect Supplier)

กลุมที่ 1 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง (Direct Supplier) คือ ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตที่ผลิตชิ้นสวนสงใหผูประกอบยานยนตโดยตรง ซึ่งเรียกวา OEM (Original Equipment Manufacturing) หรือ 1st Tier Supplier มีจํานวนประมาณ 700 ราย ซึ่งจากฐานขอมูลรายชื่อของสมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทยนั้น แบงประเภทไดเปน ชิ้นสวน Body ไดแก Seat, Console ชิ้นสวน Power ไดแก Engine, Transmission และชิ้นสวน Chassis ไดแก Steering, Brake, Suspension เปนตน

อยางไรก็ดี จากการที่ปจจุบันผูผลิตรถยนตมีการจัดซื้อชิ้นสวนแบบเปน complex module หรือเปน complete set ของชิ้นสวน เพื่อลดตนทุนในดาน logistics ทําใหผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงมีจํานวนลดลง ประกอบกับแนวทางในเรื่อง Global Sourcing ทําใหผูผลิตชิ้นสวนหลายรายผลิตสงใหกับผูผลิตชิ้นสวนรายใหญในตางประเทศ เพราะคําสั่งซื้อของบริษัทขามชาติอาจมาจากปริมาณสั่งซื้อตามความตองการของฐานการผลิตในหลายประเทศรวมกัน ดังนั้น ผูที่เคยเปนผูผลิตในระดับ 1st tier บางรายอาจตองเปลี่ยนเปนสงให 1st tier ในประเทศอื่นแทน ทําใหมีการคาดการณวาผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงในปจจุบัน นาจะมีประมาณไมเกิน 400 ราย

กลุมที่ 2 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออม (Indirect Supplier) คือ กลุมผูผลิตวัตถุดิบ (Raw Materials) และกลุม 2nd / 3rd Tier ซึ่งเปนผูจัดหาวัตถุดิบหรือชิ้นสวนใหแกผูผลิตชิ้นสวนในกลุมที่ 1 และกลุมผูผลิตชิ้นสวนรายยอยที่รับจางผลิตชิ้นสวนใหกลุม 1st Tier ซึ่งในกลุมนี้บางสวนก็อยูในกลุม 1st Tier ดวย

Page 20: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 5Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

เชนเดียวกัน คือเปนทั้ง Direct และ Indirect Supplier กลุม Indirect Supplier กลุมนี้มีจํานวนประมาณ 1,000 ราย คือ

2. การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตในประเทศไทย

2.1 สถานการณดานการผลิต

สถานการณดานการผลิตของอุตสาหกรรมยานยนตมีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการผลิตรถยนตนั้น มีปริมาณการผลิตในป 2548 จํานวน 1,125,316 คัน นับเปนปแรกที่สามารถผลิตไดเกินกวาลานคันตอป และสงผลใหประเทศไทยขยับขึ้นเปนประเทศผูผลิตรถยนตลําดับที่ 14 ของโลก จากเดิมที่เคยอยูในอันดับที่ 15 และในป 2549 ก็ยังมีอัตราการเติบโตสูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในชวง10 เดือนแรกของป สามารถผลิตไดมากกวาชวงเดียวกันของปกอน คิดเปนรอยละ 9.03 ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นในสวนของรถยนตนั่งและรถยนตปคอัพขนาด 1 ตัน สวนรถยนตเพื่อการพาณิชยมีการผลิตที่ลดลง และจากปริมาณยอดการจําหนายในประเทศนั้น พบวา จากที่เคยมีการขยายตัวของตลาดในประเทศมาโดยตลอดนั้น ในชวง 10 เดือนแรกของป 2549 กลับมียอดจําหนายที่ลดลงเล็กนอย ซึ่งเปนการลดลงทั้งในสวนของรถยนตปคอัพ 1 ตัน และรถยนตเพื่อการพาณิชย โดยมีเพียงรถยนตนั่งขนาดเล็กที่ยังคงสามารถขยายตลาดได แสดงใหเห็นถึงภาวะซบเซาของตลาดรถยนตในประเทศครั้งแรกในรอบหลายปที่ผานมา ซึ่งการชะลอตัวในดานอุปสงคนั้นเปนผลกระทบจากปจจัยลบตางๆ ทางดานเศรษฐกิจ ราคาน้ํามันที่เพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง รวมถึงสถานการณความไมแนนอนทางการเมืองในปที่ผานมาดวย

หลังจากการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ผูผลิตยานยนตในไทยไดหันมามุงการผลิตรถยนตเพื่อสงออกมากขึ้น ทําใหการสงออกมีการเติบโตขึ้นอยางกาวกระโดด จนถึงป 2548 การผลิตรถยนตในประเทศไทยนั้น เปนการผลิตเพื่อตลาดในประเทศประมาณรอยละ 60 และสงออกรอยละ 40

สําหรับรถจักรยานยนตนั้น ปริมาณการผลิตในป 2548 ไดลดลงจากป 2547 คอนขางมาก แตเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดเก็บขอมูลของสมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย จากการเก็บขอมูลการผลิตเปน CBU และ CKD มาเปน การจัดเก็บเฉพาะ CBU เทานั้น แตหากพิจารณาที่ยอดปริมาณการสงออกและการจําหนายในประเทศ จะเห็นวายังคงมีการขยายตัวไดดี สําหรับในป 2549 นั้น ยอดปริมาณการผลิตในชวง 10 เดือนแรกของป ลดลงกวาชวงเดียวกันของปกอน แตการสงออกยังคงขยายตัวได ในขณะที่การจําหนายในประเทศไมเพิ่มขึ้นมากนัก

Page 21: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 6Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ตารางที่ 2.1 ประเทศผูผลิตรถยนตมากที่สุด 20 อันดับแรกของโลก ป 2548

อันดับท่ี ประเทศผูผลิตรถยนต ปริมาณการผลิต (คัน) คิดเปน % 1 สหรฐัอเมริกา 11,962,152 19.31 2 ญี่ปุน 10,729,531 17.32 3 เยอรมัน 5,758,710 9.30 4 จีน 5,708,421 9.21 5 ฝรั่งเศส 3,628,613 5.86 6 บราซิล 2,781,714 4.49 7 สเปน 2,748,226 4.44 8 แคนาดา 2,693,901 4.35 9 เกาหลี 2,539,865 4.10 10 อังกฤษ 1,797,773 2.90 11 เม็กซิโก 1,669,563 2.70 12 อินเดีย 1,642,070 2.65 13 รัสเซีย 1,340,947 2.16 14 ไทย 1,125,316 1.82 15 อิตาลี 1,032,481 1.67 16 เบลเยี่ยม 951,493 1.54 17 ตุรกี 879,277 1.42 18 สวีเดน 714,871 1.15 19 มาเลเซีย 551,267 0.89 20 เชก 508,718 0.82 21 อ่ืนๆ 1,182,153 1.91

รวม 61,947,062 100.00

ที่มา : รางแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต ป 2549-2553 สถาบันยานยนต

Page 22: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 7Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ตารางที่ 2.2 ปริมาณการผลิต การจําหนายในประเทศ และการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนต

จํานวนการผลิต-จําหนายรถยนต (คัน)

2545 2546 2547 2548 มค.-ตค.

2548 มค.-ตค.

2549 % เปลี่ยน

แปลง การผลิตรถยนต 584,951 750,512 928,081 1,125,316 918,121 1,001,017 9.03%

- รถยนตนั่ง 169,231 251,684 304,349 277,603 228,194 250,910 9.95% - รถกระบะ 1 ตัน 382,297 468,938 597,914 822,867 669,075 730,863 9.23% - อ่ืนๆ 33,423 29,890 25,818 24,846 20,852 19,244 -7.71%

การสงออกรถยนต (CBU)

181,471 235,022 332,053 440,715 361,460 439,985 21.72%

การจําหนายในประเทศ

409,362 533,176 626,039 703,437 562,132 539,840 -3.97%

- รถยนตนั่ง 126,353 179,005 209,110 188,211 149,481 156,060 4.40% - รถกระบะ 1 ตัน 241,266 309,114 368,911 469,657 379,585 353,049 -6.99% - อ่ืนๆ 41,743 45,057 48,018 45,569 33,066 30,731 -7.06%

สัดสวนการสงออก / การผลิตทั้งหมด

31.0% 31.3% 35.8% 39.2% 39.4% 44.0%

จํานวนการผลิต-จําหนายรถจักรยานยนต (คัน)

2545 2546 2547 2548 มค.-ตค.

2548 มค.-ตค.

2549 % เปลี่ยน

แปลง การผลิต 1,977,144 2,424,676 3,028,070 2,358,511 1,940,823 1,775,773 -8.50% การสงออก (CBU&CKD)

585,320 604,995 831,287 1,337,586 1,098,484 1,287,193 17.18%

การจําหนายในประเทศ

1,332,744 1,755,297 2,033,766 2,108,078 1,732,790 1,736,386 0.21%

สัดสวนการสงออก / การผลิตทั้งหมด

29.6% 25.0% 27.5% 56.7% 56.6% 72.5%

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, สถาบันยานยนต

Page 23: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 8Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

แผนภาพที่ 2.3 ปริมาณการผลิต การจําหนายในประเทศ และการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนต

การผลิต จําหนายในประเทศ และสงออกรถจักรยานยนต

-

500,000

1,000,000

1,500,000

2,000,000

2,500,000

3,000,000

3,500,000

2545 2546 2547 2548

จํานวน

(คัน

)

การผลิต การจําหนายในประเทศ การสงออก (CBU & CKD)

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ในดานสวนแบงตลาดของรถยนตในประเทศนั้น รถยนตจากคายญี่ปุนสามารถครองตลาดสวนใหญได โดยอันดับหนึ่ง ไดแก โตโยตา รองลงมาคือ อีซูซุ ฮอนดา นิสสัน มิตซูบิชิ ตามลําดับ สําหรับการสงออกรถยนตในป 2548 ที่ผานมา ซึ่งมีจํานวนรวมจํานวน 440,715 คัน นั้น บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย ไดกาวขึ้นมาเปนผูสงออกรถยนตมากเปนอันดับหนึ่ง คือ 136,354 คัน รองลงมา คือ บริษัท เอ็มเอ็มซี สิทธิผล และเจนเนอรัลมอเตอร จํานวน 79,170 และ 75,294 คัน ตามลําดับ

การผลิต จําหนายในประเทศ และสงออกรถยนต

-

200,000

400,000

600,000

800,000

1,000,000

1,200,000

2545 2546 2547 2548

จํานว

น (คัน)

การผลติรถยนตรวมทุกประเภท การจําหนายในประเทศ การสงออกรถยนต

Page 24: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 9Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

แผนภาพที่ 2.4 สวนแบงตลาดรถยนตรวมทุกประเทศ ภายในประเทศ 2548-2549

สวนแบงตลาดรถยนตรวม ภายในประเทศ

44,80

8

25,58

6

23,44

9

33,93

9

47,41

9

40,60

2

58,51

5

176,7

18

277,9

55

23,81

4

15,12

1

31,20

9

26,69

2

52,88

8

136,7

01

227,8

29

-

50,000

100,000

150,000

200,000

250,000

300,000

Toyota Isuzu Honda Nissan Mitsubishi Chevloret Ford Others

จํานวน

(คัน

) 2548 2549 (Jan-Oct)

ที่มา : สถาบันยานยนต

แผนภาพที่ 2.5 ปริมาณการผลิตรถยนตเพือ่สงออก ป 2545-2548 ของผูผลิตรถยนตแตละราย

ปริมาณการสงออกของบริษัทรถยนตแตละราย ป 2545-2548

745 1 74 257

79,170

40,609 38,563

75,294 69,649

136,354

-

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000

140,000

160,000

To

yota

Mo

tor

Th

aila

nd

MM

C S

ittip

ol

GM

(T

ha

ilan

d)

Au

to A

llia

nce

Ho

nd

aA

uto

mo

bile

(Th

aila

nd

)

Isu

zu M

oto

rT

ha

ilan

d

Sia

m N

issa

nA

uto

mo

bile

Th

ai H

ino

Ind

ust

ry

Nis

san

Die

sel

(Th

aila

nd

)

Th

ai-

Sw

ed

ish

Ass

em

bly

BM

WM

an

ufa

ctu

rin

g(T

ha

ilan

d)

จํานวน (คัน)

2545

2546

2547

2548

ที่มา : สถาบันยานยนต

Page 25: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 10Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2.2 การสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตของไทย

ถึงแมยอดการจําหนายรถยนตในประเทศจะชะลอตัวลงในปที่ผานมา แตการสงออกยังคงมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะในตลาดรถยนตนั่ง ในภาพรวมของมูลคาการสงออกรถยนตนั้น มีการสงออกรถยนตรวม 203,025.09 ลานบาท และในชวง 10 เดือนแรกของป 2549 มีการขยายตัวรอยละ 17.10 ซึ่งเฉพาะมูลคาการสงออกรถยนตนั่งของไทยนั้น ขยายตัวจากชวงเดียวกันของปที่แลวถึงรอยละ 37.07 ตลาดที่มีการขยายตัวสูงมาก คือ ซาอุดีอาระเบีย โอมาน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตส

ตารางที่ 2.3 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนต

มูลคาการสงออก (ลานบาท)

2545 2546 2547 2548 มค.-ตค.

2548 มค.-ตค.

2549 %

เปล่ียนแปลง รถยนต (CBU) 82,825.94 102,208.06 149,232.80 203,025.09 167,870.98 196,580.77 17.10% สวนประกอบและอุปกรณ (OEM)

14,196.28 27,720.03 43,873.39 76,790.69 63,058.23 72,373.65 14.77%

เครื่องยนต 6,094.10 5,290.96 4,316.07 7,903.79 6,790.33 7,132.96 5.05% ช้ินสวนอะไหลยนต 1,789.59 2,182.00 2,909.43 4,100.47 3,366.21 4,280.32 27.16%

2545 2546 2547 2548 มค.-กย.

2548 มค.-กย.

2549 %

เปล่ียนแปลง รถจักรยานยนต (CBU & CKD)

8,318.58 8,732.62 15,430.62 22,768.99 16,777.89 17,901.97 6.7

สวนประกอบและอุปกรณรถจักรยานยนต (OEM)

4,269.81 6,634.37 13,353.27 11,428.22 8,419.25 9,310.75 10.59

ช้ินสวนอะไหลรถจักรยานยนต

8,749.97 2,221.19 2,099.23 729.56 554.62 475.34 -14.29

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, สถาบันยานยนต

Page 26: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 11Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

แผนภาพที่ 2.6 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน

มูลคาการสงออกรถยนตและชิ้นสวน

-

50,000.00

100,000.00

150,000.00

200,000.00

250,000.00

2545 2546 2547 2548

มูลคาสงออก

(ลานบาท

)

รถยนต สวนประกอบและอุปกรณรถยนต (OEM) เคร่ืองยนต ช้ินสวนอะไหลยนต มูลคาการสงออกรถจักรยานยนตและชิ้นสวน

$0

$5,000

$10,000

$15,000

$20,000

$25,000

2545 2546 2547 2548

มูลคาการสงออก

( ลานบาท

)

รถจักรยานยนตสวนประกอบและอุปกรณรถจักรยานยนต (OEM)ช้ินสวนอะไหลรถจักรยานยนต

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม, สถาบันยานยนต

สําหรับการสงออกในสวนของชิ้นสวนรถยนตนั้น มีการเติบโตเพิ่มขึ้นตามมูลคาการสงออกรถยนตเชนกัน ทั้งในกลุมสวนประกอบและอุปกรณ เครื่องยนต และชิ้นสวนอะไหลยนต โดยกลุมผูประกอบการไดมีการขยายการลงทุนและมีการผลิตเพื่อสงออกเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งมีแผนการสงออกสวนประกอบและอุปกรณรถยนตจากไทยไปยังฐานการผลิตในประเทศตาง ๆ เพิ่มมากขึ้นดวย ซึ่งอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตในประเทศไทยนั้น ยังมีโอกาสในการขยายตัวอีกมาก เนื่องจากประเทศในเอเชียยังคงเปนฐานการผลิตที่สําคัญและเปนเปาหมายในการลงทุนของคายผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลก อาทิ โตโยตา มอเตอร คอเปอรเรชั่น มีแผนจะเพิ่มโรงงานผลิตแหงใหมในอินเดีย และตอนใตของจีน ภายในป พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) และ Ford ก็มีแผนจะเปดโรงงานแหงที่สองในอินเดียดวยเชนกัน หรือในกรณีของประเทศจีนที่มีการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนตอยางกาวกระโดด และคาดวาในป พ.ศ. 2549 นี้ จะมีกําลังผลิตรวม 7 ลานคันนั้น ในปจจุบันจีนยังตองพึ่งพาการนําเขาชิ้นสวนจากตางประเทศอยูมาก และอาจตองใชเวลาอีกระยะหนึ่งในการยกระดับมาตรฐานการผลิตชิ้นสวนและยานยนตใหไดในระดับ World Class ซึ่งกําลังการผลิตรถยนตที่เพิ่มขึ้นในแถบเอเชียนี้ ทําใหเกิดการขยายอุปสงคของชิ้นสวนยานยนตดวย นับเปนโอกาสใน

Page 27: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

2 - 12Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การที่ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยจะสามารถสงออกไปไดเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขีดความสามารถของผูผลิตไทยที่จะสามารถแขงขันไดหรือไมทั้งในดานคุณภาพมาตรฐานและราคา

แตในสวนของรถจักรยานยนตนั้น ถึงแมมูลคาการสงออกรถจักรยานยนตจะยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง แตมูลคาการสงออกสวนประกอบและอุปกรณ และชิ้นสวนอะไหลรถจักรยานยนตของไทยกลับลดลง โดยเฉพาะอยางยิ่งชิ้นสวนอะไหลรถจักรยานยนต ซึ่งมีการสงออกลดลงตอเนื่องมาตามลําดับ ซึ่งเปนผลกระทบมาจากการที่ประเทศจีนเพิ่มกําลังการผลิตอะไหลรถจักรยานยนตเพิ่มขึ้น สงออกมากขึ้น ซึ่งรวมถึงการที่จีนสงออกเขาไปในตลาดที่สําคัญของไทย คือ อินโดนีเซีย และ เวียตนาม ดวย ทําใหผูผลิตชิ้นสวนรถจักรยานยนตของไทยตองเรงปรับตัวเพื่อแขงขันกับจีน และปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑใหเทียบเทาหรือสูงกวามาตรฐานสากลดวย

Page 28: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บทที่ 3

การจัดทําระบบบริหารงานคุณภาพตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1. ที่มาของมาตรฐาน ISO/TS 16949

เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนตเปนอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีและคุณภาพการผลิตสูง ผูผลิตยานยนตจึงไดนําระบบมาตรฐานคุณภาพเขามาใช โดยในระยะแรกมีการใชมาตรฐานหลายฉบับตามคายผูผลิต ไดแก มาตรฐาน QS9000 ของผูผลิต Big 3 ของอเมริกา คือ GM, FORD และ Chrysler นอกจากนี้ ยังมีมาตรฐานทางฝงยุโรป ไดแก VDA 6.1 ของเยอรมนี AVSQ ของอิตาลี หรือ EAQF ของฝรั่งเศส ซึ่งผลจากการมีหลายมาตรฐานทําใหผูผลิตชิ้นสวนสับสน จึงไดมีการรวมกลุมกันเพื่อประสานมาตรฐานระบบคุณภาพที่เกี่ยวของในอุตสาหกรรมยานยนต กําหนดมาตรฐานใหมใหเปนที่ยอมรับมากขึ้นจากหลาย ๆ ประเทศ รวมถึงการพยายามผลักดันใหเปนมาตรฐานระดับนานาชาติดังเชนมาตรฐาน ISO 9001 โดยจัดต้ังเปนองคกรความรวมมือที่เรียกวา International Automotive Task Force หรือ IATF ซึ่งมีสมาชิกจากผูผลิตรถยนตคายตาง ๆ คือ Ford, GM, DaimlerChrysler, FIAT, Renault, PSA (PeugeotCitroen), Volkswagen และองคกรความรวมมือดานอุตสาหกรรมรถยนตในประเทศตาง ๆ ประกอบดวย AIAG (North America), ANFIA (Italy), FIEV (France), SMMT (UK) และ VDA (Germany)1 โดยมีเปาหมายในการจัดทํามาตรฐานระบบบริหารคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตที่ใชในระดับสากล

กระบวนการรางมาตรฐานไดเริ่มตนขึ้นในป พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1995) และไดประกาศใชมาตรฐานสากลที่เรียกวา ISO/TS 16949 ครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2542 (ISO/TS 16949: 1999) และตอมา IATF รวมกับ Japan Automobile Manufacturers Associate (JAMA) ไดมีการปรับปรุง โดยใชแนวทางจากมาตรฐาน ISO 9001:2000 และเพิ่มเติมขอกําหนดเฉพาะสําหรับการผลิตยานยนตและชิ้นสวนยานยนต และประกาศใชอีกครั้งเมื่อเดือนมีนาคม 2545 (ISO/TS 16949: 2002) ซึ่งหลังจากที่มาตรฐานประกาศใช ปรากฏวาไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดย DaimlerChrysler ไดบังคับใชกับผูสงมอบโดยตรง (1st tier) แลวต้ังแต 1 กรกฎาคม 2004 ขณะที่ Ford และ GM จะบังคับใชกับ 1st tier ต้ังแต 14 ธันวาคม 2549 (เนื่องจากมาตรฐาน QS9000 ไดหมดอายุลงในวันที่ 14 ธันวาคม 2549)

2. ขอกําหนดของมาตรฐาน ISO/TS 16949

ขอกําหนดในมาตรฐาน ISO/TS 16949: 2002 นั้น มีพื้นฐานจาก ISO 9001:2000 และโดยรวมแลวมีความแตกตางจาก ISO 9001:2000 และ QS 9000 ในขอกําหนดเฉพาะดานสําหรับอุตสาหกรรมยานยนต

1 www.iaob.org

Page 29: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บางสวน ซึ่งสําหรับผูที่เคยจัดทําหรือไดรับการรับรองตามมาตรฐานทั้งสองดังกลาวแลว สามารถดําเนินการตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 ไดอยางไมยากนัก

เอกสารขอกําหนดมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 แบงเปนสวนของบทนํา และสวนของเนื้อหา ซึ่งมีรายละเอียดและสวนที่เพิ่มเติมจากมาตรฐาน ISO 9001:2000 และ QS 9000 ดังนี้

บทนํา ประกอบดวย บทนําทั่วไป Process Approach ความสัมพันธกับ ISO 9001:2000 เอกสารแนวทางในการจัดทําระบบ ISO/TS 16949:2002 ความเขากันไดกับระบบการจัดการอื่นๆ และเปาหมายของมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002

สวนที่ 1 ขอบเขต เปนบททั่วไป และการประยุกตใช ISO/TS 16949:2002

สวนที่ 2 มาตรฐานอางอิง อธิบายถึงการอางอิงขอกําหนดของมาตรฐาน ISO 9000:2000

สวนที่ 3 คําศัพทและคํานิยาม อธิบายคําศัพทและนิยาม ทั้งในสวนของขอกําหนดระบบบริหารคุณภาพทั่วไปและสําหรับอุตสาหกรรมรถยนต

สวนที่ 4 ระบบการบริหารคุณภาพ (Quality Management Sysytem) ระบุขอกําหนดทั่วไป และขอกําหนดระบบเอกสาร โดยมีสวนเพิ่มเติมคือ การรับผิดชอบตอคุณภาพของกระบวนการผลิตจากแหลงภายนอก (ขอ 4.2.1) และคากําหนดวิศวกรรม (Engineering Specification) ซึ่งกําหนดใหองคกรตองมีกระบวนการที่จะสรางความมั่นใจในการทบทวน การแจกจาย และการดําเนินการโดยเร็วของมาตรฐานของลูกคา และการเปลี่ยนแปลงตามขอกําหนดที่ลูกคาตองการ และตองไมเกินสองสัปดาหทํางาน (ขอ 4.2.3.1)

สวนที่ 5 ความรับผิดชอบดานการบริหาร (Management Responsibility) ระบุความมุงมั่นของฝายบริหาร การมุงเนนที่ลูกคา นโยบายคุณภาพ การวางแผน ความรับผิดชอบอํานาจหนาที่และการสื่อสารและการทบทวนของฝายบริหาร ซึ่งวัตถุประสงคดานคุณภาพที่เพิ่มเติม คือ ผูบริหารระดับสูงตองกําหนดวัตถุประสงคดานคุณภาพและการวัดผล ซึ่งตองระบุอยูในแผนธุรกิจ และไดมาจากการกระจายนโยบายคุณภาพ (5.4.1.1) และการเพิ่มเติมขอกําหนดเรื่อง ผูแทนลูกคา คือ ผูบริหารระดับสูงตองแตงต้ังผูแทนลูกคา ที่รับผิดชอบและสรางความมั่นใจวาขอกําหนดของลูกคาไดถูกระบุ รวมถึงการคัดเลือกคุณลักษณะพิเศษ การปฏิบัติการแกไขและปองกัน และการออกแบบและพัฒนา (ขอ 5.5.2.1)

สวนที่ 6 การบริหารทรัพยากร (Resource Management) อธิบายการจัดสรรทรัพยากร ทรัพยากรบุคคล โครงสรางพื้นฐาน และสภาพแวดลอมการทํางาน ซึ่งสวนที่เพิ่มเติม คือ การฝกอบรมการปฏิบัติงานจริง (Training on the job) โดยองคกรตองจัดหาการฝกอบรมการปฏิบัติงานจริงใหแกบุคลากรทุกคน ในงานใหมหรืองานที่ปรับแตงที่มีผลตอคุณภาพผลิตภัณฑ (ขอ 6.2.2.3) และเรื่องการจูงใจและการมอบอํานาจแกพนักงาน เพื่อนําไปสูการบรรลุวัตถุประสงคคุณภาพ (ขอ 6.2.2.4)

Page 30: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สวนที่ 7 การสรางผลิตภัณฑ (Product Realization) อธิบายการวางแผนกระบวนการทําใหเกิดผลิตภัณฑ/บริการ กระบวนการที่เกี่ยวของกับลูกคา การออกแบบและพัฒนา การจัดซื้อ การผลิตและการบริการ การควบคุมเครื่องมือวัดและเครื่องมือเฝาติดตาม สวนที่เพิ่มเติม คือ เรื่อง การวางแผนการสรางผลิตภัณฑ (ขอ 7.1.1) การควบคุมการเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบตอการสรางผลิตภัณฑ การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตตางๆ ตองมีการแจงเพื่อไดรับความเห็นชอบจากลูกคา (ขอ 7.1.4) เรื่อง การเฝาติดตาม โดยการวัดในขั้นตอนการออกแบบและพัฒนารวมถึงความเสี่ยงดานคุณภาพ จะตองถูกกําหนด วิเคราะห และรายงานผลสรุป โดยถือเปนหนึ่งในปจจัยนําเขาในการทบทวนโดยฝายบริหาร (ขอ 7.3.4.1)

เรื่องการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพของผูสงมอบ องคกรตองพัฒนาระบบบริหารคุณภาพของผูสงมอบชิ้นสวน (Supplier) โดยมีเปาหมายเพื่อใหผูสงมอบชิ้นสวนมีระบบที่สอดคลองกับขอกําหนดเฉพาะทางเทคนิคนี้ ซึ่งการทํา ISO 9001:2000 เปนขั้นตอนแรกของการบรรลุเปาหมายดังกลาว การจัดลําดับผูสงมอบชิ้นสวนในการพัฒนาขึ้นอยูกับสมรรถนะดานคุณภาพของผูสงมอบและความสําคัญของผลิตภัณฑที่สงมอบ (ขอ 7.4.1.2) และเรื่องการตกลงบริการกับลูกคา องคกรตองทวนสอบประสิทธิผลของศูนยบริการขององคกร เครื่องมืออุปกรณเครื่องมือวัดที่ใชงานเฉพาะทาง และการฝกอบรมบุคลากรที่ใหบริการ

สวนที่ 8 การวัด การวิเคราะหและการปรับปรุง (Measurement, Analysis and Improvement) ประกอบดวย ขอกําหนดทั่วไป การวัดและการเฝาติดตาม การควบคุมผลิตภัณฑที่ไมเปนไปตามขอกําหนด การวิเคราะหขอมูล และการปรับปรุง สวนที่เพิ่มเติม คือ เรื่องความพึงพอใจของลูกคาตองถูกตรวจติดตามจากการประเมินสมรรถนะของกระบวนการตาง ๆ อยางตอเนื่อง (ขอ 8.2.1.1) เรื่องการตรวจติดตามแตละกระบวนการผลิต (ขอ 8.2.2.2) เรื่อง คุณสมบัติผูตรวจติดตามภายในที่เปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานเทคนิคนี้ (ขอ 8.2.2.5) และองคกรตองกําหนดกระบวนการในการปรับปรุงอยางตอเนื่องสําหรับองคกร (ขอ 8.5.1.2)

3. นโยบายการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 และนโยบายการคัดเลือกผูผลิตชิ้นสวนของผูประกอบรถยนตในประเทศ

หลังจากที่ไดมีการประกาศใชมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 บริษัทผูประกอบรถยนตทั้งคายอเมริกาและยุโรป ไดกําหนดระยะเวลาและวันที่จะบังคับใชสําหรับผูสงมอบชิ้นสวน (Supplier) ในระยะเวลาที่แตกตางกัน โดยกําหนดวันสุดทายคือ 15 ธันวาคม 2549 เพื่อทดแทนกับมาตรฐาน QS 9000 ที่หมดอายุลงในวันที่ 14 ธันวาคม 2549 ดวย โดยในปจจุบันผูผลิตชิ้นสวนทางตรงในสหรัฐอเมริกาตองไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 จึงจะสามารถสงมอบใหแกบริษัทผูประกอบรถยนตตางๆ ได สวนผูผลิตรถยนตคายญี่ปุนนั้น ยอมรับในมาตรฐานดังกลาว แตสวนใหญไมไดกําหนดวันบังคับใชใหผูสงมอบชิ้นสวนตองไดรับการรับรองในมาตรฐานนี้

Page 31: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ตารางที่ 3.1 วันบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 ของบริษัทผูประกอบรถยนตคายตาง ๆ

ชื่อผูประกอบรถยนต วันท่ีบังคับใช

Ford Motor Company ต้ังแต 15 ธันวาคม 2549 General Motors ต้ังแต 15 ธันวาคม 2549 PSA Peugeot Citroen ต้ังแต 15 ธันวาคม 2549 DaimlerChrysler ต้ังแต 1 กรกฎาคม 2547 Renault ต้ังแต 1 กรกฎาคม 2547 Fiat ต้ังแต 16 ธันวาคม 2546 Volkswagen ต้ังแต 16 ธันวาคม 2546 BMW ต้ังแต 16 ธันวาคม 2546 Nissan ต้ังแต 16 ธันวาคม 2546 Toyota ยังไมบังคับใชมาตรฐานระบบการจัดการ (QMS) แตมีนโยบายที่จะลดการ

ตรวจประเมินโดย 2nd Party สําหรับผูสงมอบชิ้นสวนที่ไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการแลว

บริษัทญี่ปุนอื่น ๆ รับทราบเกี่ยวกับการประกาศใชมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 แลว แตยังไมไดบังคับใหผูสงมอบชิ้นสวนตองไดรับการรับรองมาตรฐานดังกลาว

ประเทศไทยเปนฐานการผลิตรถยนตและรถจักรยานยนตของหลายคายทั้งจากอเมริกา ยุโรปและญี่ปุน ซึ่งแตละบริษัทไดกําหนดนโยบายในการใชชิ้นสวนในประเทศและการคัดเลือกผูสงมอบชิ้นสวนที่แตกตางกันไป แตตางก็มีรูปแบบอยูบนพื้นฐานเพื่อใหเกิดความมั่นใจในดานคุณภาพของชิ้นสวนที่สงมอบซึ่งสงผลโดยตรงตอคุณภาพของการผลิตยานยนต และความเชื่อมั่นของลูกคาทั้งในและนอกประเทศดวย

จากการสัมภาษณตัวแทนผูผลิตยานยนตรายใหญในประเทศ ในดานนโยบายการคัดเลือกผูผลิตชิ้นสวน โดยเฉพาะผูสงมอบชิ้นสวนทางตรง หรือ 1st tier และนโยบายในการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 พบวา ผูผลิตแตละรายมีการกําหนดนโยบายที่แตกตางกัน ซึ่งสามารถสรุปสาระสําคัญ ไดดังนี้

บริษัท เจนเนอรัลมอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด เปนบริษัทในเครือของบริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส คอรปอเรชั่น ซึ่งเปนบริษัท ผูผลิตรถยนตรายใหญที่สุดของโลก และในปจจุบันมีศูนยการผลิตอยูในประเทศตาง ๆ กวา 30 ประเทศ

บริษัท เจนเนอรัลมอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด กอต้ังขึ้นในประเทศไทย เมื่อกลางป 2539 และเริ่มผลิตรถยนตในเดือนพฤษภาคม 2543 ณ ศูนยการผลิตรถยนต ที่นิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรน ซีบอรด จังหวัดระยอง โดยทําการผลิตรถยนตใหเจนเนอรัล มอเตอรส และบริษัทพันธมิตรทางการคาของบริษัทฯ ภายใตแบรนดของบริษัทฯ และบริษัทพันธมิตร ไดแก เชฟโรเลต โฮลเดน โอเปล ซูบารุ และวอกซฮอลล

Page 32: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 5Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การคัดเลือกผูสงมอบชิ้นสวนนั้น บริษัทพิจารณาโดยดูจากองคประกอบ 4 หัวขอ คือ คุณภาพ ราคา เทคโนโลยี และการบริการ โดยผูสงมอบจะตองมีระบบคุณภาพที่ดี ไดรับการรับรองระบบจากมาตรฐานสากลที่ยอมรับได เชน QS-9000 หรือ ISO/TS 16949 ซึ่งจะมีกระบวนการในการประเมินผลทางคุณภาพ กอนการคัดเลือกมาดําเนินธุรกิจกับ GM โดยทีมงานฝายพัฒนาคุณภาพผูสงมอบ และในการประเมินผลดังกลาวจะมีการระบุถึงหัวขอที่ผูสงมอบตองทําการปรับปรุงและผูสงมอบจะตองระบุแผนงานและขั้นตอนตาง ๆ เพื่อที่จะปรับปรุงใหแลวเสร็จกอนการคัดเลือกดวย สําหรับในกรณีที่รวมทําธุรกิจกับ GM แลว ทางทีมงานจะมีการจัดสอน เสนอแนะกระบวนการพัฒนาคุณภาพดานตางๆ โดยมีกิจกรรมและการประเมินผลเปนระยะๆ ซึ่งในปจจุบันบริษัทกําหนดสัดสวนการใชชิ้นสวนในประเทศแลวแตรุนที่ผลิต โดยมีผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงประมาณ 94 ราย

ในสวนของการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น บริษัทฯ กําหนดใหผูสงมอบทุกรายจะตองไดรับการรับรองมาตรฐานตาม ISO/TS 16949 กอน 31 ธันวาคม 2549

บริษัท เดมเลอรไครสเลอร ประเทศไทย จํากัด เปนผูผลิตรถยนตภายใตแบรนด เมอรเซเดส-เบนซ ไครสเลอร และจี๊ป ซึ่งไมมีโรงงานประกอบในประเทศไทย แตไดใหบริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต เปนผูประกอบรถยนตให โดยนโยบายการใชชิ้นสวนของ DaimlerChrysler จะมองเปนภูมิภาค (Region) โดยใหความสําคัญกับชิ้นสวนที่ผลิตในประเทศที่เปนแหลงผลิตรถยนต แตเนื่องจากจํานวนการผลิตและปริมาณการสั่งซื้อในแตละครั้งมีไมมากนัก รวมทั้งตองการชิ้นสวนที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ดังนั้นโอกาสในการใชชิ้นสวนในประเทศไทยจึงมีนอย และยงัคงใชชิ้นสวนจากตางประเทศมากกวา ซึ่งปจจุบันมีการใชชิ้นสวนในประเทศเพียงประมาณรอยละ 1-5 คือมีผูสงมอบชิ้นสวนทางตรงในประเทศเพียง 14 รายเทานั้น สําหรับนโยบายในการคัดเลือกผูผลิตชิ้นสวนในประเทศนั้น แบงเปน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ดําเนินการโดยหนวยงาน Global Procurement & Supply จากสิงคโปร ซึ่ง sourcing ตามเกณฑของ DaimlerChrysler จากนั้นเขาสูระยะที่ 2 หนวยงานที่ควบคุมคุณภาพทําการตรวจกระบวนการผลิตของ supplier ตามเกณฑขอกําหนดของ DaimlerChrysler อีกครั้งหนึ่ง

ในดานการควบคุมคุณภาพของผูสงมอบชิ้นสวนนั้น บริษัทจัดใหมีคูมือ Supplier และ Specific requirement และมี Process audit โดย DCPA (DaimlerChrysler Process Audit) มีขั้นตอนคือสงแบบประเมินตนเอง (Self assessment form2) ไปยัง supplier เพื่อใหเตรียมตัวรับการ audit จากนั้นสงทีมเขาไป audit ณ สถานประกอบการของ supplier ประมาณปละ 1 ครั้ง หรือมากกวา แลวแตกรณี

ในสวนของนโยบายการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น เปนนโยบายจากบริษัทแม คือ DaimlerChrysler ที่บังคับให supplier ทุกรายที่สงมอบชิ้นสวนให DaimlerChrysler ตองไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทั้งผูสงมอบทางตรงและทางออม โดยเดิมไดกําหนดระยะเวลาไวภายในป 2004 แตภายหลังพบวายังมี supplier จํานวนมากที่ยังไมสามารถดําเนินการไดทันตามชวงเวลาดังกลาว DaimlerChrysler จึงไดจัดประชุมรวมกับ supplier (Quality Manager Meeting) เพื่อรวมหารือเกี่ยวกับ

2 เน้ือหาการ audit ตามขอกําหนดของ ISO/TS 16949 และตามมาตรฐาน VDA ของเยอรมนี

Page 33: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 6Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ชวงเวลาใหมที่เหมาะสม และไดกําหนดใหมเปนภายในป 2008 และมอบหนาที่ให OEM แตละรายที่จะกําหนดความตองการใหเหมาะสมกับ supplier แตละราย และการบังคับใชมาตรฐานมีความแตกตางกันระหวางผูผลิตชิ้นสวนแตละประเภท ถาเปนชิ้นสวนสําคัญที่เรียกวา component จําเปนตองไดรับการรับรองเปนลําดับแรก ๆ ซึ่งผูผลิตเหลานั้นมักมีความพรอมอยูแลว เนื่องจากไดเตรียมตัวมาระยะหนึ่งแลว

ในกรณีของ DaimlerChrysler นั้น เนื่องจากเปนหนึ่งใน BIG 3 ที่ใหความสําคัญกับการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 มากเปนพิเศษ ดังนั้น ถึงแมมาตรฐานนี้บังคับใชเฉพาะกับผูผลิตชิ้นสวน ตัวโรงงานประกอบรถยนตไมจําเปนตองจัดทํามาตรฐานนี้ แต DaimlerChrysler ก็ไดนํามาตรฐานนี้มาประยุกตใชและขอการรับรองดวย (DaimlerChrysler ที่เยอรมนีผานการรับรองแลว) สําหรับในประเทศไทย จึงกําหนดใหบริษัท ธนบุรีประกอบรถยนต จัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ดวย ซึ่งการนํามาใชตองประยุกตขอกําหนด เชน การละเวนกระบวนการออกแบบ เนื่องจากขอกําหนดออกแบบมาสําหรับผูผลิตชิ้นสวน

บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ไดกอต้ังขึ้นมาตั้งแตป 2505 และโรงงานประกอบรถยนตแหงที่ 1 ที่สมุทรปราการ ไดดําเนินการมาตั้งแตป 2507 และโรงงานประกอบรถยนตแหงที่ 3 ลาสุด คือ โตโยตาเกตเวย ที่นิคมอุตสาหกรรมเกตเวยซิต้ี ฉะเชิงเทรา ไดเริ่มดําเนินการในป 2540

จากการที่ Toyota เปนบริษัทผูผลิตรถยนตคายญี่ปุนที่ไดดําเนินการในประเทศไทยมาแลวเปนเวลายาวนานกวา 40 ป ทําใหมีความสัมพันธและรูจักผูผลิตชิ้นสวนในประเทศไทยเปนอยางดี โดยในการคัดเลือกผูผลิตชิ้นสวน จะดําเนินการโดยศึกษาความตองการชิ้นสวนในประเทศ และศึกษาศักยภาพของผูผลิตแตละราย โดยมีหลักเกณฑการพิจารณาดานคุณภาพ และราคาเหมาะสม คือ ดานคุณภาพจะพิจารณาจากการบริหารจัดการ (Management) การออกแบบ การจัดการกระบวนการผลิต (Process Management) การควบคุมคุณภาพ (QC) การไดรับการรับรองตามมาตรฐานระบบการจัดการ การปรับปรุง และการแกไขปญหาที่พบจากการปฏิบัติงาน

Toyota ไดกําหนดนโยบายการควบคุมคุณภาพเปน 2 ชวง คือ

(1) กอนเริ่มผลิตเปน Mass Production หรือกอนการประกอบเปนตัวรถ จะมีทีมงานของ Toyota เรียกวา SPTT (Supplier Part Tracking Team) ที่ประกอบดวยบุคลากรจาก 3 ฝาย คือ ฝายจัดซื้อ ฝายควบคุมคุณภาพ และวิศวกร เปนผูตรวจสอบ เขาไปดูแผนงาน ความคืบหนาการดําเนินงาน การปฏิบัติการแกไขและปองกัน และตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานของตัวอยางชิ้นสวนใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว จากนั้นจะทําการทดลองประกอบเปนตัวรถอีกประมาณ 2-3 ครั้ง เพื่อยืนยันคุณภาพชิ้นสวน ยืนยันคุณภาพของคน คุณภาพของระบบ (วิธีการประกอบ อุปกรณเครื่องจักร) แลวจึงจะเริ่มผลิตเปน Mass Production ตอไป

(2) หลังผลิตเปน Mass Production แลว จะมีการประเมินคุณภาพในแบบ Self Audit ดวย Sampling Quality Report ซึ่ง Toyota จะเปรียบเทียบ performance เพื่อดูวายังคงรักษามาตรฐานไดตามที่ตกลงกันไวหรือไม โดยมีเกณฑการประเมิน คือ ของเสียที่เกิดขึ้นไมเกินกวาเปาหมายที่ต้ังไว (ไม

Page 34: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 7Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

เกิน 7 ppm) ของเสียเมื่อใชไปแลว รับประกันไมเกิน 5 ppm และการสงมอบตองตรงเวลา ซึ่งหากพบวาประสิทธิภาพของ supplier รายใดมีปญหาก็จะสงทีมบุคลากรผูเชี่ยวชาญ (ฝายควบคุมคุณภาพ และฝายจัดซื้อ) เขาไปตรวจสอบ ณ โรงงานของ supplier โดยเขาไปชวยวิเคราะหหาสาเหตุและแนวทางการแกไขปญหาให นอกจากนี้ ยังมีการจัด Monthly Meeting เพื่อให supplier รายที่มีประสิทธิภาพมานําเสนอผลงานเพื่อเปนตัวอยางที่ดีใหกับ supplier รายอื่นๆ นับเปนการยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของ supplier ดวย โดยมีทีมวิทยากรคอยใหคําปรึกษาแนะนํา

ในเรื่องการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น Toyota ไมไดบังคับให supplier ตองทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 เนื่องจากเห็นวา Requirement ของ Toyota ครอบคลุมมาตรฐานดังกลาวอยูแลว และบริษัทเองมีความเขาใจและรูศักยภาพของ supplier ในประเทศไทยเปนอยางดี ดังนั้นจึงไมไดบังคับใช อยางไรก็ตาม supplier ของ Toyota สวนใหญจะไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการทั้ง ISO/TS 16949 และมาตรฐานอื่น ๆ ทั้งมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ คือ ISO 9001 หรือมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001 อยูแลว สําหรับ supplier รายใหมหากไดรับการรับรอง ISO/TS 16949 ก็นับเปนการรับรองคุณภาพและทําใหมีโอกาสไดรับคัดเลือกเพิ่มมากขึ้น

4. จํานวนผูไดรบัการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในประเทศไทย

ปจจุบันบริษัทผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไดจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการตาง ๆ ไดแก QS 9000, ISO 9001, ISO 14001 และ ISO/TS 16949 โดยมีจํานวนผูไดรับการรับรองที่แจงมายังสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.)3 และที่อางอิงไวในรายงานผลการศึกษา เรื่อง ศักยภาพและขีดความสามารถดานการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน เดือนมีนาคม 2549, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดังตารางที่ 3.2

ตารางที่ 3.2 จํานวนผูไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ จํานวนบริษทัผูผลิต

ชิ้นสวนทั้งหมด บริษทัทีไ่ดรับ

ISO 9001 บริษทัทีไ่ดรับ

QS 9000 บริษทัทีไ่ดรับ

ISO 14001 บริษทัทีไ่ดรับ ISO/TS 16949

Direct Supp. 700 200 125 25 Indirect Supp. 1,000 80 25 -

29

รวม 1,700 280 150 25 29 รอยละ 100 16.5 8.8 1.5 1.7

หมายเหตุ 1. มีบางบริษัทไมไดขอการรบัรอง ISO 9000 แตไดยกระดับขอการรับรองเปน QS 9000 เนื่องจากเปนขอกําหนดของลกูคาที่เปนบริษัทผูผลิตยานยนต

3 www.tisi.go.th (เว็บไซตสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม)

Page 35: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 8Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2. จํานวนผูไดรับการรับรองมาตรฐาน QS 9000, ISO 9001 และ ISO 14001 เปนขอมลู ณ เดือนมกราคม 2545, มาตรฐาน ISO/TS 16949 เปนขอมูล ณ เดือนสิงหาคม 2549

อยางไรก็ดี จากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ พบวา ปจจุบันมีจํานวนผูผลิตชิ้นสวนยานยนตที่ไดรับการรับรองมาตรฐานต า ง ๆ แล ว มากกว าที่ ร ายงานไว ในฐานขอ มูลของสํ านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมอยูมาก โดยเฉพาะจํานวนผูไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ซึ่งอาจเปนเพราะดําเนินการรับรองโดยใชผูตรวจประเมินจากตางประเทศ และไมไดแจงใหสํานักงานฯ ทราบ โดยผูผลิตชิ้นสวนที่มีการสงมอบโดยตรงใหกับบริษัทผูประกอบรถยนตแตละรายนั้น ไดรับมาตรฐาน ISO/TS 16949 แลวเปนสวนใหญ และที่เหลือนั้นเกือบทั้งหมดไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการแลวอยางนอย 1 ระบบ ซึ่งไดแก ISO 9001 QS 9000 หรือ ISO 14000

ตารางที่ 3.3 จํานวนผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบใหผูผลิตยานยนตรายใหญ ที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949

GM Daimler Chrysler

Toyota Honda

จํานวนผูผลิตชิ้นสวนทั้งหมดใน Approved Vendor List

94 14 139 178

จํานวนผูผลิตชิ้นสวนที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949

90 9 96 19

คิดเปนรอยละ 95.7 64.3 69.1 10.7

ที่มา : การสัมภาษณ, ขอมูล ณ พฤศจิกายน 2549

5. คาใชจายในการขอการรบัรองมาตรฐาน ISO/TS 16949

จากการสัมภาษณหนวยรับรอง และผูผลิตชิ้นสวนยานยนตที่เคยขอการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 พบวา คาใชจายในการตรวจประเมินตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002 เฉลี่ยประมาณ 25,000 บาท/Manday4 (รวมคาตรวจประเมิน + คาเดินทาง + คาที่พัก) โดยมีคาตรวจประเมินเพื่อใหไดการรับรอง (คาตรวจประเมินเบื้องตน + คาตรวจประเมินเพื่อการรับรอง + คาใบรับรอง) ประมาณ 200,000 – 300,000 บาท ซึ่งใบรับรองจะมีอายุ 3 ป และเมื่อไดรับการรับรองแลว จะตองตรวจประเมินเพื่อติดตามการรักษาระบบ (Surveillance Audit) ทุก ๆ 9 เดือน ประมาณปละ 150,000 – 225,000 บาท และเมื่อครบ 3 ป ตองรับการตรวจประเมินใหม (Reassessment) เพื่อตออายุใบรับรอง รายละเอียดดังตารางที่ 3.4

4 1 Manday = การตรวจประเมินโดยผูตรวจประเมิน 1 คน ใชเวลา 1 วัน ทั้งน้ี การคํานวณจํานวน Manday ข้ึนกับจํานวนพนักงานในบริษัทที่ขอการรับรอง และประเภทของการตรวจประเมิน (เพื่อการรับรอง เพื่อติดตามผลการรักษาระบบ หรือการตรวจประเมินใหม)

Page 36: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 9Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ตารางที่ 3.4 ประมาณการคาใชจายในการตรวจประเมินตามมาตรฐาน ISO/TS 16949:2002

ประเภทการตรวจประเมิน คาใชจายสําหรบับุคลากร ประมาณ 50 คน

คาใชจายสําหรบับุคลากร ประมาณ 100 คน

คาใชจายสําหรบับุคลากร ประมาณ 200 คน

ปที่ 1 200,000 250,000 300,000 - การตรวจประเมินเบือ้งตน (Pre-audit)*

2 MD X 25,000 = 50,000* 2 MD X 25,000 = 50,000* 2 MD X 25,000 = 50,000*

- การตรวจประเมินเพ่ือการรับรอง (On-site Audit)

5 MD X 25,000 = 125,000 7 MD X 25,000 = 175,000 9 MD X 25,000 = 225,000

- คาใบรับรอง (Certificate) (มีอายุ 3 ป)

25,000 25,000 25,000

ปที่ 2 – 3 150,000 225,000 225,000 - การตรวจติดตามการรักษาระบบ5 ครั้งที่ 1 (Surveillance Audit)

2 MD X 25,000 = 50,000 3 MD X 25,000 = 75,000 3 MD X 25,000 = 75,000

- การตรวจติดตามการรักษาระบบ ครั้งที่ 2

2 MD X 25,000 = 50,000 3 MD X 25,000 = 75,000 3 MD X 25,000 = 75,000

- การตรวจติดตามการรักษาระบบ ครั้งที่ 3

2 MD X 25,000 = 50,000 3 MD X 25,000 = 75,000 3 MD X 25,000 = 75,000

ปที่ 4 125,000 150,000 175,000 - การตรวจประเมินใหม (Reassessment)

4 MD X 25,000 = 100,000 5 MD X 25,000 = 125,000 6 MD X 25,000 = 150,000

- คาใบรับรอง (Certificate) มีอายุ 3 ป

25,000 25,000 25,000

* ไมบังคับ

6. ประโยชนที่ไดรับจากการจัดทําและไดรับการรบัรองมาตรฐาน ISO/TS 16949

มาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น เปนมาตรฐานที่จัดทําขึ้นมาเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนตโดยเฉพาะ โดยกลุมองคกรความรวมมือดานอุตสาหกรรมยานยนตจากประเทศตาง ๆ ไดรวมกันพัฒนามาตรฐานนี้มาจากมาตรฐาน ISO 9001 และ QS 9000 ดังนั้น มาตรฐานนี้จึงเปนมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับจากบริษัทผูผลิตรถยนตรายใหญทั่วโลก และกลายเปนเงื่อนไขสําคัญในการสงมอบชิ้นสวน ยานยนตใหกับบริษัทรถยนตรายใหญทั่วโลก ถึงแมวากลุมผูผลิตรถยนตญี่ปุนหลายรายจะยังไมไดมีการบังคับใชกับผูผลิตชิ้นสวนของตนก็ตาม ดังนั้น การที่ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยจะสามารถไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 จึงเทากับเปนการรับรองคุณภาพในการผลิตของตนวาสามารถผลิตไดตามขอกําหนดของลูกคา (ผูผลิตรถยนต) และสามารถสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตทุกคายได โดย

5 ตรวจประเมินทุก ๆ 9 เดือน

Page 37: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 10Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ไมจําเปนตองขอรับการรับรองหลาย ๆ ระบบ ซึ่งจะทําใหลดความซ้ําซอน ลดคาใชจายในการขอรับการรับรองมาตรฐาน และทําใหสามารถบริหารจัดการเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานอยูเสมอไดงายขึ้น และเปนการยกระดับการผลิตไปสูสากล เพื่อสรางความพรอมในการรับกับการจัดหาชิ้นสวนจากฐานการผลิตรถยนตจากประเทศตาง ๆ ดวย ซึ่งจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ ทั้งหนวยงานภาครัฐ บริษัทผูผลิตรถยนต และผูผลิตชิ้นสวนที่ไดจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 แลว สามารถสรุปประโยชนที่ไดรับในการจัดทําและไดรับการรับรองระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดดังตอไปนี้

1) การที่ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยจะสามารถไดรับการรับรองระบบฯ ตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 นับเปนการรับรองคุณภาพในการผลิตของตนวาสามารถผลิตไดตามขอกําหนดของลูกคา (ผูผลิตรถยนต) และสามารถสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตทุกคายได โดยไมจําเปนตองขอรับการรับรองหลายๆ ระบบ ซึ่งจะทําใหลดความซ้ําซอน ลดคาใชจายในการขอรับการรับรองหลายมาตรฐาน และทําใหสามารถบริหารจัดการเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานอยูเสมอไดงายขึ้น และสามารถประยุกตระบบการจัดการใหเปนไปตามความตองการ (Requirement) ของผูผลิตรถยนตแตละคายไดโดยไมยาก

2) การจัดทําระบบมาตรฐานดังกลาว นับเปนการยกระดับการผลิตไปสูสากล เพื่อสรางความพรอมในการรับกับการจัดหาชิ้นสวนจากฐานการผลิตรถยนตจากประเทศตาง ๆ ดวย เพราะเปนการสรางความมั่นใจสําหรับการคนหาชิ้นสวนจากทั่วโลกวาไดมาตรฐานเดียวกัน และจากการที่มีระบบคุณภาพเดียวกัน ชวยใหเกิดการพัฒนาและสรางความเหนียวแนนในหวงโซอุปทาน Supplier/ Sub-contractor

3) การไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 จะเปนใบเบิกทางที่ดีในการติดตอเพื่อเปน supplier ใหกับลูกคารายใหมทั้งในและตางประเทศ และสําหรับ supplier ที่มีลูกคาในหลายกลุมหรือในหลากหลายประเทศ การใช ISO/TS 16949 อาจจะทําใหนําเสนอไดดีกวาและตรวจสอบเพียงครั้งเดียว แตไดความพอใจในระบบคุณภาพที่ตองการของลูกคาแตละแหง

4) เปนการสรางความมั่นใจในเรื่องคุณภาพของชิ้นสวนที่สงมอบใหกับลูกคา เนื่องจากเปนการควบคุมใหเปนไปตามขอกําหนดของลูกคา ต้ังแตเริ่มกระบวนการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑและกระบวนการ จนถึงขั้นการอนุมัติรับรองชิ้นสวน และตลอดชวงเวลาการผลิตจริง (Mass Production) นอกจากนี้ มาตรฐาน ISO/TS 16949 ยังเปนพื้นฐานในการพัฒนาและปรับปรุงอยางตอเนื่องดวย (Continual Improvement)

5) การจัดทํามาตรฐานดังกลาว ทําใหผูผลิตชิ้นสวนมีความใกลชิดกับลูกคามากขึ้น จากการตองสื่อสารกันอยางใกลชิดทั้งในดานการออกแบบ ดานการรักษาคุณภาพหรือทําใหเปนไปตามขอกําหนดที่ลูกคาตองการ การติดตามผลและพัฒนาอยางตอเนื่อง ทําใหผูสงมอบชิ้นสวนสามารถดําเนินกิจกรรมตาง ๆ รวมกับลูกคาได บนความเขาใจเดียวกัน โดยมาตรฐานนี้นับเปนภาษากลางที่ทําใหทั้งลูกคาและผูผลิตชิ้นสวนไดเขาใจความตองการดานคุณภาพกันมากขึ้น

Page 38: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

3 - 11Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

6) เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต จากการปฏิบัติตามขอกําหนดที่ชวยในการบริหารงานใหดีขึ้น กระบวนการติดตามผล การเนนคุณภาพผลิตภัณฑที่สงมอบใหลูกคา และกระบวนการในการควบคุมคุณภาพ สามารถสงงานไดตามเวลาที่กําหนด (Delivery on Time)

7) การไดรับการรับรองมาตรฐานดังกลาว ทําใหสามารถลดขั้นตอนการตรวจประเมิน (Audit) ในโรงงานโดยลูกคา

Page 39: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บทที่ 4

ความพรอมของผูมีสวนเกี่ยวของ กับการจัดทําระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

1. ความพรอมของหนวยรับรอง (Certification Bodies)

หนวยรับรอง (Certification Body : CB) ที่ขึ้นทะเบียนกับ International Automotive Task Force (IATF) ในการรับรองผูผลิตชิ้นสวนตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในปจจุบัน มีทั้งหมด 56 ราย (ขอมูล ณ มกราคม 2549) ซึ่งสวนใหญเปนหนวยงานที่อยูในสหรัฐอเมริกา และยุโรป โดยมีบริษัทที่อยูในประเทศจีน มาเลเซีย สิงคโปร ออสเตรเลีย แหงละ 1 ราย และเกาหลีใต 2 ราย

จากฐานขอมูลของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) พบวา ในปจจุบันมีหนวยงานฝกอบรม 36 ราย หนวยรับรอง (CB) และฝกอบรมประมาณ 14 ราย ซึ่งหนวยรับรองทั้งหมดมีบริษัทแมอยูในตางประเทศ และหนวยรับรองบางหนวยยังไมมีผูตรวจประเมินซึ่งเปนพนักงานประจํา ดังนั้นจึงมีการจางผูตรวจประเมินภายนอกในการตรวจมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทั้งนี้ เนื่องจาก IATF ไดกําหนดเกณฑคุณสมบัติผูตรวจประเมินไวคอนขางสูง ซึ่งการพัฒนาผูตรวจประเมินมีขั้นตอนและคาใชจายในการฝกอบรมและการสอบคอนขางสูง โดยหนวยงานที่มีผูนิยมใชบริการ ไดแก TUV, BVQI และ SGS ซึ่งเปนหนวยรับรองที่มีประสบการณมากและเปนที่ยอมรับในกลุมอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน ในสวนของ CB รายเล็กนั้น ใหความเห็นวา ปจจุบันจะเนนลูกคาในมาตรฐานอื่น เชน ISO 9001 มากกวาที่จะแขงขันกับ CB รายใหญในการตรวจรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ที่ตลาดขนาดเล็กกวา และตองมีการลงทุนในการสรางผูตรวจประเมิน (Auditor) ดวย ซึ่งการพัฒนาผูตรวจประเมินมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทําไดคอนขางยาก จึงตองคอย ๆ พัฒนา ซึ่งมีขั้นตอนตาง ๆ ดังจะไดกลาวตอไป

อยางไรก็ดี ผูมีสวนเกี่ยวของในภาครัฐเห็นวา CB ที่มีอยูในปจจุบันนั้น เพียงพอที่จะรองรับความตองการในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ได เนื่องจากจํานวนผูผลิตชิ้นสวนที่ตองการขอการรับรองยังมีไมมากนักเมื่อเทียบกับจํานวนผูตรวจประเมินจึงยังเพียงพอตอการใหบริการ

Page 40: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรายชื่อผูใหบริการดานมาตรฐาน ISO/TS 16949

ประเภทของการใหบริการ

จํานวนผูใหบริการ (ราย)

หมายเหตุ

ฝกอบรม 36 รายชื่อตามภาคผนวก ง ปรึกษาแนะนํา 27 รายชื่อตามภาคผนวก ง หนวยรับรอง 14 1. AFAQ AFNOR Certification : AAC 2. ABS Quality Evaluations, Inc. : ABS-QE 3. British Standards Institution : BSI 4. Det Norske Veritas Certification : DNV 5. Intertek Systems Certification :ISC 6. Japan Quality Assurance Organization : JQA

7. Lloyds Register Quality Assurance : LRQA 8. Moody International Certification GmbH : 9. National Quality Assurance, Ltd. : NQA 10. TUEV Rheinland Industrie Service GmbH : TIS 11. TUEV SUED Management Service 12. TUEV Nord Cert GmbH (formerlyTUEV Nord

2. ความพรอมของที่ปรกึษา (Consultants) และผูตรวจประเมิน (Auditors)

จากฐานขอมูล สมอ. มีผูใหบริการปรึกษาแนะนําและฝกอบรมประมาณ 27 ราย ซึ่งเปนจํานวนมากพอสมควร แตจากการสํารวจขอมูลในกลุมผูผลิตชิ้นสวน พบวา ผูผลิตมักเลือกใชบริการที่ปรึกษา (รวมทั้งผูตรวจประเมิน) ที่เคยติดตอหรือทํางานรวมกันมากอนในการจัดทํามาตรฐานระบบอื่น ๆ เชน ISO 9001 หรือ QS 9000 มากกวาที่จะเลือกใชบริการของที่ปรึกษารายใหม ๆ เพราะสามารถเชื่อมั่นในความรูความชํานาญของที่ปรึกษาที่เคยมีประสบการณรวมกันมากอนไดมากกวา ดานความเชี่ยวชาญของที่ปรึกษายังนับวามีผูเชียวชาญคอนขางจํากัดดวย

สําหรับในดานผูตรวจประเมิน ในกลุมบริษัทที่สามารถเปนหนวยตรวจรับรองมาตรฐานตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น มีเพียงไมกี่รายที่มีผูตรวจประเมินเปนพนักงานประจําของตนเอง เนื่องจากการพัฒนาผูตรวจประเมินนั้น ตองใชระยะเวลาและคาใชจายคอนขางสูง และตลาดที่คอนขางจํากัด ดังนั้น หนวยตรวจรับรองมาตรฐานรายเล็กจึงมีแผนการพัฒนาผูตรวจประเมินจํานวนเพียง 1-2 รายก็เพียงพอ หรือในบางรายอาจไมเห็นความจําเปนในการที่ตองมีผูตรวจประเมินของตนเองดวย โดยการพัฒนาผูตรวจประเมินมีขั้นตอนโดยสรุป ดังนี้

Page 41: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2.1 คุณสมบัติผูตรวจประเมิน ISO/TS 16949:2002 ตองมปีระสบการณดานการทํางาน และการฝกอบรม ดังนี ้

2.1.1 เปนหัวหนาผูตรวจประเมินระบบ ISO 9001:2000 อยางนอย 3 ป โดยสังกัดกับหนวยรับรอง (CB) ที่ IATF ใหการรับรอง (Accredit by IATF) และตรวจประเมินในขอบขายของโรงงานอุตสาหกรรม

2.1.2 ผูตรวจประเมินในระบบ ISO/TS 16949:2002 ตองไดรับการฝกอบรมโดยไดใบรับรอง (Certification) ในเรื่อง Automotive Core Tools Knowledge ไดแก

• APQP (Advance Product Quality Planning) หรือ การวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑใหม

• FMEA (Failure Mode and Effect Analysis) หรือ การพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยงในกระบวนการคุณภาพ

• MSA (Measurement System Analysis) หรือ การวิเคราะหระบบการวัด

• SPC (Statistical Process Control) หรือ สถิติในการควบคุมกระบวนการ

2.1.3 ผูตรวจประเมินในระบบ ISO/TS 16949:2002 ตองมีประสบการณการทํางานในโรงงานอุตสาหกรรมยานยนตที่ไดมีการดําเนินการ (implement) ระบบ ISO/TS 16949 มาแลว 6 ปภายในระยะเวลา 10 ป

2.1.4 ผูตรวจประเมินตองสมัครเขารับการอบรมหลักสูตรของ IATF ISO/TS 16949:2002 เปนเวลา 10 วัน โดยผูตรวจประเมินตองสังกัด CB ที่ IATF ใหการรับรอง (Accredit by IATF) ซึ่งปจจุบันมี CB ที่ไดรับการรับรองจาก IATF อยูจํานวน 53 แหง

2.1.5 ผูตรวจประเมินตองผานการสอบ IATF ISO/TS 16949:2002 ทั้งสอบขอเขียนและสอบ Oral

2.1.6 หลังจากผูตรวจประเมินสอบผานแลวตองมีการตรวจประเมิน ISO/TS 16949 อยางนอย 3 ครั้งตอป และ 6 วันตรวจประเมินตอป (6 manday/year)

Page 42: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

3. ความพรอมของผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทย

3.1 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง (Direct Suppliers)

จากการสัมภาษณผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง 4 ราย พบวา ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรง โดยเฉพาะกลุมที่สงใหกับบริษัทผูผลิตรถยนตคายอเมริกาหรือยุโรปนั้น ไดมีการเตรียมตัวในการจัดทํามาตรฐานระบบ ISO/TS 16949 มาระยะหนึ่งแลว ทั้งดานความรู อุปกรณ และเครื่องมือ รวมทั้งไดจัดทําและไดรับการรับรองมาตรฐานแลวเปนสวนใหญดวย เนื่องจากเขาใจในความจําเปนและมองเห็นประโยชนที่จะไดรับในการจัดทํามาตรฐานดังกลาว และโดยที่ผูผลิตชิ้นสวนในกลุมนี้ สวนใหญมีพื้นฐานที่ไดรับการรับรองมาตรฐานคุณภาพระบบการจัดการอื่นอยูกอนบางแลว เชน ISO 9001 QS 9000 หรืออื่นๆ ดังนั้น การจัดการเพื่อใหไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 จึงสามารถดําเนินการไดไมยากนัก และในบางรายไดจัดทําทั้งสองระบบไปพรอมกัน คือ ทั้ง ISO 9001 และ ISO/TS 16949 ดวย

ดานทัศนคติในการจัดทําระบบมาตรฐาน การจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น ทําใหผูผลิตชิ้นสวนมีคาใชจายที่คอนขางสูง ทั้งในสวนที่ปรึกษา การฝกอบรม การจัดการระบบ การลงทุนเพิ่มในสวนของเครื่องมืออุปกรณตางๆ และคาใชจายในการตรวจรับรอง ทําใหผูผลิตสวนหนึ่งไมตองการจัดทํา บางสวนก็ตองจัดทําเพราะความจําเปนเนื่องจากเปนขอกําหนดของลูกคา และบางสวนไดดําเนินการจัดทําและไดรับการรับรองในมาตรฐานนี้เนื่องจากเห็นประโยชนและความสําคัญในการจัดทํามาตรฐานดังกลาว ถึงแมวาลูกคาของตนจะไมไดกําหนดใหทําก็ตาม ซึ่งมุมมองหรือทัศนคติในการจัดทําระบบมาตรฐานการจัดการที่แตกตางกันนี้ อาจนําไปสูประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลที่แตกตางกันได

ดานความรูของบุคลากร และความเพียงพอของอุปกรณ เครื่องมือ กลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงนั้น จําเปนตองมีความพรอมและมีขีดความสามารถในการผลิตชิ้นสวนที่ไดคุณภาพมาตรฐานอยางสม่ําเสมอ เปนไปตามขอกําหนดของลูกคาแตละราย ดังนั้น ในกระบวนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ จึงตองมีความพรอมทั้งทางดานบุคลากร เครื่องมือวัดตางๆ และทีมงานดานคุณภาพ ซึ่งในกลุมของ 1st tier หรือผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงนั้น สวนใหญมีศักยภาพในดานตางๆ เหลานี้อยูแลว โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมที่ผลิตเพื่อการสงออกที่ตองรักษาคุณภาพการผลิตใหอยูในระดับที่เชื่อถือไดอยูเสมอ สําหรับในสวนเครื่องมือวัด หรือกระบวนการตรวจสอบนั้น จากการสัมภาษณ พบวา บางสวนตองมีการลงทุนจัดหาเพิ่มเติม แตบางรายสามารถใชหองทดสอบของหนวยงานอื่น ๆ ไดเพียงพอตอความตองการ

ดานการสงเสริมจากบริษัทแมฯ กลุมผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางตรงนี้ สวนใหญจะเปนบริษัทในเครือของคายผูผลิตรถยนต หรือบริษัทรวมลงทุนกับตางชาติ หรือบริษัทที่ไดรับความชวยเหลือทางดานเทคโนโลยีจากบริษัทผูผลิตรถยนต ดังนั้น การจัดทํามาตรฐานตาง ๆ จึงมีสวนไดรับ

Page 43: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 5Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ความชวยเหลือหรือการสนับสนุนจากบริษัทแม หรือบริษัทในเครือ ทั้งการสนับสนุนดานที่ปรึกษา การใหการฝกอบรมดานมาตรฐาน การใหคําปรึกษาแนะนําดานคุณภาพหรือการออกแบบ หรือการสนับสนุนดานอื่น ๆ นอกจากนี้ ในการสื่อสารระหวางกันเพื่อจัดทํามาตรฐานใหไดตามขอกําหนดของลูกคา ยังเปนไปไดอยางใกลชิด เพราะมีความสัมพันธกันอยางดีอยูแลว

3.2 ผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออม (Indirect Suppliers)

สําหรับผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรง หรือ 1st tier ที่ไดจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 แลว บางสวนจะกําหนดให supplier ของตน หรือผูผลิตในกลุม 2nd tier ตองจัดทํามาตรฐานดวย จึงจะสงมอบของใหตนได ทั้งนี้ เนื่องจากตามขอกําหนดของมาตรฐานนั้น องคกรที่จัดทํามาตรฐาน ตองรับผิดชอบในคุณภาพของของที่จัดหามาจากภายนอกองคกรดวย ซึ่งผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออมนั้น จําเปนตองเลือกที่จะไดรับโอกาสในการจัดสงสินคาใหกับลูกคาที่กําหนดใหตองไดรับการรับรองมาตรฐานนี้ได แตตองมีการลงทุนเพิ่มในขั้นตอนหรือกระบวนการจัดทําระบบมาตรฐาน หรือเลือกที่จะสงมอบสินคาใหเฉพาะกับกลุมที่ไมไดกําหนดใหตองไดรับการรับรองมาตรฐานดังกลาว ซึ่งในระยะสั้นนั้น ผูผลิตชิ้นสวนในกลุมนี้ อาจจะยังสามารถเลือกที่จะไมจัดทํามาตรฐานนี้ไดโดยไมไดรับผลกระทบมากนัก แตในระยะยาว ยอมขึ้นอยูกับการยอมรับและนโยบายการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในกลุมผูผลิตรถยนตแตละบริษัท (ทั้งที่ดําเนินกิจการในปจจุบันและที่จะมีเขามาลงทุนเพิ่มเติมในประเทศไทยดวย) และนโยบายหรือขอกําหนดจากผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงซึ่งเปนลูกคาของผูผลิตในกลุมนี้ดวย

อยางไรก็ดี กลุมผูผลิตชิ้นสวนสงมอบทางออมนั้น กลุมหนึ่งคือเปนผูผลิตที่เปนบริษัทไทย หรือเปนบริษัทขนาดเล็กที่สงชิ้นสวนยอยใหกับผูผลิตชิ้นสวนรายใหญ โดยอาจมีพื้นฐานจากการไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001 มาบาง และยังอาจมีความพรอมในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ไมมากนัก โดยเฉพาะการขาดทรัพยากรบุคคลที่มีความรูและสามารถเขาใจในมาตรฐานไดเปนอยางดี แตในอีกกลุมหนึ่ง ที่ถึงแมจะเปนผูสงมอบชิ้นสวนทางออม แตก็เปนผูผลิตรายใหญ หรือเปนบริษัทรวมทุนกับตางชาติ ผลิตเพื่อการสงออก หรือเปนผูสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรง (1st tier) รายใหญในตางประเทศ ซึ่งในกลุมนี้ จะมีความพรอมในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 เพราะมีการวางระบบในองคกรที่ดีอยูแลว มีความพรอมในดานบุคลากร งบประมาณ เครื่องมือทดสอบตาง ๆ และการไดรับการสนับสนุนดานเทคโนโลยีหรือการไดรับการปรึกษาแนะนํา และมีหลายรายที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแลวต้ังแตที่มีการกําหนดใชมาตรฐานในระยะแรกดวย

3.3 ประสบการณและความเห็นในการจัดทาํระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

จากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทั้งกลุมบริษัทผูผลิตรถยนต ผูผลิตชิ้นสวนตาง ๆ ที่ปรึกษา และผูตรวจประเมิน ตลอดจนการศึกษาจาก

Page 44: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 6Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

เอกสารเว็บไซตที่เกี่ยวของ สามารถสรุปขอเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 โดยแบงตามขั้นตอนไดดังตอไปนี้

3.1.1 การเตรียมความพรอมกอนรับการตรวจประเมิน

ในการเตรียมความพรอมสําหรับผูผลิตชิ้นสวนการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16946 นั้น บริษัทที่ปรึกษาที่มีประสบการณในการใหคําปรึกษาแนะนํามาต้ังแตเริ่มตนประกาศใชมาตรฐาน ไดใหคําแนะนําและแนวทางในการที่จะสรางความพรอมไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนแนวทางที่มีไดมีการนําไปปฏิบัติในหลายบริษัท ดังนี้ คือ

ขั้นที่ 1 การใหการฝกอบรมสําหรับพนักงานทั้งหมด เพื่อใหรับทราบและเขาใจในความสําคัญของการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949

ขั้นที่ 2 จัดทําเอกสารตามที่กําหนดไวตามมาตรฐาน

ขั้นที่ 3 ทบทวนเอกสารตางๆ โดย TS Lead Auditor เพื่อใหมั่นใจวา เอกสารตาง ๆ ที่ไดจัดทํานั้น ครอบคลุมขอกําหนดของลูกคา ขอกําหนดของมาตรฐาน และ Automotive Core Tools ทั้งหมด

ขั้นที่ 4 จัดฝกอบรมผูตรวจประเมินภายใน (Internal Auditors) โดย TS Lead Auditors ในเรื่องกระบวนการในการตรวจประเมิน และฝกอบรมพนักงานที่สําคัญ (Key Employees) ในสวนของ Core Tools (APQP, PPAP, FMEAs, MSA, SPC และ Control Plans)

ขั้นที่ 5 จัดใหมีการฝกอบรมพนักงานทั้งหมดในขั้นตอนและกระบวนการและขอกําหนดเฉพาะของลูกคา กอนที่จะเริ่มกระบวนการ Implementation โดยใชเวลาในขั้นตอนการเริ่ม Implement นี้ ประมาณ 4 เดือน กอนที่จะไปสูขั้นตอนตอไป

ขั้นที่ 6 จัดจางที่ปรึกษาที่มีความรูและเชี่ยวชาญในเรื่องการตรวจประเมินตามมาตรฐาน TS เพื่อใหลองดําเนินการตรวจประเมินเบื้องตนกอน เพื่อใหทราบถึงปญหา ความพรอม หรือขอขัดของในกระบวนการทั้งหมด

ขั้นที่ 7 หลังจากการทดลองตรวจประเมินเบื้องตนแลว ใหทําการระบุปญหา อุปสรรคตาง ๆ สิ่งที่ยังไมเปนไปตามขอกําหนด รวมทั้งการปรับปรุงเอกสาร แลวจึงดําเนินการจัดสงเอกสารสงใหผูตรวจประเมิน (TS Registrar) และนัดตรวจสอบความพรอม โดยใชเอกสารการประเมินความพรอมที่แนบทายมาตรฐาน (TS Guidance) ดวย

Page 45: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 7Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ขั้นที่ 8 จัดใหมีที่ปรึกษาในการปรับปรุงกระบวนการ หรือเอกสารตาง ๆ หลังจากมีการประเมินความพรอมแลว

ขั้นที่ 9 Coaching พนักงานทั้งหมดกอนการตรวจประเมิน

ขั้นที่ 10 ISO/TS 16949 certification Audit

3.1.2 ปจจัยความสําเร็จในการจดัทํามาตรฐาน ISO/TS 16949

กลุมผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ทั้งที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแลว และที่อยูระหวางการรับรอง มีความเห็นที่ใกลเคียงกันในเรื่องลําดับความสําคัญของปจจัยตาง ๆ ที่สําคัญในการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดแก

1) การสนับสนุนจากผูบริหาร นับไดวาเปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญที่สุด เนื่องจากในการจัดการระบบในองคกรเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวนั้น ตองอาศัยทรัพยากรและเวลาคอนขางมาก ทั้งในขั้นตอนเตรียมการเบื้องตนและขั้นตอนในการตรวจประเมิน รวมทั้งการรักษาคุณภาพและใหมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ดังนั้น ความมุงมั่นและการสนับสนุนของผูบริหาร จึงเปนพื้นฐานสําคัญที่จะทําใหการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการประสบความสําเร็จได

2) ความพรอมของบุคลากร ในการจัดทําระบบมาตรฐานนั้น บุคลากรมีสวนสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จ ทั้งความพรอมหรือความรูของบุคลากรที่เปนทีมงานคุณภาพและวิศวกรหรือชางผูชํานาญการที่จะตองเปนผูที่ดําเนินงานตามที่มาตรฐานกําหนดไว รวมถึงความรวมมือหรือการมีสวนรวมของพนักงานทุกระดับ ในการที่จะรักษาระดับมาตรฐานการดําเนินงาน และสามารถพัฒนาคุณภาพหรือประสิทธิภาพไดอยางตอเนื่องดวย

3) ความพรอมของอุปกรณ/เครื่องมือตางๆ โดยที่มาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดมีขอกําหนดในเรื่องเครื่องมือตรวจสอบตาง ๆ ไวดวย ดังนั้น ความพรอมของอุปกรณ/เครื่องมือตาง ๆ หรือความสามารถในการจัดหาหรือบริหารจัดการดานนี้ จึงเปนปจจัยสนับสนุนที่ทําใหการจัดทําระบบมาตรฐานประสบผลสําเร็จได

4) ความเพียงพอของงบประมาณ จากเสียงสะทอนของผูที่ไดดําเนินการจัดทํามาตรฐานนี้ พบวา มีคาใชจายที่จําเปนคอนขางสูงกวามาตรฐานอื่นๆ ไดแก คาใชจายในดานที่ปรึกษา ดานการตรวจประเมิน ดานการจัดหาเครื่องมือ/อุปกรณตาง ๆ เพิ่มเติม ซึ่งการเตรียมการดานงบประมาณใหเพียงพอ จึงนับเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ผูประกอบการตาง ๆ ใหความสําคัญ

Page 46: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 8Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

3.1.3 ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดําเนินการ

ในการสอบถามความคิดเห็นในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ของกลุมผูผลิตชิ้นสวนตาง ๆ นั้น บางสวนเห็นวา สามารถจัดทําไดไมยากนัก มีความใกลเคียงกับการจัดทํามาตรฐานอื่นที่เคยดําเนินการมาแลว แตบางรายก็เห็นวา มีความแตกตางกับมาตรฐานอื่นคอนขางมาก มีความยุงยากในการจัดทํามากกวา เนื่องจากมีขอกําหนดและความละเอียดเพิ่มขึ้น การทํามาตรฐาน ISO 9001 นั้น เปนเพียงแคพื้นฐานบางสวนเทานั้น ดังนั้น อาจสรุปไดในเบื้องตนวา ความยากงายในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น ขึ้นกับประสบการณในการจัดทําระบบมาตรฐานอื่นที่ผานมา และปจจัยสนับสนุนตาง ๆ ที่ไดรับ

1) ดานงบประมาณ/คาใชจายในการจัดทําระบบ ผูผลิตชิ้นสวนหลายรายใหความเห็นในแนวเดียวกันวา การจัดทํามาตรฐานนี้ ใชงบประมาณมากกวาการจัดทํามาตรฐานอื่น เนื่องจากคาใชจายการตรวจประเมิน (การตรวจเพื่อขอรับรองและการตรวจติดตามผล) สูงกวาระบบอื่น ประมาณ 2-3 เทา (ดูประมาณการคาใชจายในการตรวจประเมินในตารางที่ 3.4 หนา 3-9) แตคาใชจายดานที่ปรึกษาแนะนํา จะไมแตกตางจากระบบอื่นมากนัก

2) ดานบุคลากร ปญหาหรืออุปสรรคสําคัญประการหนึ่ง ที่ไดรับการสะทอนจากกลุมบริษัทผูผลิตชิ้นสวนตาง ๆ คือการจัดการดานบุคลากร การฝกอบรมหรือทําความเขาใจในขอกําหนดของมาตรฐานตางๆ การกระจายความรูสูบุคลากรระดับตาง ๆ การขาดบุคลากรในระดับวิศวกรที่จะทําความเขาใจกับมาตรฐานและสามารถจัดทําระบบมาตรฐานได หรือการที่บุคลากรตองฝกอบรมไปพรอมกับการทํางานประจํา ทําใหไมมีเวลาเพียงพอ

3) ดานอุปกรณ/เครื่องมือตาง ๆ ในการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น มีขอกําหนดที่ตองดําเนินการในสวนของหองทดสอบหรือเครื่องมือทดสอบ ตาง ๆ ดวย ซึ่งในบางรายตองมีการลงทุนเพิ่มเติมคอนขางสูงในการจัดหาเครื่องมืออุปกรณตางๆ แตในบางรายซึ่งไมมีงบประมาณในการลงทุนจัดซื้อเครื่องมือตางๆ จะใชบริการเครื่องมือในหองทดสอบของหนวยงานอื่น ๆ แทน ซึ่งจะมีคาใชจายที่ไมแพงมากนัก และมีหองทดสอบของรัฐที่เพียงพอตอความตองการ

4) ดานการดําเนินการเพื่อรักษาคุณภาพมาตรฐาน การควบคุมกระบวนการเพื่อใหพัฒนาอยางตอเนื่อง ทําไดยาก เนื่องจากการผลิตเปน Mass Production

Page 47: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 9Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

4. ความพรอมของหนวยงานสนับสนุน

4.1 หนวยงานภาครัฐ

จากแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนตไทย 2549-2553 ไดมีการกําหนดวิสัยทัศน “ประเทศไทยเปนฐานการผลิตยานยนตในเอเชีย สามารถสรางมูลคาเพิ่มในประเทศไทย โดยมีอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตที่มีความแข็งแกรง” และกําหนดยุทธศาสตรรองรับคือ 1) สรางสภาวะแวดลอมที่ดีในการดําเนินธุรกิจ และ 2) พัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของผูผลิตชิ้นสวนยานยนต และกําหนดเปาหมาย ป 2553 คือ

4.1.1 ผลิตรถยนต 2 ลานคันตอป และสงออกมากกวารอยละ 50 ตอป มูลคาการผลิตมากกวา 1 ลานลานบาท

4.1.2 ผลิตรถจักรยานยนต 4 ลานคันตอป สงออกมากกวา 2 ลานคันตอป มีมูลคาการผลิตมากกวา 1 แสนลานบาท

4.1.3 ประเทศไทยจะผลิตชิ้นสวนและอะไหลยานยนต REM และ OEM ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เปนที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีมูลคาการสงออกมากกวา 4 แสนลานบาทตอป

4.1.4 ประเทศไทยมีความสามารถในการผลิตยานยนตและชิ้นสวน มีการออกแบบ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑภายในประเทศ โดยมีมูลคาเพิ่มในประเทศมากกวารอยละ 70

เปาหมายที่ไดกลาวถึงในขางตน เมื่อเทียบกับประสิทธิภาพหรือสถานการณการผลิตและสงออกในปจจุบัน นับไดวาเปนเปาหมายที่ทาทายสําหรับผูเกี่ยวของในอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนในปจจุบัน และเพื่อใหบรรลุเปาหมายดังกลาวขางตน จึงไดมีการกําหนดแผนงานใน 4 ดานคือ การพัฒนาบุคลากร พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน พัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มผลิตภาพ และ การทดสอบและการประกันคุณภาพ และโดยที่การจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการหรือระบบบริหารงานคุณภาพ ISO/TS 16949 ของผูประกอบการในอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตนั้น ก็จําเปนตองอาศัยปจจัยทั้งการพัฒนาบุคลากร และพัฒนาระบบการบริหารจัดการ การตรวจสอบและการประกันคุณภาพเชนกัน ดังนั้น แผนงานโครงการหรือกิจกรรมตาง ๆ ของหนวยงานภาครัฐแตละแหง ตามแผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต รวมทั้งแผนปรับโครงสรางอุตสาหกรรมนั้น จึงเปนการสนับสนุนและรองรับความตองการในการจัดทําระบบมาตรฐานตาง ๆ ดวยเชนกัน และความสําเร็จในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 รวมทั้งมาตรฐานระบบอื่น ๆ นั้น ก็ถือเปนเครื่องมือในการทําใหอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนสามารถบรรลุเปาหมายในการเพิ่มศักยภาพในการผลิตและยกระดับมาตรฐานการผลิตและการจัดการเขาสูมาตรฐานสากลดวย

Page 48: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 10Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ปจจุบัน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม ไดมีการดําเนินโครงการซึ่งสนับสนุนผูประกอบการผลิตชิ้นสวนยานยนตในหลายโครงการ เชน

1) โครงการพัฒนาเครือขายวิสาหกิจ

2) โครงการบริการเงินสมทบจางที่ปรึกษาเพื่อปรับปรุงการผลิต การจัดการ และการตลาด (Consultancy Fund : CF) หรือ โครงการ CF เปนโครงการที่รัฐบาล มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหผูประกอบการอุตสาหกรรมไดมีโอกาสในการยกระดับ ปรับปรุงประสิทธิภาพ โดยใชบริการจากที่ปรึกษาที่มีความรูความชํานาญเฉพาะดานภายนอกองคกร โดยที่รัฐบาลจะใหความชวยเหลือในแงของคาใชจายในการจางที่ปรึกษาสําหรับ SMEs โดยสมทบประมาณรอยละ 50 แตไมเกิน 200,000 บาท กรณีจัดจางที่ปรึกษาดวยวิธีคัดเลือก หรือ 100,000 บาท ถาจัดจางที่ปรึกษาดวยวิธีตกลง

3) โครงการบริการสนับสนุนการจางที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรม (Training Fund : TF) หรือ โครงการ TF เปนโครงการที่มีวัตถุประสงคในการสงเสริมใหธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอมพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันขององคกร โดยใชกระบวนการฝกอบรมเปนหลัก ทั้งรูปแบบการจัดฝกอบรมในองคกร (In-house Training) ที่มุงเนนชวยผูประกอบการในการจัดฝกอบรมใหกับบุคลากรภายในองคกรเปนการเฉพาะ และรูปแบบการจัดฝกอบรมสาธารณะเพื่อบริการทั่วไป (Public Training) เปนบริการที่ใหกับหนวยงานที่จัดฝกอบรมบริการแกบุคคลทั่วไป วัตถุประสงคของความชวยเหลือในแนวทางนี้ เพื่อสงเสริมใหเกิดทั้งอุปสงคและอุปทาน เกี่ยวกับการอบรม คือ ชวยลดตนทุนในการจัดฝกอบรมของผูจัดฝกอบรม และชวยแบงเบาภาระคาใชจายในการเขารับการอบรมของผูเขารวมอบรมดวย โดยโครงการสนับสนุนคาใชจายบางสวน

4.2 สถาบันและสมาคมตาง ๆ

4.2.1 สถาบันยานยนต

สถาบันยานยนต เปนองคกรอิสระที่กอต้ังขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี โดยความรวมมือของภาครัฐและเอกชน เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2541 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนศูนยกลางในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต และเพิ่มศักยภาพทางการแขงขันในตลาดโลก โดยปจจุบันไดมีการดําเนินการและการใหบริการในดานตางๆ คือ

1) ศึกษาวิจัย เพื่อเสนอแนะแกรัฐบาลในการกําหนดนโยบาย และกลยุทธของรัฐ

Page 49: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 11Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2) ดําเนินการประสานงาน และใหคําแนะนํา แก รัฐ เอกชน องคกรในประเทศ และตางประเทศ

3) ใหบริการตรวจสอบ และทดสอบผลิตภัณฑอุตสาหกรรมดาน Standard, Performance, Safety ของผลิตภัณฑชิ้นสวน และวัสดุยานยนต

4) ใหบริการดานขอมูลขาวสารในอุตสาหกรรม และธุรกิจยานยนต

5) เปนศูนยกลางออกแบบชิ้นสวนยานยนต และขอมูลจําเพาะทางวิศวกรรมเพื่อการออกแบบยานยนต

สถาบันยานยนตนับเปนองคกรที่มีบทบาทสําคัญในการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนต และผูผลิตชิ้นสวนยานยนตในระยะการพัฒนาที่ผานมา ทั้งการพัฒนาขีดความสามารถของผูผลิตตาง ๆ โดยรวม และการรองรับการดําเนินการในดานมาตรฐานตาง ๆ ซึ่งรวมถึงในเรื่อง การสรางความพรอมในเรื่องมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทั้งทางตรงและทางออมดวย โครงการตาง ๆ ของสถาบันยานยนตที่ผานมา เชน โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการออกแบบและผลิตชิ้นสวนยานยนต (Product Development Program) การฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรในดานตาง ๆ ทั้งการฝกอบรมในสวนของสถาบันยานยนตเอง และโครงการที่ดําเนินการรวมกับกระทรวงอุตสาหกรรม ผูเชียวชาญตางๆ และบริษัทผูผลิตรถยนตรายใหญ ซึ่งแตละโครงการมีสาระสําคัญ ดังนี้

1) โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการออกแบบและผลิตชิ้นสวนยานยนต (Product Development Program) เปนโครงการภายใตแผนปรับโครงสรางอุตสาหกรรมระยะที่ 2 ที่มีเปาหมายชวยเหลือผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ใหมีความเชื่อมั่นตอการพัฒนาขีดความสามารถในการออกแบบและผลิตชิ้นสวนยานยนต โดยมุงเนนการพัฒนาเชิงวิศวกรรมและถายทอดเทคโนโลยี รวมทั้งการพัฒนาฐานขอมูลที่จําเปน เพื่อตอไปจะไดนําผลิตภัณฑเหลานี้ไปแขงขันสูตลาดโลก ทั้งนี้ ไดแบงลักษณะงานเปน 4 ประเภท คือ Product Design, Process Design, Product Design & Process Design และ การพัฒนาผลิตภัณฑและการทําตนแบบ โดยโครงการสนับสนุนคาใชจายดานที่ปรึกษา ประโยชนที่ไดรับจากโครงการคือ ผูผลิตชิ้นสวนที่เขารวมโครงการฯ จะสามารถพัฒนาศักยภาพดานการออกแบบชิ้นสวนและการผลิตใหไดตามกําหนดของลูกคาผูผลิตชิ้นสวนสามารถลดระยะเวลาและคาใชจายในการพัฒนาผลิตภัณฑ เกิดฐานขอมูลที่จําเปนในการออกแบบชิ้นสวนเพื่อนําไปสูการพัฒนาในอนาคต และบุคลากรผูรวมโครงการไดรับการพัฒนาทักษะดานการออกแบบควบคูกับการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย

Page 50: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 12Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2) โครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต (Automotive Human Resource Development Project : AHRDP) หลักสูตร Toyota Production System (TPS) โดยความรวมมือระหวางกรมสงเสริมอุตสาหกรรม สถาบัน ยานยนต และบริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ซึ่งเปนโครงการที่ใหคําปรึกษาแนะนําบุคลากรในโรงงานผลิตชิ้นสวนยานยนตและอุตสาหกรรมสนับสนุน ในการจัดทํากิจกรรม TPS ที่แตเดิมเคยใชเฉพาะกับบริษัทผูผลิตชิ้นสวนยานยนตที่เปนคูคาของโตโยตาเทานั้น โดยระบบ TPS นี้ สามารถประยุกตใชไดหลากหลาย เปนการสรางระบบการผลิตที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใหกับผูผลิตชิ้นสวนที่เขารวมโครงการได โดยใชเวลาในการทํากิจกรรมประมาณ 3-4 เดือน

3) โครงการเสริมสรางเทคโนโลยีการผลิตชิ้นสวนยานยนต (Automotive Experts Dispatching Program) เปนโครงการความรวมมือกับ Jetro และ JODC ที่ใหบริการปรึกษาแนะนําแกผูผลิตชิ้นสวนยานยนตทั้งที่เปน OEM และ REM จํานวนทั้งสิ้น 150 โรงงาน ในชวงป 2546-2548 โดยใชผูเชี่ยวชาญชาวญี่ปุนในการถายทอดความรูและประสบการณ ดวยการปฏิบัติงานจริง

4) โครงการพัฒนาระบบรับรองความสามารถบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต (Skill Certification System for Automotive Industry) โดยการกําหนดมาตรฐานรับรองความสามารถบุคลากรใหสอดคลองกับความตองการของอุตสาหกรรมยานยนต และจัดใหมีการฝกอบรมตามหลักสูตรเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานรับรองความสามารถบุคลากร

5) โครงการเครือขายที่ปรึกษาเพื่อผูผลิตชิ้นสวนยานยนต (Consultant Network for Supplier Development) เปนความรวมมือระหวางสถาบันฯ และที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณในอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตโดยตรงในการใหบริการที่ครอบคลุมทุกกระบวนการของการประกอบธุรกิจ เพื่อรองรับความตองการของผูประกอบการไดอยางแทจริง ดวยอัตราคาบริการที่เหมาะสมและยืดหยุนได

6) บริการทดสอบผลิตภัณฑ ไดแก การทดสอบผลิตภัณฑชิ้นสวนยานยนตประเภทตาง ๆ

7) การฝกอบรมดานมาตรฐาน สถาบันยานยนตไดจัดใหมีการฝกอบรมในแบบ In-house Training ใหกับบุคลากรทั้งที่เปนสมาชิกและบุคคลทั่วไปในหลักสูตรที่หลากหลาย โดยรายการหลักสูตรฝกอบรมที่เกี่ยวของกับมาตรฐาน ISO/TS

Page 51: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 13Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

16949 ที่ดําเนินการโดยสถาบันยานยนต ในชวงเดือนเมษายน – ธันวาคม 2549 (ฝกอบรม ณ ศูนยฝกอบรมสํานักพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน) ไดแก

รหัส ชื่อวิชา จํานวน

วันอบรม TAI-Q4901 INTRODUCTION & REQUIREMENT 2

TAI-Q4902 Design & Writing Document system for ISO/TS16949

2

TAI-Q4903 การวางแผนคณุภาพผลิตภัณฑและแผนควบคุม (APQP)

2

TAI-Q4904 การวิเคราะหขอขัดของดานศักยภาพและผลกระทบ (FMEA 3rd)

2

TAI-Q4905 การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ (SPC) 2 TAI-Q4906 การวิเคราะหผลการวัด ( MSA 3rd ) By mini tab 2 TAI-Q4907 กระบวนการตรวจรับรองชิ้นสวนการผลิต (PPAP) 2

ISO/TS

1694

9

TAI-Q4908 การตรวจติดตามคุณภาพภายใน ( IQA ) 2 TAI-A4901 การจัดเตรียมผลิตภัณฑใหมดวยวิธีของ Big3

( APQP+PPAP ) 1

TAI-A4902 การปรับปรุงกระบวนการดวยวิธีทางสถิติ (SQC+SPC+MSA+PCA )

2

TAI-A4903 การเตรียมความพรอมกอนการ Audit ( Pre-Assessment ) 2nd Rules IATF

1

TAI-A4904 Automotive Process Approach Audit ( การตรวจประเมิน )

2

TAI-A4905 การประเมินความสามารถของกระบวนการ ( Process Capability Analysis ; Cpk, Ppk )

1 ISO/TS

1694

9 (Ad

vanc

ed)

TAI-A4906 การออกแบบการทดลอง ( Desing of Experiment ) DOE

2

ที่มา : www.thaiauto.or.th

Page 52: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 14Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

4.2.2 สถาบันเพ่ิมผลผลิตแหงชาติ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ เปนอีกองคกรหนึ่งที่ดําเนินงานในเรื่องการฝกอบรมบุคลากรกลุมตางๆ เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจในมาตรฐาน ISO/TS 16949 ดวย หลักสูตรตางๆ ที่จําเปนสําหรับบุคลากรที่รับผิดชอบในการจัดการดานคุณภาพ ที่ สถาบันฯ ไดจัดใหมีการฝกอบรม เชน

1) หลักสูตรการวางแผนคุณภาพผลิตภัณฑและกระบวนการอนุมัติการผลิต (Advanced Product Quality Planning : APQP and Production Part Approval Process : PPAP) ระยะเวลาฝกอบรม 3 วัน

2) หลักสูตรการวิเคราะหระบบการวัด (Measuring System Analysis : MSA) ระยะเวลาฝกอบรม 2 วัน

3) หลักสูตรการใชสถิติในการควบคุมกระบวนการ (Statictical Process Control : SPC) ระยะเวลาอบรม 2 วัน

Page 53: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 15Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

4.2.3 สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย (TAPMA)

สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย ไดกอต้ังขึ้นในป 2521 เพื่อเปนศูนยรวมของนักอุตสาหกรรมดานชิ้นสวนยานยนตภายในประเทศ โดยมีนโยบายในการเปนศูนยกลางดานขอมูล ติดตามผลและใหความรวมมือกับภาครัฐในการทําโครงการศูนยทดสอบวิจัยและพัฒนาชิ้นสวนยานยนต โครงการพัฒนาบุคลากร สนับสนุนโครงการลดตนทุนการผลิตของสมาชิก และการพัฒนาระบบการจัดการ และในป 2549 มีโครงการสําคัญ คือ

1) โครงการสนับสนุนที่ปรึกษาในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 “Adoption of Quality Management Systems ISO/TS 16949 in Auto Part SMEs Phase II” เปนโครงการที่ไดรับการสนับสนุนเงินทุนจาก APEC (Asia – Pacific Economic Cooperation) ผานทางสมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย (TAPMA) เพื่อเปนคาใชจายในการจางที่ปรึกษา เพื่อจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ใหผูผลิตชิ้นสวนยานยนต (ประมาณ 21 Manday) โดยผูประกอบการออกคาใชจาย 70% (เปนจํานวนเงินประมาณ 120,000 บาท) ของทั้งหมด และโครงการสนับสนุนใหในสวนที่เหลืออีก 30% (ประมาณ 50,000 บาท) ทั้งนี้ ผูเขารวมโครงการตองเปนผูประกอบการผลิตชิ้นสวน ยานยนตที่เปนธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม และไดรับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001: 2000 แลว โดยในป 2549 มีผูผานการคัดเลือกเขารวมโครงการแลว 9 ราย

4.3 กลุมบริษทัผูผลิตรถยนต

4.3.1 โตโยตา

แมโตโยตาจะไมไดมีการบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 แตก็ยอมรับในมาตรฐานดังกลาว โดยยังตองมีการทําใหเปนไปตามขอกําหนดเฉพาะของโตโยตาเพิ่มเติมดวย และจากการที่โตโยตามีผูผลิตชิ้นสวนในกลุมจํานวนมาก และมีความสัมพันธกันมายาวนาน จึงไดมีกิจกรรมในการใหความชวยเหลือแกผูผลิตชิ้นสวนในดานการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑในรูปแบบตาง ๆ เชน การจัดต้ัง Toyota club เพื่อเปนเวทีใหผูผลิตชิ้นสวนแตละรายไดแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นซึ่งกันและกัน ไดทราบถึงจุดออนที่ตองปรับปรุงแกไขในสายการผลิต มีการจัดแบงกลุมยอยเพื่อประกวด โดยปจจุบัน โครงการเพื่อพัฒนา supplier ของ Toyota มีผูสมัครเขารวมจํานวน 70 ราย โดยมีหลักการ คือ การยกระดับความรู ลดของเสียที่เกิดจากการผลิต ซึ่งจะเปนการลดตนทุนการผลิตให supplier

Page 54: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

4 - 16Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

นอกจากนี้ ทางโตโยตายังมีโครงการความรวมมือกับกระทรวงอุตสาหกรรมในการพัฒนา manufacturing process ของผูผลิตชิ้นสวนที่เปนโรงงานขนาดกลางและขนาดยอม โดยใชวิธีการอบรม trainer เพื่อเพิ่ม productivity ใหผูประกอบการขนาดกลางและยอม

4.3.2 เจนเนอรัลมอเตอร

บริษัท เจนเนอรัลมอเตอร มีขอกําหนดใหผูสงมอบชิ้นสวนทุกรายของ GM ตองไดรับการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 หรือสามารถระบุแผนงานที่ชัดเจนในการดําเนินการเพื่อใหไดมาตรฐานดังกลาวได แตก็ไมไดมีกิจกรรมในการใหการสนับสนุนเปนพิเศษ อยางไรก็ดี ในกรณีของผูผลิตชิ้นสวนที่ดําเนินธุรกิจกับ GM แลวนั้น ทางบริษัทจะสนับสนุนในดานการพัฒนาคุณภาพโดยจัดใหมีทีมงานที่ เขาไปจัดสอน เสนอแนะกระบวนการพัฒนาคุณภาพดานตางๆ พรอมทั้งมีกิจกรรมการประเมินผลเปนระยะดวย

4.3.3 Daimler Chrysler

บริษัท Daimler Chrysler ไดกําหนดแนวทางและขอกําหนดชัดเจน ที่ตองการใหผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรงของบริษัททุกราย ตองไดรับการรับรองมาตรฐานตาม ISO/TS 16949 และไดมีกิจกรรมที่ใหการสนับสนุนในการพัฒนาคุณภาพการผลิต โดยจัดหลักสูตรฝกอบรมในหัวขอที่เกี่ยวของ ไดแก การรวมมือกับ CB หรือ Consult บางราย จัดหลักสูตรฝกอบรม In-house training ใหกับผูผลิตชิ้นสวน ประมาณปละ 2-3 หลักสูตร โดยบริษัทผูผลิตชิ้นสวนไมตองเสียคาใชจายใด ๆ แตที่ผานมา ก็ยังไมคอยประสบความสําเร็จเทาใดนัก เนื่องจากผูเขามาอบรมมักเปนวิศวกรที่เพิ่งเขามาทํางานใหม ยังไมมีประสบการณเพียงพอ นอกจากนี้ ยังมีการทํา Process audit ชวยใหผูผลิตชิ้นสวนของตนสามารถหาโอกาสในการปรับปรุงอยางตอเนื่อง

Page 55: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

5 - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

บทที่ 5

บทสรุป และขอเสนอแนะ ในการสนับสนุนผูผลิตชิ้นสวนยานยนต

1. ความจําเปนในการจัดทําระบบตามมาตรฐาน ISO/TS 16949

มาตรฐาน ISO/TS 16949 นั้น เปนมาตรฐานที่จัดทําขึ้นมาเพื่ออุตสาหกรรมการผลิตชิ้นสวนยานยนตโดยเฉพาะ โดยกลุมองคกรความรวมมือดานอุตสาหกรรมยานยนตจากประเทศตาง ๆ ไดรวมกันพัฒนามาตรฐานนี้มาจากมาตรฐาน ISO 9001 และ QS 9000 ดังนั้น มาตรฐานนี้จึงเปนมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับจากบริษัทผูผลิตรถยนตรายใหญทั่วโลก และกลายเปนเงื่อนไขสําคัญในการสงมอบชิ้นสวน ยานยนตใหกับบริษัทรถยนตรายใหญทั่วโลก ถึงแมวากลุมผูผลิตรถยนตญี่ปุนหลายรายจะยังไมไดมีการบังคับใชกับผูผลิตชิ้นสวนของตนก็ตาม ดังนั้น การที่ผูผลิตชิ้นสวนยานยนตของไทยจะสามารถไดรับการรับรองระบบ ฯ ตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 จึงเทากับเปนการรับรองคุณภาพในการผลิตของตนวาสามารถผลิตไดตามขอกําหนดของลูกคา (ผูผลิตรถยนต) และสามารถสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตทุกคายได โดยไมจําเปนตองขอรับการรับรองหลาย ๆ ระบบ ซึ่งจะทําใหลดความซ้ําซอน ลดคาใชจายในการขอรับการรับรองมาตรฐาน และทําใหสามารถบริหารจัดการเพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานอยูเสมอไดงายขึ้น และเปนการยกระดับการผลิตไปสูสากล เพื่อสรางความพรอมในการรับกับการจัดหาชิ้นสวนจากฐานการผลิตรถยนตจากประเทศตาง ๆ ดวย

2. สรุปความพรอมของผูมีสวนเกี่ยวของ

จากการศึกษาและสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในสวนตาง ๆ พบวา ภาคเอกชนมีความตื่นตัวและมีการเตรียมการเพื่อรองรับมาตรฐาน ISO/TS 16949 มาระยะหนึ่งแลว แมวาขณะนี้มาตรฐานดังกลาว จะไดรับการยอมรับเฉพาะในกลุมผูผลิตรถยนตคายอเมริกาหรือยุโรป ในขณะที่ผูผลิตชิ้นสวนสวนใหญของไทยในปจจุบันสงมอบชิ้นสวนใหกับผูผลิตรถยนตคายญี่ปุนซึ่งยังไมมีนโยบายบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 โดยกลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางตรง และกลุมผูผลิตชิ้นสวนที่สงมอบทางออมไดมีการเตรียมตัวกันมาต้ังแตที่มาตรฐานเริ่มประกาศใช และจํานวนไมนอยที่ไดรับการรับรองเรียบรอยแลว โดยสวนหนึ่งดําเนินการจัดทํามาตรฐานเพราะเงื่อนไขความจําเปนที่ลูกคาของตนกําหนดใหทํา แตอีกสวนหนึ่ง ก็จัดทําเพราะเห็นวามีประโยชนกับการพัฒนาคุณภาพในกระบวนการผลิต และยังเปนการสรางโอกาสในการขยายตลาดไปสูลูกคารายอื่น ๆ ไดอีกดวย โดยภาครัฐใหความชวยเหลือในการฝกอบรมใหความรูเกี่ยวกับมาตรฐาน และใหเงินทุนสนับสนุนการจางที่ปรึกษาเพื่อจัดทํามาตรฐาน

สําหรับสถาบันยานยนต ก็ไดดําเนินการสนับสนุนใหผูผลิตชิ้นสวนไดเขาใจในมาตรฐาน และสามารถดําเนินการพัฒนาระบบตอไปได โดยการจัดใหมีการฝกอบรมในหลักสูตรตาง ๆ ที่จําเปน ซึ่งรวมถึงการ

Page 56: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

5 - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ฝกอบรมแบบ In-house Training ดวย และในสวนของสมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตเอง ก็มีโครงการในการสนับสนุนคาใชจายในการจัดจางที่ปรึกษาเพื่อเขามาใหขอเสนอแนะในการจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ดวย

อยางไรก็ตาม ยังมีผูผลิตชิ้นสวนอีกมากที่ยังไมไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ ซึ่งสวนหนึ่งคือเปนกลุมที่เคยไดรับการรับรองในมาตรฐานระบบอื่นแลว และมีพื้นฐานหรือศักยภาพในการจะจัดทําตามระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ได อีกสวนหนึ่งคือกลุมที่ยังไมไดจัดทําระบบมาตรฐานการจัดการในองคกรเลย ซึ่งเปนผูผลิตรายเล็กในระดับ 2nd หรือ 3rd tier ยังขาดความพรอม และอาจจําเปนตองจัดทําระบบมาตรฐาน ISO/TS 16949 ในระยะตอไปตามเงื่อนไขความตองการของลูกคาที่เปนผูผลิตชิ้นสวนรายใหญได สําหรับในกลุมนี้ การสรางพื้นฐานความรูความเขาใจในมาตรฐานดังกลาว นับเปนสิ่งจําเปนในระยะเรงดวน เพื่อที่ผูประกอบการจะไดเตรียมปรับโครงสรางพื้นฐานในองคกรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงไดอยางมีประสิทธิภาพ

ในสวนของผูใหบริการปรึกษาแนะนํา และการตรวจประเมินตามมาตรฐานนั้น มีผูที่ใหบริการในมาตรฐาน ISO/TS 16949 อยูในปจจุบันไมมากนักเมื่อเทียบกับการใหบริการในมาตรฐานอื่น ๆ เนื่องจากยังมีผูเชี่ยวชาญในมาตรฐานนี้ไมมากนัก ตางจากจํานวนผูเชี่ยวชาญในดานมาตรฐาน ISO 9001 ซึ่งมีอยูจํานวนมากเพราะไดดําเนินการมาแลวเปนระยะเวลานาน โดยเฉพาะอยางยิ่ง จํานวนผูตรวจประเมิน (Auditor) ตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 ที่ยังมีจํานวนจํากัดมาก อยางไรก็ดี หากอุปสงคในการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการ ISO/TS 16949 เพิ่มขึ้น บรรดาที่ปรึกษา และผูตรวจประเมิน ยอมสามารถพัฒนาเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับความตองการได

3. ขอเสนอแนะ

จากการสัมภาษณผูเกี่ยวของ ไดแก ผูประกอบรถยนต ผูผลิตชิ้นสวนยานยนต ผูใหคําปรึกษาแนะนํา และผูแทนของหนวยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ทําใหทราบถึงขีดความสามารถของผูผลิตชิ้นสวน ตลอดจนปญหาอุปสรรคที่เกิดจากการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 จึงมีขอเสนอแนะสําหรับหนวยงานภาครัฐ ในการสงเสริมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตใหจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ไดสําเร็จ ดังประเด็นตอไปนี้

3.1 การสรางความเขาใจในมาตรฐาน และการพัฒนาบุคลากร

พื้นฐานสําคัญที่จะทําใหผูผลิตชิ้นสวนยานยนตสามารถไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการ ISO/TS 16949 ไดอยางประสบผลสําเร็จ มีประสิทธิภาพ ไดประโยชนจากการจัดทํามาตรฐานสมดังวัตถุประสงคของการจัดใหมีมาตรฐานสากลสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน สามารถคงไวซึ่งระบบท่ีดี ไมใชการดําเนินการเพื่อใหไดการรับรองมาตรฐานเทานั้น เพื่อใหสามารถผลิตชิ้นสวนที่มีคุณภาพดีและสม่ําเสมอสงมอบใหกับลูกคาแตละกลุมได และลดผลกระทบอันอาจจะเกิดขึ้นกับผูผลิตชิ้นสวนตาง ๆ ในขั้นตอนการจัดทําระบบมาตรฐาน คือ การสรางความรูความเขาใจในเรื่องมาตรฐาน ISO/TS 16949 ใหกับผูมีสวนเกี่ยวของใหมากขึ้นและตอเนื่อง เพื่อใหมี

Page 57: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

5 - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ความเขาใจตรงกัน ทั้งในเรื่องความจําเปนและความตองการในการจัดทําระบบดังกลาวของผูผลิตชิ้นสวนกลุมตาง ๆ ขอกําหนดในมาตรฐาน และปจจัยที่สําคัญในการจัดทําระบบมาตรฐาน รวมทั้งเงื่อนไขของการจัดทําระบบมาตรฐานสําหรับการสงมอบชิ้นสวนใหกับลูกคาแตละกลุม สําหรับผูผลิตชิ้นสวนในแตละลําดับชั้นหรือแตละประเภท

ในการทําความเขาใจในเรื่องมาตรฐานดังกลาว และการพัฒนาบุคลากรในภาคเอกชนใหมีศักยภาพและพรอมรับกับความตองการในการปรับปรุงประสิทธิภาพขององคกรตามมาตรฐานสากล ถือเปนบทบาทสําคัญสําหรับหนวยงานภาครัฐ สถาบัน และสมาคมตาง ๆ ซึ่งถึงแมจะไดมีการดําเนินการกันอยูแลวมาอยางตอเนื่อง แตจากสถานภาพของผูผลิตชิ้นสวนในปจจุบันที่ยังมีความสับสนอยูบาง ระบุความตองการใหภาครัฐเขามาสนับสนุนในการใหความรูความเขาใจ และการที่ผูผลิตอีกไมนอยยังไมสามารถดําเนินการเพื่อขอรับการรับรองมาตรฐานได แสดงใหเห็นวา หนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนเกี่ยวของ ยังคงตองเพิ่มความตอเนื่องและเขมขนในกิจกรรมการใหความรูความเขาใจ และเขาไปชวยสนับสนุนในการพัฒนาบุคลากรในภาคเอกชน ตอไป ทั้งในรูปแบบของการดําเนินการโดยใชผูเชี่ยวชาญในองคกร และอาจดําเนินการรวมกับบริษัทที่ปรึกษาที่ใหบริการดานฝกอบรมตาง ๆ

นอกจากนี้ ในสวนของการพัฒนาบุคลากรนั้น หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ควรจัดใหมีการสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นหรือประสบการณระหวางกัน เพื่อสราง Best Practice และจัดทํา Benchmarking ในการพัฒนาระบบการการผลิตตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 ของผูผลิตชิ้นสวนแตละกลุมซึ่งมีศักยภาพแตกตางกันไปดวย

3.2 การจัดการดานฐานขอมูล

จุดออนประการหนึ่งในการกําหนดนโยบายหรือการพัฒนาอุตสาหกรรมตาง ๆ ในประเทศไทย คือ งานดานฐานขอมูล สําหรับในสวนการศึกษาในเรื่องการจัดทํามาตรฐานระบบการจัดการในอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตนี้ พบวา ยังมีปญหาดานประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงขอมูลของหนวยงานภาครัฐและเอกชนในเรื่องความตองการและความสามารถในการจัดทําและไดรับการรับรองมาตรฐานตาง ๆ ของผูผลิตชิ้นสวนยานยนต เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน และสามารถวิเคราะหศักยภาพ ระดับความตองการ หรือปญหาอุปสรรคในปจจุบันไดอยางถูกตอง ซึ่งสวนหนึ่งคือการขาดกลไกในการติดตามขอมูลที่ทันตอการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม และหนวยงานแตละแหงที่มีเปาหมายในการเปนศูนยกลางดานขอมูล ขาวสาร หรือสถิติตางๆ ก็ยังไมสามารถดําเนินการไดครบทุกประเด็นที่สําคัญสําหรับการสนับสนุนอุตสาหกรรม ซึ่งการจัดการดานฐานขอมูลนี้ นอกจากหนวยงานภาครัฐหรือสถาบัน สมาคมตาง ๆ ตองเปนผูดําเนินการหลักแลว ภาคเอกชนจําเปนตองใหความรวมมือ และมีสวนรวมในกระบวนการจัดการดานขอมูล เพื่อใหไดรับขอมูลที่สมบูรณ ทันสมัย และใชประโยชนไดตรงกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมดวย

Page 58: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

5 - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

3.3 การสนับสนุนดานงบประมาณ

จากการศึกษาผลกระทบในการจัดทํามาตรฐานระบบ ISO/TS 16949 นั้น ประเด็นหนึ่งที่แตละฝายใหความเห็นตรงกัน คือเรื่องคาใชจายในการจัดทํามาตรฐานที่สูงกวาการจัดทํามาตรฐานอื่นๆ อยูพอสมควร ทั้งคาใชจายดานที่ปรึกษา การปรับปรุงองคกรตามขอกําหนด ตลอดจนการตรวจประเมินตาง ๆ ในขณะที่มีระยะเวลาจํากัดในการตองดําเนินการเพื่อใหไดการรับรองตามมาตรฐานนี้ดวย ซึ่งในประเด็นนี้ หนวยงานภาครัฐสามารถมีบทบาทในการสนับสนุนคาใชจายบางสวนในการจางที่ปรึกษาใหกับบริษัทผูผลิตชิ้นสวนตาง ๆ ได รวมทั้งสนับสนุนคาใชจายในการฝกอบรมหลักสูตรตาง ๆ และควรตองเรงดําเนินการเพิ่มเติมจากโครงการตาง ๆ ที่มีในปจจุบัน เพื่อใหทันและเพียงพอกับความตองการของภาคเอกชนดวย โดยมุงเนนเปาหมายที่ผูประกอบการขนาดกลางหรือขนาดยอม และบริษัทไทย

3.4 การสนับสนุนดานการพัฒนาเครื่องมือหรืออุปกรณการตรวจสอบหรือการสอบเทียบเครื่องมือวัด

จากการที่มีขอกําหนดของมาตรฐานในเรื่องการสอบเทียบเครื่องมือตรวจสอบตาง ๆ ทําใหผูประกอบการตองมีการลงทุนเพิ่มเติมในดานหองทดสอบหรือเครื่องมือทดสอบตาง ๆ ซึ่งทําใหใชเงินลงทุนที่คอนขางสูงสําหรับผูประกอบการรายเล็กที่เพิ่งทําระบบ และชิ้นสวนบางอยางสามารถทดสอบไดเอง และบางอยางตองใชหอง lab ที่ผานการรับรองตามมาตรฐาน ISO 17025 (มาตรฐานดานหองปฏิบัติการ) โดยจากการศึกษาพบวา ในกรณีที่ไมสามารถหาหอง lab ที่ไดรับการรับรองนั้น ผูผลิตชิ้นสวนก็อาจใชวิธีใหลูกคาลงนามรับรองให แสดงใหเห็นวา หองปฏิบัติการของภาครัฐหรือสถาบันตาง ๆ ยังไมสามารถรองรับความตองการไดครบทุกประเภท ซึ่งในเรื่องนี้ นับเปนการสนับสนุนแนวความคิดในการจัดต้ังและพัฒนาศูนยทดสอบและวิจัยชิ้นสวนยานยนต

3.5 การพัฒนาอตุสาหกรรมสนับสนุน

ในการผลิตชิ้นสวนยานยนตนั้น นอกจากการออกแบบ และการวิจัยพัฒนาชิ้นสวนตาง ๆ แลว เทคโนโลยีและความรูเรื่องแมพิมพและเทคโนโลยีวัสดุ นับเปนพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาขีดความสามารถของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนตของไทยดวย ซึ่งศักยภาพในอุตสาหกรรมดานนี้ของไทยยังคงมีขีดจํากัดอยูมาก ดังนั้น การมุงเนนพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน ควบคูไปกับการสงเสริมอุตสาหกรรมหลักคือการผลิตยานยนตและชิ้นสวนยานยนต จะเปนปจจัยสําคัญในการที่ยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนตไดยิ่งขึ้นตอไป

Page 59: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

5 - 5Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

แหลงอางอิง

1) รายงานสภาวะอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต, สถาบันยานยนต, www.thaiauto.or.th 2) รายงานสภาวะอุตสาหกรรมยานยนต ไตรมาสที่ 4, สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม,

www.oie.go.th 3) เว็บไซตสมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย, www.thaiautoparts.or.th 4) เว็บไซตสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (www.tisi.go.th) 5) เว็บไซตองคกรความรวมมือระหวางประเทศดานยานยนต (www.iaob.org) 6) รายงานฉบับสมบูรณ โครงการจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต พ.ศ. 2545-2549

ของสถาบันยานยนต 7) รายงานผลการวิจัย เรื่อง ศักยภาพและขีดความสามารถดานการแขงขันของอุตสาหกรรมยาน

ยนตและชิ้นสวน เดือนมนีาคม 2549, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 8) รายงานแผนปรับโครงสรางอตุสาหกรรม, สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

Page 60: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ก - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ภาคผนวก ก

แบบสัมภาษณผูประกอบรถยนต

1. ชื่อบริษัท/โรงงาน ………..…………………….............................................……………………………

ที่อยู …………….…………………………….………………………………………………………………….

ชื่อผูใหขอมูล ............................................................ ตําแหนง ……..…………………………………..

โทรศัพท ....................................... โทรสาร....................................... Email ..............................

2. ในการผลิตรถยนต ทานใชชิน้สวนจากในประเทศ และตางประเทศ คิดเปนสัดสวนเทาไร

ในประเทศ ....................... % ตางประเทศ ...................... %

3. ทานมีหลักเกณฑในการสรรหาและคัดเลือกผูสงมอบชิ้นสวนอยางไรบาง

............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................

4. ทานมีระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑของผูสงมอบอยางไรบาง (มีคูมือใหปฏิบัติตาม, การตรวจประเมิน ณ สถานประกอบการของผูสงมอบฯ)

............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................

5. ทานมีแนวทางใหความชวยเหลือแกผูผลิตชิ้นสวนในดานการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑอยางไรบาง

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

6. ทานมีผูผลิตชิ้นสวนใน Approved Vendor List ประมาณ ........... ราย (ขอเอกสารรายชื่อผูสงมอบชิน้สวน)

7. ผูผลิตชิ้นสวนของทานผานการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการแลวประมาณ .. . . . . . . . . . . . ราย (คิดเปน..........%) และผานการรับรองตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 แลวประมาณ ............. ราย

Page 61: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ก - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

8. ทานมีนโยบายบังคับใชมาตรฐาน ISO/TS 16949 หรือไม อยางไรบาง และมีกําหนดเวลาบังคับใชเมื่อใด (กรณีที่ไมไดบังคับใช มาตรฐาน ISO/TS 16949 ทานใชมาตรฐานตัวอื่นหรือไม อยางไรบาง)

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

9. เมื่อผูสงมอบไดรับการรับรองตามมาตรฐาน ISO/TS 16949 แลว จะสงผลดีตอทาน และอุตสาหกรรมยานยนต อยางไรบาง

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

10. ทานคิดวาผูผลิตชิ้นสวนมีความพรอมเพียงใดในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 (ดานความรู, เครื่องมืออุปกรณ, งบประมาณ)

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

11. ทานมีแนวทางสนับสนุนใหผูผลิตชิ้นสวน (Supplier) จัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 หรือไม อยางไรบาง

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

12. ทานคิดวาภาครัฐควรใหการสนับสนุนผูประกอบการอยางไรบาง ในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949

............................................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

*** ขอบพระคณุ ***

Page 62: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ข - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ภาคผนวก ข

แบบสัมภาษณผูผลิตชิ้นสวนยานยนต

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไป

1. ชื่อบริษัท/โรงงาน ……………………………………………………………………………………………… ที่อยู ………………………………………………………………………………………………………. ชื่อผูใหขอมูล...................................................................... ตําแหนง ……………………………………… โทรศัพท.......................................................โทรสาร.......................................Email …..........................

2. บริษัทของทานมีบุคลากรทั้งหมด....................... คน

3. จํานวนเงินลงทุน ............ ลานบาท ผูถือหุนไทย คิดเปน ............ %

ผูถือหุนชาวตางประเทศ คือ ..........คิดเปน ....... %

4. ผลิตภัณฑของทาน คือ ...........................................................................................................................

5. ปจจุบันมีลูกคาในอุตสาหกรรมยานยนตประมาณ ..............ราย แบงเปน

ในประเทศ ไดแก 1) ………………………….................................... ประมาณ ............. % ของที่ผลิตได 2) …………………………....................................

3) ………………………….................................... ตางประเทศ ไดแก ไดแก 1) ………………………….................................... ประมาณ ............. % ของที่ผลิตได 2) …………………………....................................

3) …………………………....................................

สวนที่ 2 ขอมูลดานการจดัทํามาตรฐานระบบการจดัการ

6. ปจจุบันทานไดรับการรับรองมาตรฐานระบบการจัดการแลว คือ

ISO 9001 ต้ังแต พ.ศ. .................... รับรองโดย ................................................................... ISO 14001 ต้ังแต พ.ศ. .................... รับรองโดย ................................................................... QS 9000 ต้ังแต พ.ศ. .................... รับรองโดย ................................................................... ISO/TS 16949 ต้ังแต พ.ศ. .................... รับรองโดย ................................................................... อื่นๆ คอื..................... ต้ังแต พ.ศ. .................... รับรองโดย ............................................................

Page 63: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ข - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

7. ขณะนี้กําลังเตรียมขอการรับรองในระบบการจัดการ คือ

ISO 9001 คาดวาจะผานการรับรองเดือน .................. ISO 14001 คาดวาจะผานการรับรองเดือน .................. ISO/TS 16949 คาดวาจะผานการรับรองเดือน .................. อื่นๆ คอื ....................คาดวาจะผานการรับรองเดือน ..................พ.ศ. .............

8. กรณียังไมไดรบัการรับรองมาตรฐาน ISO/TS 16949 ทานมีแผนที่จะจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 หรือไม

มีแผนจะจัดทํา ยังไมมีแผนจะจัดทํา เนื่องจาก .........................................................................(จบการสัมภาษณ)

สวนที่ 3 ขอมลูทั่วไปเกี่ยวกับการจัดทําระบบ ISO/TS 16949

9. เหตุผลที่บริษัทสนใจทําระบบ ISO/TS 16949 คือ

ลูกคารองขอใหทํา ระบุชือ่ลูกคา ......................... โดยมีกําหนดใหจัดทําภายในระยะเวลา..........ป คือภายในเดือน............... พ.ศ. ........

ลูกคายังไมไดรองขอ แตเห็นวาควรทํา เนื่องจาก ....................................................................... ......................................................................................................................................................

10. ทานใชบริการที่ปรึกษา (Consult) ในการจดัทําระบบ ISO/TS 16949 หรือไม

ใช ระบุชื่อ .................................................................................................................................. (ทําตอขอ 11)

ไมใช เนื่องจาก ............................................................................................................................ (ทําตอขอ 13)

11. เหตุผลที่เลือกที่ปรึกษารายดังกลาว คือ (ความเชี่ยวชาญ, ราคา)............................................................

12. ทานมีคาใชจายในการจางที่ปรึกษารวมทั้งสิ้น ประมาณ ................ บาท จํานวน ............ Manday

13. ในการจัดทําระบบ ISO/TS 16949 ทานตองสั่งซื้อเครือ่งมือ/อุปกรณตางๆ ที่ใชในการผลติ เพิ่มเติมบางหรือไม

ไมตองซือ้เพิ่ม ซื้อเพิ่ม คอื .................................................................... คิดเปนเงินประมาณ ..................... บาท

14. ในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ทานใชบริการหอง Lab ที่ใดบาง ...............................................

Page 64: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ข - 3Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

15. ทานมีหลักในการคัดเลือกหอง Lab อยางไร (คุณภาพ, ราคา) .............................................................

16. ทานไดรับความสะดวกในการใชบริการหอง Lab หรอืไม อยางไร (ระยะเวลา, คาใชจาย) .............................................................................................................................................................

17. มีอุปกรณ/เครือ่งมือใดหรือไมที่ยังไมสามารถหาหอง Lab ตรวจสอบ/สอบเทียบ ได ............................................................................................................................................................

มีวิธีแกปญหา คือ .................................................................................................................................

18. ในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ทานไดรับการชวยเหลือจากหนวยงานอื่นบางหรือไม

ไดรับความชวยเหลือ จาก

บริษัทแม ระบุชื่อ .................................. ลักษณะความชวยเหลือ ............................................ ประโยชนที่ได คือ ....................................................................................................................

ผูประกอบรถยนต ระบุชือ่ .................... ลักษณะความชวยเหลือ .............................................. ประโยชนทีไ่ด คือ ..................................................................................................................... หนวยงานภาครัฐ ระบุชือ่ ...................... ลักษณะความชวยเหลือ ............................................. ประโยชนทีไ่ด คือ ..................................................................................................................... หนวยงานภาคเอกชน ระบุชื่อ ............... ลักษณะความชวยเหลือ ............................................. ประโยชนทีไ่ด คือ................................... ลักษณะความชวยเหลือ ............................................ อื่นๆ ระบชุื่อ ........................................ ลักษณะความชวยเหลือ .............................................. ประโยชนทีไ่ด คือ................................... ลักษณะความชวยเหลือ .............................................

ไมไดรับความชวยเหลือใดๆ

19. ทานคิดวาการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 มีความแตกตางจากมาตรฐานอื่นหรือไม

ไมแตกตางจากมาตรฐานอื่น แตกตางจากมาตรฐานอื่น โดย

ใชงบประมาณมากกวา คือ ....................................................................................................... มีความยุงยากในการจัดทํามากกวา คือ .................................................................................... อื่นๆ คอื ..................................................................................................................................

20. ทานมีอุปสรรคในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 บางหรือไม

ไมมีอุปสรรค มีอุปสรรค คือ

บุคลากรยงัมีความรูไมเพียงพอ

Page 65: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ข - 4Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

อุปกรณ/เครื่องมือตางๆ ยังไมพรอม มีงบประมาณในการจัดทําระบบไมเพียงพอ อื่นๆ คอื ..................................................................................................................................

21. ทานคิดวาปจจัยสําคัญในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 คืออะไร

การสนับสนุนจากผูบรหิาร .............................................................................................................. ความพรอมของบุคลากร (ความรู, ความรวมมือ) ............................................................................. ความพรอมของอุปกรณ/เครื่องมือตางๆ .......................................................................................... ความเพียงพอของงบประมาณ ........................................................................................................ การสนับสนุนจากบริษัทแม/ผูประกอบรถยนต ................................................................................. อื่นๆ คอื ........................................................................................................................................

สวนที่ 4 ขอมลูสําหรับผูผานการรับรอง ISO/TS 16949 แลว

22. ทานใชระยะเวลาในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ประมาณ ............ เดือน จึงจะขอการรับรอง

23. ทานมีเหตุผลในการคัดเลือกหนวยรับรองอยางไรบาง (ความเชี่ยวชาญ, ราคา) .............................................................................................................................................................

24. คาใชจายในการตรวจประเมินระบบ ISO/TS 16949 ประมาณ ............... บาท คิดเปน Manday ละ ........... บาท จํานวน ............ Manday

25. ทานมีความเห็นวาหนวยรับรองที่ทานใชบรกิาร มีคุณลักษณะเปนไปตามที่คาดหวังหรือไม (ความเชี่ยวชาญ, ราคา, การติดตอนัดหมาย) ..............................................................................................................................................................

26. ทานคิดวาเมื่อจัดทําระบบ ISO/TS 16949 สงผลดีตอบริษัทอยางไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

เพิ่มประสทิธิภาพของกระบวนการผลิต คือ ..................................................................................... มีลูกคารายใหมเพิ่มมากขึ้น .......... ราย ระบุชื่อลูกคา ...................................................................... ลดขั้นตอนการตรวจประเมิน (Audit) ในโรงงานโดยลูกคา คือ .......................................................... อื่นๆ คอื ........................................................................................................................................

27. ทานคิดวาภาครัฐควรใหการสนับสนุนผูประกอบการอยางไรบาง ในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ............................................................................................................................................................

Page 66: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ข - 5Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

สวนที่ 5 ขอมลูสําหรับผูอยูระหวางจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 แตยังไมไดขอการรับรอง

28. ทานคาดวาจะใชระยะเวลาในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ประมาณ .............. เดือน จึงจะขอการรับรอง

29. ทานคาดวาจะขอการรับรองจากหนวยรับรอง ระบุ ................................................................................... เนื่องจาก ................................................................................................................................................

30. ทานคิดวาเมื่อจัดทําระบบ ISO/TS 16949 สงผลดีตอบริษัทอยางไรบาง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

เพิ่มประสทิธิภาพของกระบวนการผลิต คือ ..................................................................................... มีลูกคารายใหมเพิ่มมากขึ้น ........... ราย ระบุชื่อลูกคา .................................................................... ลดขั้นตอนการตรวจประเมิน (Audit) ในโรงงานโดยลูกคา คือ .......................................................... อื่นๆ คอื ...............................................................................................................................

31. ทานคิดวาภาครัฐควรใหการสนับสนุนผูประกอบการอยางไรบาง ในการจัดทํามาตรฐาน ISO/TS 16949 ...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

*** ขอบพระคุณ ***

Page 67: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ค - 1Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ภาคผนวก ค

รายนามผูใหขอมูลสัมภาษณ

รายชื่อ หนวยงาน ตําแหนง

ผูประกอบรถยนต

1. คุณเอกชัย ฉายศิริพันธ บจก. โตโยตามอเตอร (ประเทศไทย) (คายญี่ปุน)

ผูอํานวยการฝายประกันคุณภาพ

2. คุณรุจน สกลคณารักษ บจก. โตโยตามอเตอร (ประเทศไทย) (คายญี่ปุน)

รองผูอํานวยการฝายแผนกจัดซื้อ 3 ฝายจัดซื้อ

3. คุณสุวกุล โชติวรกาญจน

บจก. โตโยตามอเตอร (ประเทศไทย) (คายญี่ปุน)

ผูชวยผูจัดการฝายประกันคุณภาพ

4. คุณไกรศร ศรีสวย บจก. ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) (คายญี่ปุน)

5. Mr.Dieter Jacob Daimler Chrysler (คายยุโรป) General Manager Quality Management

6. คุณฉัตรชัย จริยะอังสนากุล Daimler Chrysler (คายยุโรป) ผูจัดการฝายระบบคุณภาพ 7. คุณครรชิต GM (คายอเมริกา)

ผูผลิตชิ้นสวนยานยนต

1. คุณวุฒิกร โรงงานเสถียร QMR 2. คุณเบญจวรรณ โรงงาน FB Battery Furukawa QMR 3. คุณตอพงษ แพรตน บริษัท สมบูรณ กรุป จํากัด ผจก.แผนกระบบคุณภาพ 4. คุณปทุมพร สภาจักร บริษัท โซนี่ ดีไวซ จํากัด ผูชวยผูจัดการทั่วไป 5. คุณอนัน บริษัท Bangkok Foam QMR 6. คุณเสถียร ชมภูศรี บริษัท เสถียรพลาสติก แอนด ไฟเบอร

จํากัด QMR

7. คุณนเรนทร โพธิ์สุวรรณ บริษัท โตโยโตโม จํากัด, นิโตโม จํากัด, โอกุมันโจว จํากัด

QMR

8. คุณสุธาทิพย บริษัท เอสเคโพลีเมอร จํากัด QMR

9. คุณชัชชัย คุณากรนิรันดร บริษัท ศรีไทยธนะออโตพารท จํากัด QMR

10. Mr. Sumate Sunwong Bangkok Diecasting And Injection Co., Ltd. QMR

11. คุณกิตติ อัมพวา บริษัท ซี.ซี. ออโตพารท QMR

Page 68: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เร่ือง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ค - 2Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

รายชื่อ หนวยงาน ตําแหนง

ผูแทนหนวยงานภาครัฐ

1. คุณรัชดา อิสระเสนารักษ สํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูอํานวยการสํานัก สํานักบริหารมาตรฐาน 4

2. คุณเมธาวี แกวฤทธิ์ สํานักมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ผูตรวจประเมิน

ผูแทนหนวยงานภาคเอกชน

1. คุณพรรณี อังศุสิงห สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ผูชวยผูอํานวยการสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

2. คุณวัลลภ เตียศิริ สถาบันยานยนต ผูอํานวยการสถาบันยานยนต 3. คุณอุเทน เขมขัน Consult BSI ที่ปรึกษา 4. คุณพชร พลมณี บริษัท NQA ผูตรวจประเมิน 5. คุณดีเรนดรา กุมาร ดูเบย สมาคมผูผลิตชิ้นสวนยานยนตไทย

(TAPMA) TAPMA Acting Manager

Page 69: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 1 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

ภาคผนวก ง

รายชื่อหนวยงานที่ใหบริการตรวจรับรอง ที่ปรึกษา และฝกอบรมมาตรฐาน ISO/TS 16949

ขอมูลลาสุดถึง ณ 22 ธันวาคม 2549

ที่มา : http://www.tisi.go.th/9000/tcb_cnst.html

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

1 เกมบะ เอส พี ซี แมนเนจเมนท บจก. 179/51 ถนนบางขุนนนท บางกอกนอย กทม. 10700 Tel: 0-2744-8900 Fax: 0-2744-7203

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; Sig sixma; Balance Scorecard

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; Sig sixma; Balance Scorecard

-

2 โกลบอล เซอรติฟเคชั่น 140 ถ. สุขุมวิท กทม. 10110 Tel: 0-2653-5060 Fax: 0-2259-1966 Email: [email protected] Web: globalcertification.co.th

QMS; EMS not provided QMS: EMS Accredited by UKAS

3 โกลบอล เซอรติฟเคชั่น เซอรวิส บจก. 25/71 หมู 8 ถ.รัตนาธิเบศร ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 Tel: 0-2526-4759, 0-2969-7781 Fax: 0-2526-7460 Email: [email protected]

QMS not provided not provided -

Page 70: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 2 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

4 โกลบอล โปรดักส แอนด เซอวิสเซส บจก. สวนงานบริการที่ปรึกษาและฝกอบรมการบริหารธุรกิจ 99/188 ถ.รัชดาภิเษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2513-6447 Fax: 0-2513-6797 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS/TIS 18000; ISO/TS 16949; QS 9000; SA 8000; HACCP; GMP; SQF 2000; TQM

QMS; EMS; OHSAS/TIS 18000; ISO/TS 16949; QS 9000; SA 8000; HACCP; GMP; SQF 2000; TQM

-

5 คเชนท อิมโพร คอนซัลแทนท บจก. หมูบานศรีราชา ซอยโรงเรียนอัสสัมชัญ ตําบลสุรศักดิ์ ชลบุรี Tel: 0-2678-6701-2 Fax: 0-2678-6704 Web: www.kachenimpro.co.th

not provided QMS; EMS; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000; TQM; Kaizen

QMS; EMS; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000; TQM; Kaizen

-

6 ควอลายน แมเนจเมนท บจก. 14/35 ถ.ติวานนท บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 Tel: 0-2961-8061-2 Fax: 0-2584-6576

not provided QMS QMS -

7 ควอลิตัส เซอรวิส บจก. 14/224 ซอยฟลอราวิลล ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กทม. 10250 Tel: 0-2722-3037, 0--2722-4055-84 ext. 5016 Fax: 0-2722-3038

not provided QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25; ISM Code-Safety management

QMS; EMS; Lead assessor course -QMS, EMS; ISO/IEC Guide 25; ISM Code-Safety management

-

8 ควอลิตี้ ซิสเท็ม ดีเวลลอปเมนท อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) บจก. 56/23 หมู 10 ถนนเพชรเกษม 63/2 แขวงบางแค เขตบางแค กทม.10160 Tel: 0-2421-5402 Fax: 0-2809-4584

not provided QMS; EMS; QS 9000; GMP/HACCP; SQF 2000,

ISO 9000 Lead Assessor, ISO 14000 Lead Assessor, ISO 9001:2000 Transition, Internal Quality Audit,

Page 71: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 3 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

CE Mark, EN 46000, SA 8000

ISO 9000/14000 Introduction and Implementation, HACCP & SQF 2000 Introduction and Implementation

9 ควอลิตี้ แซททิสฟายด บจก. 82 ถนนสมเด็จเจาพระยา สมเด็จเจาพระยา คลองสาน กทม. 10600 Tel: 0-2861-4199 Fax: 0-2860-6451

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949

-

10 ควอลิตี้ เทรนนิ่ง (ประเทศไทย) บจก. 70/770 หมู 3 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 Tel: 0-2902-0384-5, 0-2516-5298 Fax: 0-2902-0589, 0-2516-1349

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

11 ควอลิตี้ แอดแวนเทจ บจก. 133 ซ.จรัญสนิทวงศ 57/2 แขวงบางบําหรุ เขตบางพลัด กทม. 10700 Tel: 0-2886-5297 Fax: 0-2886-5298 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS QMS; EMS; TQM; QMR; Lead Auditor; 5's

-

12 ควอลิตี้ แอดไวซ บจก. 12 ซอยลวนเจืออนุสรณ 2 ถนนสุขุมวิท ถนนสุขุมวิท บางนา กทม. 10250 Tel: 0-2745-1600 Fax: 0-2745-2801

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

-

13 ควอลิตี้โฟกัส บจก. 66/14 ซอยพิบูลสงคราม 2 (จาริพิบูลย) ถนนพิบูลสงคราม บางเขน เมือง นนทบุรี 11000

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP; QS 9000

QMS; EMS; GMP; HACCP; QS 9000 -

Page 72: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 4 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Tel: 0-2966-6256, 0-2966-5498 Fax: 0-2966-5459

14 ควอลิตี้สเปเชียลลิสท บจก. 101/121 หมู 7 ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง ปทมุธานี 12120 Tel: 0-2902-9500-1 Fax: 0-2902-8852

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000 QMS; EMS; OHSAS 18000 -

15 ควอลิตี้อัลลัยแอนซ (ประเทศไทย) บจก. 394/751 หมู 3 ถนนเพชรเกษม บางแคเหนือ บางแค กทม. 10160 Tel: 0-2803-9057, 0-2803-9359 Fax: 0-2803-9057 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; QS 9000

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; QS 9000

-

16 คอนเคอเรนท แมแนจเมนท บจก. 2529/136 ตรอกนอกเขต แขวงบางโคล เขตบางคอแหลม กทม. 10120 Tel: 0-2665-2826 Fax: 0-2665-2827 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP; QS 9000; ISO/IEC 17025; TQM; 5S

QMS; EMS; GMP; HACCP; QS 9000; ISO/IEC 17025; TQM; 5S

-

17 คิว คอน บิสซิเนส บจก. 731 ชั้น 7 อาคารพีเอ็มทาวเวอร ถนนอโศก-ดินแดง แขวงดินแดง กทม. 10400 Tel: 0-2641-7933, 0-2641-7934 Fax: 0-2641-7935 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; TLS 8001:2003; Customer Requirement STD

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; TLS 8001:2003; Customer Requirement STD

-

18 คิวซีดี แมเนจเมนท บจก. 74/73 หมู 5 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว กทม. 10230

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

-

Page 73: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 5 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Tel: 0-2917-8601 Fax: 0-2917-9188

19 คิวซีบี ควอลลิทิ เซลทิฟฟเคชั่น บิวโร หจก. 74/206 หมูที่ 5 ซ. รามอินทรา 74 ถ. รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กรุงเทพฯ 10230 Tel: 0-2917-9143-4 Fax: 0-2917-8260 Email: [email protected] Web: www.qcbinc.com

QMS; EMS; QS 9000

not provided QMS; EMS; QS 9000 RVA; SCC

20 คิวโซลูชั่น บจก. 75/42 โครงการธนาเพลส อาคารดี ซอยลาดพราว 71 ถนนลาดพราว เขตลาดพราว กทม. 10230 Tel: 0-2907-7700 Fax: 0-2907-7600

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

21 คิวสตรีท บจก. 196/12-13 ซอยยศเส ถนนกรุงเกษม วัดเทพศิรินทร เขตปอมปรามศัตรูพาย กทม. 10100 Tel: 0-2621-7709-10 Fax: 0-2621-5113

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

22 คิว-อัพ อินเตอรเนชั่นแนล บจก. 36/518 หมู 6 ถ.ตลิ่งชัน-สุพรรณบุรี ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี 11110 Tel: 0-2920-1897-8 Fax: 0-2920-3146 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; Safety (CE, UL, CSA, JIS, VDE)

ISO/IEC 17025; GMP; HACCP; ISO 22000; ISO 13485; SA 8000; OHSAS 18001; ISO/TS 16979; Inductivity Improvement Balance Scorecard/KPI; Business Plan; IFS; BRC; SPC; QC/QA; TQM; Kaizen; Suggession.HRM

Ministry of Finance (Grade A)

Page 74: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 6 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

23 คิวเอ็กซเพรส (ประเทศไทย) บจก. 77/564 ถ. ติวานนท ต. บานใหม อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 11120 Tel: 0-2961-4444 Fax: 0-2961-4224 Email: [email protected] Web: www.qexpress.net

not provided ISO 9001; ISO 9004; EMS; TS 16949; OHSAS 18000; GMP; HACCP

ISO 9001; ISO 9004; EMS; TS 16949; OHSAS 18000; GMP; HACCP and Productivity; QCC

-

24 คิวเอ็มไอ-เควสท (ประเทศไทย) บจก. 32/32 ซิโนไทยทาวเวอร ชั้น 11 สุขุมวิท 21 (ซ.อโศก) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0-2661-7240-2, 0-2636-6985 Fax: 0-2260-1313, 0-2636-6686

not provided QMS; EMS; EN46000; CE Mark; ISO/IEC Guide 25

QMS; EMS; EN46000; CE Mark; ISO/IEC Guide 25; IRCA (IQA) Registered course

-

25 คิวแอนดอี แมนเนจเมนท บจก. 52/25-26 ซอยรามคําแหง 60/4 ถนนรามคําแหง หัวหมาก บางกะป 10240 Tel: 0-2735-1503-4 Fax: 0-2735-1504

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; Six Sigma

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000; Six Sigma

-

26 คิวแอนดเอ ควอลิตี้แอนดแคลิเบรชั่น บจก. 50/52 ตําบลบางแกว อําเภอบางพลี สมุทรปราการ 10540 Tel: 0-2710-2138, 0-2753-7452 Fax: 0-2753-7452

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000

-

27 เคปบางกอก บจก. 549 ซ.ลาดพราว 48 แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม. 10320 Tel: 0-2939-8646 Fax: 0-2939-8647

not provided QMS; EMS QMS; EMS; QCC and other quality related courses

-

Page 75: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 7 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

28 จีอีเอ็ม ควอลิตี้ บจก. 50/492 ชั้นลาง โรงแรมอีสตินเลคไซด เมืองทองธานี 3 ถ.แจงวัฒนะ ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 Tel: 0-2503-2062-81 ext. GEM Fax: 0-2984-0302 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; HACCP; GMP; ISO/IEC Guide 25

QMS; EMS; HACCP; GMP; ISO/IEC Guide 25

-

29 เจแปน ควอลิตี้ แอชชัวแรนซ ออรแกไนเซชั่น (เจคิวเอ) ดําเนินการผาน ที คิว เอ บจก. อาคาร 253 อโศก ชั้นที่ 23 ถ.สุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0-2664-4004 Fax: 0-2664-4064 Email: [email protected] Web: www.tqa.co.th

ISO 9001:2000; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; OHSAS 18001; HACCP

not provided QMS; EMS JAB; RvA; UKAS; ANSI-RAB

30 เจอาร ซินเนอรจี้ บจก. 99/24 อาคารซอฟตแวรปารค ชั้น 11 หมู 4 ถ. แจงวัฒนะ ต. คลองเกลือ อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 11120 Tel: 0-2962-1949 Fax: 0-2962-1565 Email: [email protected] Web: www.jrs.co.th

not provided QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; ISO/IEC 17025; GMP/HACCP; OHSAS 18001

QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; ISO/IEC 17025; GMP/HACCP; OHSAS 18001

-

31 ซี ซี ที สแควร บจก. 1570 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2939-7717 Fax: 0-2513-7906 Email: [email protected] Web: www.cctsquare.com

not provided QMS; ISO/IEC 17025; QS 9000 QMS; ISO/IEC 17025; QS 9000 -

Page 76: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 8 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

32 ซีคิวเอ็ม บจก. 39/1 ซอยลาดพราว 124 ถ.ลาดพราว เขตวังทองหลาง กทม. 10310 Tel: 0-2934-1178-9 Fax: 0-2934-1180

not provided QMS; EMS; HACCP; TQM QMS; EMS; on request

-

33 ซูเพิรบ ควอลิตี้ เซอรวิส บจก. 102/167 หมู 2 ถนนรัตนาธิเบศร ตําบลไทรมา อําเภอเมือง นนทบุรี 11000 Tel: 0-2921-7862 Fax: 0-2985-9355

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; CE Mark; Management Skill, 5S, TDA

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; CE Mark; Management Skill, 5S, TDA

-

34 เซอรติฟเคชั่น (ประเทศไทย) บจก. 3/32 ถนนพหลโยธิน พญาไท กทม. 10400 Tel: 0-2279-9909 Fax: 0-2279-9910 Email: [email protected] Web: www.cert-int.com

QMS; EMS; ISO/TS 16949; OHSAS 18001; GMP; HACCP; BS 7799

not provided not provided UKAS

35 ดอส อินเตอรเนชั่นแนล เทรนนิ่ง บจก. 296 ซอยลาดพราว 122 (มหาดไทย 1) ถนนลาดพราว แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กทม. 10310 Tel: 0-2934-1501-4 Fax: 0-2539-7139 Email: [email protected]

not provided QMS; HACCP QMS; HACCP -

36 ดับบลิวคิวเอ เวิรลดควอลิตี้ แอสโซซิเอท บจก. 100/86 ถนนรามอินทรา คันนายาว กทม. 10230 Tel: 0-2510-1144 Fax: 0-2945-8082

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000 QMS; EMS; OHSAS 18000 -

Page 77: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 9 Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

37 ดิน พี บจก. 37/35 สุขุมวิท 65 แขวงพระโขนงเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0-2381-5982 Fax: 0-2381-5982 Email: [email protected]

not provided EMS EMS -

38 เดท นอรสกี เวริทัส (ประเทศไทย) บจก. 193/35 อาคารเลครัชดาออฟฟส คอมเพล็กซ ชั้น 10 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2264-0313-4 Fax: 0-2264-0315

QMS; EMS; QS 9000; OHSMS

not provided LCM; ISRS; IQRS; IERS RVA; RAB; UKAS

39 ไดเรคท ออกาไนซิ่ง ซัพพลาย บจก. 296 ซอยลาดพราว 122 (มหาดไทย 1) ถนนลาดพราว แขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กทม. 10310 Tel: 0-2934-1501-4 Fax: 0-2539-7139 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP QMS; EMS; GMP; HACCP -

40 เตทตา อี เอเซีย บจก. 79/2 ซอยพหลโยธิน 33 ถนนพหลโยธิน ลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2939-7050-1 Fax: 0-2939-7589

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

-

41 ท็อปคอนซัลติ้งแอนดเทรนนิ่ง บจก. 25/437 หมู 10 ตําบลลาดสวาย ลําลกูกา ปทุมธานี 12150 Tel: 0-2549-7455 Fax: 0-2549-8491

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000 QMS; EMS; OHSAS 18000 -

Page 78: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 10Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

42 ทอปแมนเนจเมนท คอนซัลติ้ง (ประเทศไทย) บจก. 19/50 ถ.สุขสวัสดิ์ แขวงบางปะกอก ราชบูรณะ กทม. 10140 Tel: 0-2427-5676, 0-1841-5927 Fax: 0-2428-3637 Email: [email protected]

not provided QMS; Year 2000 project management

QMS; Year 2000 project management

-

43 ที คิว พี คอนซัลติ้ง บจก. 4/1152 ถ. นวมินทร คลองกุม บึงกุม กทม. 10230 Tel: 0-2311-3349; 0-1815-4294 Fax: 0-2311-3349

not provided QMS; ISO/IEC 17025; ISO 15189; QS 9000; EN 46000; SPC; The 7 QC Tools; The New 7 QC Tools; Production Planning; GMP/HACCP; QC Story; TQM; SQF 2000; SA 8000

QMS; ISO/IEC 17025; ISO 15189; QS 9000; EN 46000; SPC; The 7 QC Tools; The New 7 QC Tools; Production Planning; GMP/HACCP; QC Story; TQM; SQF 2000; SA 8000

-

44 ที่ปรึกษาธุรกิจอาเธอรแอนเดอรเซน บจก. อาคารสยามทาวเวอร ชั้น 20-22, 989 ถ.พระราม 1 เขตปทุมวัน กทม. 10330 Tel: 0-2658-0658 Fax: 0-2658-0660-3 Email: [email protected], [email protected] Web: www.arthurandersen.com

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

Page 79: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 11Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

45 ทียูวี ไรนแลนด ประเทศไทย บจก. ชั้น 18 ธารารมณบิสซิเนสทาวเวอร 2445/36-38 ถ.เพชรบุรีตัดใหม บางกะป หวยขวาง กทม. 10320 Tel: 0-2318-4862-3 Fax: 0-2318-4864 Email: [email protected] Web: www.tuv.com

QMS; EMS; ISO 13485; ISO/IEC 17025; JIS Q 9001:2000; HACCP; TL 9000; OHSAS; SA 8000; QS 9000; ISO/TS 16949; VDA 6.1; CE Marking; GS Mark; EMC Mark International Approvals; E Mark

not provided Management tools and techniques for maintaining the QMS; EMS; ISO 13485; ISO/IEC 17025; HACCP; SA 8000; TL 9000; OHSAS; QS 9000; ISO/TS 16949; Product Safety Testing Seminar

Accredited by TGA; VDA; IATF/VDA; QMC; DANAK; ANSI-RAB; TUV-CERT; Recognition under TUV Rheinland Group; DATECH; ZLS; CB Scheme; HOKLAS; and many international countries recognizes TUV Rheinland test reports

46 ทูฟ นอรด (ประเทศไทย) บจก. ชั้น 16 อาคารเนชั่น, 46/75-76 หมู 10 ถ.บางนา-ตราด กม. 4.5 แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 10260 Tel: 0-2751-4050

QMS; EMS; OHSAS 18001; ISO/TS 16949; CDM; ISO 13485/ISO 13488;

not provided QMS; EMS; OHSAS 18001; ISO/TS 16949; CDM; ISO 13485/ISO 13488; ISO 22000; HACCP;

Accredited by TGA (Germany); RvA (Holland);

Page 80: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 12Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Fax: 0-2751-4048 Email: [email protected] Web: www.tuv-nord.com

ISO 22000; HACCP; SA 8000/AVE/BSCI; ISO 27001; BS 15000; CE Marking; GS Marking; ATEX; Third Party Inspection

SA 8000/AVE/BSCI; ISO 27001; BS 15000; CE Marking; GS Marking; ATEX; Third Party Inspection

UKAS (UK); RAB (USA); Belgert (Belgium); Innetro (Brasil)

47 เทคโนกรีน แมเนจเมนต คอนซัลแตนท บจก. 102/231 หมูบานลัดดารมย ถ.รัตนาธิเบศร ต.ไทรมา อ.เมือง นนทบุรี 11000 Tel: 0-2922-2255 Fax: 0-2922-2955 Email: [email protected] Web: come.to/technogreen

not provided QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25 QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25 -

48 เทรดมาสเตอรอินเตอรเนชั่นแนล บจก. 8 ซอยจรัญสนิทวงศ 57 ถนนจรัญสนิทวงศ บางบําหรุ บางพลัด กทม. 10700 Tel: 0 2886 4737 Fax: 0 2886 5501

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; CE Mark; Management Skill, 5S, TDA

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; CE Mark; Management Skill, 5S, TDA

-

49 ไทยประเมินรับรองสากล บจก. 25/56 อาคารทีพีไอทาวเวอร ชั้น 19 ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาธร กทม. 10120 Tel: 0 2678 6751 Fax: 0 2678 6750

QMS; EMS not provided QMS; EMS; ISO/TS 16949; TQM; Six Sigma Black Belt; Team Problem Solvings; 7-QC tools; Implementing 5 S's; Human Resource Management / Development

NAC (Thailand)

Page 81: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 13Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Email: [email protected] Web: www.ticacert.com

50 โนโว ควอลิตี้ เซอรวิสเซส (ประเทศไทย) บจก. อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น 15, 254 ซอยจุฬาลงกรณ 64 ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กทม. 10330 Tel: 0-2652-5351-2, 0-2218-9856 Fax: 0-2652-5350 Email: [email protected] Web: www.novo.com.sg

not provided QMS; EMS; ISO/IEC 17025; HACCP; TQM; QS 9000; Human resource management

QMS; EMS; ISO/IEC 17025; HACCP; TQM; QS 9000; Human resource management

-

51 บิสแมน อินเตอรเนชั่นแนล บจก. 1519/66-68 อาคาร 1 หอง 1105 ซ. ลาดพราว 41/1 ถ. ลาดพราว แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม. 10320 Tel: 0-2939-9097, 0-2939-9775 Fax: 0-2939-9684 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; Safety Management BS 8800; Safety Risk Assessment; Environmental Aspects Assessment

QMS; EMS; Safety Management BS 8800; Safety Risk Assessment; Environmental Aspects Assessment

-

52 บี คิว ไอ คอนซัลแตนท บจก. 119/182 หมู 6 แขวงคลองกุม เขตบึงกุม กทม. Tel: 0-2870-7382, 0-1826-9304 Fax: 0-2383-5020 Email: [email protected] Web: www.bqiconsultant.com

not provided ISO9001:2000; EMS; TIS 18000; GMP; Business Management; Accounting System Planning; Business Plan

ISO9001:2000; EMS; OHSAS 18000; Balanced Scorecard and Value Chain Management; KPI

Ministry of Finance

Page 82: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 14Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

53 บีวีคิวไอ (ประเทศไทย) บจก. เอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 16, 195 ถ.สาธรใต แขวงยานนาวา เขตสาธรใต กทม. 10120 Tel: 0-2670-4800 Fax: 0-2670-0510-1 Email: [email protected] Web: www.bvqi.com

QMS; EMS; OHSAS18001; TIS18001; SafetyCert; SA8000; ISO/TS16949; TE9000; GMP; Thai FDA GMP; HACCP; BRC; IFS; EurepGAP; Organics; Food Hygiene; AS9000; Tick IT; ISO17799; TL9000; Integrated Management System; Code of Conduct

not provided QMS; EMS; OHSAS18001; TIS18001; SA8000; ISO/TS16949; GMP; HACCP; BRC; IFS; EurepGAP; Organics; Food Hygiene; Integrated Management System; Continual Improvement

UKAS; RAB; OAA; JAS ANZ; A.Z; INN; HKAS; SIC; BELCERT; INMETRO; DANAK; COFRAC; TGA/DAU; SINCERT; JAB;KAB; Ministere de I' environment; EMA; RVA; PNAC; IPQ; SAC; ENAC; SWEDAC; SAS; CNAB; SCC; SECAMER

54 บีเอ็ม ทราดา (ประเทศไทย) บจก. 14/16 ซ. ฟลอราวิลล ถ. พัฒนาการ เขตสวนหลวง กทม. 10250 Tel: 0-2722-2981, 0-2722-4055-84 ext.5011

QMS; EMS; Tickit; Product conformity certification; EMAS

not provided QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25; ISM Code; Safety management

Accredited by UKAS (UK)

Page 83: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 15Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Fax: 0-2722-0179 Email: [email protected]

certification

55 บีเอสไอ เซอรทิฟเคชั่น เซอรวิสเซส (ไทยแลนด) บจก. เลขที่ 990 อาคารอับดุลราฮิม ชั้นที่ 10 ยูนิต 1005 ถ. พระราม 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500 Tel: 0-2636-0817-9 Fax: 0-2636-0827 Email: [email protected] Web: www.bsithailand.com

QMS; EMS; QS-9000; ISO/TS 16949; ISO 17799/ BS7799; TL-9000; ESD; OHSAS18001; CE Mark; Kite Mark

not provided QMS; EMS; QS-9000; ISO/TC16949; ISO 17799/ BS7799; TL-9000; ESD; OHSAS18001

UKAS; RVA; ANSI-RAB; JAB; SCC; Inmetro; HKAS; PSB; IATF; QUEST; IRCA

56 เบสไลท เทคโนโลยี คอนเซาทแตนท บจก. 622 เอ็มโพเรียม ทาวเวอร ชั้น 10 เลขที่ 10/2-3 สุขุมวิท คลองตัน คลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2664-7201 Fax: 0-2260-8099 Email: [email protected]

ISO 17799; BS 7799

ISO 17799; BS 7799 ISO 17799; BS 7799 NOREA

57 ปโตรเคมีแหงชาติ บมจ. 123 ถนนวิภาวดีรังสิต ลาดยาว จตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2617-7800 Fax: 0-2617-7888

not provided EMS; OHSAS/TIS 18000 EMS; OHSAS/TIS 18000 -

58 โปร-แอพพลิเคชั่นเซอรวิซ บจก. (UL) (Authorized Sales Representative of Underwriters Laboratories Inc.) 46/173 หมู 12 ถนนนวลจันทร แขวงคลองกุม เขตบึงกุม กรุงเทพฯ 10230 Tel: 0-2363-7767-9 Fax: 0-2363-7770

UL Mark for U.S. and Canada; UL Mark for Argentina; UL-GS Mark for

Provided Services Covering Global Product Safety Certification ; e.g. CE Marking; RoHS & WEEE Directive; E

RoHS; Six Sigma; Product Safety -

Page 84: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 16Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Email: [email protected] Web: www.proapplication.com

Germany, S Mark for Argentina; CCC Mark for China; PSE Marks for Japan; CE Marking for Europe; NOM Mark for Mexico; Brazilian Mark; RoHS Directive

Mark for Europe; CB Scheme for international markets; TISI Mark for Thailand ; Canada and Other National Mark, FCC&EMC Certificate, etc.

59 พรีมา แมเนจเมนท บจก. 58/79 ชั้น 5 วิภาวีคอนโด ซ.วิภาวดี 16 (โชคชัยรวมมิตร) ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Tel: 0-2690-0600-1 Fax: 0-2690-0601 Email: [email protected] Web: www.primamgt.com

not provided ISO 9001 (manufacturing & service); EMS; QS 9000; ISO/TS16949; GMP/HACCP; etc.

In-house and public training on ISO 9001; QS 9000; EMS; ISO/TS 16949; GMP/HACCP; 6-Sigma; KPI; Policy Deployment; Statistic; 5S; etc.

-

60 พารากอน แมเนจเมนท บจก. 51/993 ถ.ลําลูกกา ต.คูคต อ.ลําลูกกา ปทุมธานี 12130 Tel: 0-2995-6671 Fax: 0-2995-4375

not provided QMS; EMS; QS 9000; HACCP; ISO/IEC Guide 25

QMS; EMS; QS 9000; HACCP; ISO/IEC Guide 25

-

61 พีทีแอนดซิสเต็มสดีเวลลอปเมนท บจก. 110/37 ซ.โพธิ์แกว ถ.นวมินทร เขตบึงกุม กทม. 10240 Tel: 0-2948-4183-4 Fax: 0-2948-4184

not provided QMS; EMS; TQM; TQC; HRM, PSDM (KT)

QMS; EMS; TQM; TQC; HRM, PSDM (KT)

-

Page 85: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 17Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

62 เพอรรี่ จอหนสัน รีจิสตราร อิงค อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้นที่ 27 เลขที่ 179 ถ.สาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120 Tel: 0-2343-1713 Fax: 0-2343-1712 Email: [email protected] Web: www.pjr.com

QMS; EMS; QS 9000

not provided not provided RvA; TGA; KBA; DAR; UKAS; JAB; RAB; Inmetro

63 เพอรรี่ จอหนสัน อิงค เลขที่ 55 ชั้น 10 อาคารเวฟเพลส ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 Tel: 0-2655-4700; Toll free : 1-800-295-534 Fax: 0-2655-4699 Email: [email protected] Web: www.pji.com

not provided QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949

QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949 IRCA; RAB; JAB; IEMA; U.S. OPM; U.S. GSA; AIAG and Ford-UAW

64 ไพรมเอเชีย บจก. 3/94 อาคาร 1 ชั้น 8 ประชานิเวศน 1 สแควร ถ. เทศบาลนิมิตเหนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2580-3048 Fax: 0-2580-3049

not provided QMS; Safety QMS; Safety -

65 ฟนิกซ คอนซัลติ้ง กรุป บจก. อาคาร 253 อโศก ชั้นที่ 17 253 ถนนอโศกมนตรี (สุขุมวิท 21) แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0 2261-4188-9 Fax: 0 2261-4188-9 # 104 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

Ministry of Finance; Certified QSME by TISI

Page 86: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 18Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

66 แฟรนซิสโก อินเตอรเนชั่นแนล บจก. 389/7 หมู 4 ถ.รมเกลา คลองสามประเวศ ลาดกระบัง กทม. 10520 Tel: 0-2915-3005, 0-2915-1606 Fax: 0-2915-1606 Email: [email protected], [email protected] Web: www.franciscointer.com

not provided ISO 9000; EMS; ISO/IEC Guide 25; QS 9000; GMP; HACCP

ISO 9000; EMS; ISO/IEC Guide 25; QS 9000; GMP; HACCP

-

67 มูดี้ อินเตอรเนชั่นแนล (ไทยแลนด) บจก. 539/2 อาคารมหานครยิปซั่ม ชั้น 11 C ถ.ศรีอยุธยา แขวงพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 Tel: 0-2248-1817 Fax: 0-2248-5707 Email: [email protected] Web: www.moodythai.com

QMS; EMS; QS 9000; TS 16949 OHSAS 18001 SA 8000

not provided EARA accredited ISO 14000; IRCA accredited ISO 9000 and lead auditor courses

Accredited by UKAS, RAB, COFRAC, SCC, VDA, TGA/DAR, KBA, SINCERT

68 มูลนิธิพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องนุงหมไทย 127/36 ปญจธานีทาวเวอร ชั้น 31 ถนนนนทรี ชองนนทรี ยานนาวา กทม. 10120 Tel: 0-2681-2222 Fax: 0-2681-2221 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; QSME; TLS 8001; SA 8000

not provided -

69 แม็กซ ควอลิตี้ บจก. 3/32 ซอยพหลโยธิน 2 ถนนพหลโยธิน เขตพญาไท กทม. 10400 Tel: 0-6991-3002, 0-2279-9881 Fax: 0-2615-2822 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; QS 9000; OHSAS 18001; ISO/TS 16949; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; SA 8000; TLS 8000; Human Resource; IT Management

-

Page 87: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 19Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

70 แมนเนจเมนท เซิรท บจก. เลขที่ 1 อาคารซี.พี. ทาวเวอร 2 ชั้น 26 ถ. รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ 10320 Tel: 0-2699-5063-4 Fax: 0-2699-4108

QMS; EMS not provided QMS ; ISO 9001:2000; Improvement and to Increase Potential of Assessor; Tools for Improvement of a Quality

-

71 แมเนจเมนทโซลูชั่นสอินเตอรเนชั่นแนล บจก. 151 อาคารทีม ถนนนวลจันทร คลองกุม เขตบึงกุม กทม. 10240 Tel: 0-2509-9054-5 Fax: 0-2509-9060

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

72 ยูนิเวอรแซลคอมไพลแอนซรีจิสตรา บจก. 29/125 หมู 2 ถนนติวานนท อําเภอเมือง นนทบุรี 11000 Tel: 0-2526-6609-10 Fax: 0-2526-6610

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP QMS; EMS; GMP; HACCP -

73 ยูไนเต็ด รีจิสตรา ออฟ ซิสเท็มส (ประเทศไทย) บจก. 25/73 หมู 8 ถ.รัตนาธิเบศร ต.บางกระสอ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 Tel: 0-29697722-5 Fax: 0-29697726-7

QMS; EMS; QS 9000

not provided not provided -

74 ยูไนเต็ด อินทิเกรชั่น บจก. 626 ถ.จรัญสนิทวงศ แขวงบางออ เขตบางพลัด กทม. 10700 Tel: 0-2880-0952 Fax: 0-2880-0953 Email: [email protected] Web: www.uintegration.com

not provided QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; GMP/HACCP; OHSAS/TIS 18000; SA/TLS 8000; TQC/TQM; QCC 5-s

QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; GMP/HACCP; OHSAS/TIS 18000; SA/TLS 8000; TQC/TQM; QCC 5-s

-

Page 88: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 20Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

75 ยูโรเปยน ควอลิตี้ แอสชัวแรนส อาคาร 253 อโศก ชั้นที่ 15 ถ.สุขุมวิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0-2664-2738, 0-2261-6108 Fax: 0-2664-2738, 0-2261-6108 # 14 Email: [email protected] Web: www.eqapacific.com

QMS; EMS; AS 9100; ISO/TS 16949; OHSAS 18001; GMP; HACCP; SA 8000

not provided QMS; EMS; AS 9100; ISO/TS 16949; OHSAS 18001; GMP; HACCP; SA 8000

UKAS; SAC; ENAC; INAB; ESYD; RAB

76 ยูอีอี เทคโนโลยี (ประเทศไทย) บจก. 3079/8-10 อาคาร Easynet ถนนสุขุมวิท บางจาก พระโขนง กทม. 10260 Tel: 0-2730-6300 Fax: 0-2730-6305

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; GMP; HACCP

QMS; EMS; OHSAS 18000; GMP; HACCP

-

77 โรแบรแอนดแสโซซิเอทส (ประเทศไทย) บจก. 193/31 อาคารเลครัชดาออฟฟส คอมเพล็กซ ชั้น 8 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2661-8952-57 Fax: 0-2661-8958 Email: [email protected] Web: www.robere.com

not provided QMS; EMS; TQM; EN46000; CE mark; QMS Auditor; Certified Lead Auditor; Certified Internal auditor; Six Sigma; ISO/TIS16949; SA8000

QMS; EMS; TQM; EN46000; CE mark; QMS Auditor; Certified Lead Auditor; Certified Internal auditor; Six Sigma; ISO/TIS16949; SA8000

Certified by BVQI (ISO 9002); IRAC; IATCA; SAI

78 ลอยดส รียิสเตอร ควอลิตี้ แอชชัวแรนซ บจก. อาคารสิรินรัตน ชั้น 14, 3388/46 ถ.พระราม 4 คลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2367-5594-7 Fax: 0-2367-5598 Email: [email protected]

QMS; EMS; OHSAS 18001; QS 9000; ISO/TS 16949;

not provided QMS; EMS; SMS Accredited by UKAS (UK); TGA-DAR; JAS-ANZ; RvA;

Page 89: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 21Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Web: www.lrqa.com HACCP; CE Marking; PED Directives

RAB; COFRAC; JAB; INMETRO; KAB; SINCERT; SCC; ENAC; BELCERT

79 โลมา บิสซิเนส คอนซัลติ้ง บจก. 5/2215-6 ซ.7 ถ.สามัคคี ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 Tel: 0-2980-0061 Fax: 0-2980-0062 Email: [email protected] Web: www.loma.co.th

not provided QMS; EMS; TIS 18000 QMS; EMS; TIS 18000; Quality Improvement Trainings

-

80 วิท อินเตอรเนชั่นแนล แอสเซสเมนท (ประเทศไทย) บจก. 1126/1 อาคารวานิช 1 ชั้นที่ 9 หองหมายเลข 904, 906 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กทม. 10400 Tel: 0-2255-8746-8 Fax: 0-2255-8749 Email: [email protected] Web: www.wit-int.com

QMS; EMS; QS 9000; ISO/TS 16949; TL 9000; HACCP; CE; Organic Certificate and etc

not provided not provided CNAB (China); RAB (U.S.A.)

81 วีทีไอ (กรุงเทพ) บจก. 101/22 หมูที่ 3 ถ. รัตนธิเบศร ต. ไทรมา อ. เมือง จ. นนทบุรี 11000 Tel: 0-2985-3350-3 Fax: 0-2985-3004 Email: [email protected]

QMS; EMS; QS 9000; OHSAS 18000

not provided ISO 9000 Lead Assessor, ISO 14000 Lead Assessor

CNAB; RvA

Page 90: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 22Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

82 เวอรตี้ คอนเซลเลอร บจก. 200/518 ซ.เปรมประชา ถ.วิภาวดีรังสิต อ.เมือง ปทุมธานี 12000 Tel: 0-2536-2842 Fax: 0-2536-2842 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

83 เวิลดวายดแมเนจเมนท บจก. 604 อาคารมิตติ้งมอลล ถนนจรัญสนิทวงศ บางออ บางพลัด กทม. 10700 Tel: 0-2879-0877-9 Fax: 0-2879-0878

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000

-

84 แวลูบิสซิเนส คอนซัลแทนท บจก. 13/1 พหลโยธิน 30 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2939-6904 Fax: 0-2939-6905

not provided QMS QMS -

85 ศูนยคุณภาพและความปลอดภัย 57 ซอย 5 ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2272-1640-2 Fax: 0-2617-9003

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

86 สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ อาคารยาคลูท ชั้นที่ 12-15, 1025 ถ.พหลโยธิน เขตพญาไท กทม. 10400 Tel: 0-2619-5500 Fax: 0-2619-8100 Email: [email protected] Web: www.ftpi.or.th

not provided QMS; EMS; Productivity and Human resource development

QMS; EMS; Productivity and human resource development

Certified by RWTUV (ISO 9002)

87 สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ชั้น 11 อาคารยาคลูท 1025 ถ.พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กทม. 10400 Tel: 0-2617-1723-36 Fax: 0-2617-1707-9

ISO 9000; EMS; TIS 18000

not provided not provided Accredited by NAC (Thailand);

Page 91: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 23Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Email: [email protected] Web: www.masci.or.th

JAS-ANZ

88 สถาบันสิ่งแวดลอมไทย 210 สุขุมวิท 64 โรงกลั่นน้ํามันบางจาก อาคาร 4 กทม. 10260 Tel: 0-2331-0047; 0-2741-6350-7 Fax: 0-2332-4870 Email: [email protected] Web: www.tei.or.th

Green Label not provided not provided -

89 สถาบันสิ่งเสริมเทคโนโลยี ซอยพัฒนาการ ถนนพัฒนาการ สวนหลวง กทม. 10250 Tel: 0-2717-3000-29 # 81 Fax: 0-2719-9481-3

not provided QMS; ISO/IEC 17025 QMS; ISO/IEC 17025 -

90 สถาบันอาหาร 2008 ถนนจรัญสนิทวงศ ซอย 40 แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 Tel: 0-2886-8088 Fax: 0-2886-8106-7 Web: www.nfi.or.th

not provided HACCP; GMP: ISO/IEC 17025

ISO/IEC 17025; GMP and HACCP in Food Industry; Process Control Produces (PCP) for Low-Acid Food

-

91 สยาม ดีเวลลอปเมนท เทคโนโลยี แอนด คอนซัลแตนท บจก. เลขที่ 200 หมู 4 อาคารจัสมินอินเตอรเนชั่นแนลทาวเวอร ชั้น 5 หอง 505 ถ. แจงวัฒนะ ต. ปากเกร็ด อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 11120 Tel: 0-2583-6098-9 Fax: 0-2583-3355 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; TIS 18000; Risk Assessment

not provided -

Page 92: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 24Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

92 สยามโปรดัคติวิตี้ บจก. 48 ซอยเลิศปญญา ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กทม. 10400 Tel: 0-2246-9106-7 Fax: 0-2246-9109

not provided ISO 9000; TPM; TQM ISO 9000; TPM; TQM -

93 สํานักงานรับรองระบบคุณภาพ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย (สร.-วสท.) 487 อาคาร ว.ส.ท. ชั้น 3 ซ.รามคําแหง 39 วังทองหลาง กทม. 10310 Tel: 0-2319-2410-3, 0-2319-2708-11 ext 330-335 Fax: 0-2319-2706 Email: [email protected], [email protected]

QMS, EMS, Tickit Product Certification

not provided QMS, EMS Accredited by UKAS

94 สํานักรับรองระบบคุณภาพภายใต สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 196 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2579-9541 Fax: 0-2579-9541 Email: [email protected] Web: www.tistr.or.th

QMS; EMS not provided QMS; EMS -

95 อซิมุธ บจก. 1 ฟอรจูนทาวน ถนนรัชดาภิเษก ดินแดง กทม. 10320 Tel: 0-2642-0333-4, 0-2642-0330 Fax: 0-2699-4113-4 Email: [email protected] Web: www.azimuth.co.th

not provided QMS; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000

QMS; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; SA 8000

-

Page 93: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 25Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

96 อนันตราทิแอดไวเซอร (ประเทศไทย) บจก. 24 อาคารไพรม ถนนสุขุมวิท 21 คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110 Tel: 0-2260-4960-3 Fax: 0-2260-4962

not provided QMS; EMS not provided -

97 ออมเน็กซ บจก. 140 อาคารแปรซิฟกเพรส ชั้น 17 หอง 1709 ถ. สุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2254-7794-6 Fax: 0-2254-7797 Email: [email protected] Web: www.omnex.com

not provided QMS; QS 9000; ISO/TS 16949; ISO 9001:2000; ISO/IEC 17025; ISO 14001; QOS/BOS/TQM

QMS; EMS; QOS/BOS/TQM; Six Sigma Black Belt; QS 9000; ISO/TS 16949; ISO 9001:2000; Team Problem Solvings; 7-QC tools; Implementing 5 S's; Human Resource Management / Development

Ford; Semiconductor Assembly Council (SAC), TRW, Delphi Automotive Systems; BMW; Isuzu

98 อารีโอปา (ประเทศไทย) บจก. 958/5 อาคารวินนิ่ง ถ.สุขุมวิท 71 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2713-0931-3 Fax: 0-2713-0934 Email: [email protected] Web: www.areopa.com

not provided ISO 9000; Business process re-engineering; TQM

QMS -

99 อิคโซรา บจก. 101/77 หมู 6 ซอยเอกชัย 49 ถ.เอกชน เขตบางบอน กทม. 10150 Tel: 0-2898-0458 Fax: 0-2898-0461 Email: [email protected] Web: www.ixora.com

not provided QMS; EMS QMS; EMS -

Page 94: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 26Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

100 อิโคลัส เอ็นวี บจก. 382 การเดนทซิตี้ ซ.สุขุมวิท 79 พระโขนง เขตคลองเตย กทม. 10250 Tel: 0-2332-7684 Fax: 0-2742-6263 Email: [email protected]

not provided EMS not provided -

101 อินติเกรตเต็ด แมเนจเมนท ซิสเต็ม คอนซัลติ้ง บจก. (ไอเอ็มเอส คอนซัลติ้ง) 322/59 ชั้น 23 อาคารสุรวงษวัฒนาคาร ถ.สุรวงศ สี่พระยา บางรัก กทม. 10500 Tel: 0-2267-1140 Fax: 0-2612-1314 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS 18001 QMS; EMS; OHSAS 18001 -

102 อินเตอรเทคเทสติ้งเซอรวิสเซส (ประเทศไทย) บจก. 5/1 พหลโยธิน 28 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2930-6554 Fax: 0-2939-0661 Email: [email protected] Web: www.itsintertek.com

QMS; EMS; QS 9000; CE, S-Mark; GS-Mark; WH-Mark; ETL, CETL

not provided QMS; ISO 9000 Lead auditor course Accredited by RAB, RvA, UKAS, SCC

103 อินเตอรเนชั่นแนล เซอรติฟเคชั่นส บจก. อาคารออมนิ เทาเวอร 69/53 ซ. 4 (นานาใต) ถ. สุขุมวิท คลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2656-7758, 0-2656-8300 Ext. 3653 Fax: 0-2656-7759 Email: [email protected] Web: www.intlcert.com

QMS; EMS; QS 9000; HACCP (AS/NZS 3901)

not provided QMS; EMS; HACCP Accreditation by JAZ-ANZ; UKAS and RAB

104 อินเตอรเนชั่นแนล อินสเปคชั่น บจก. (ยูแอล) 87/109 อาคารโมเดิรนทาวน ชั้น 12 สุขุมวิท 63 คลองตัน กทม. 10110 Tel: 0-2381-7745-7 Fax: 0-2381-7748

QMS; EMS; AS 9000; TE 9000; UL;

not provided On request Accredited by RAB, UKAS, RvA, SCC,

Page 95: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 27Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Email: [email protected] Web: www.ul.com

DEMKO; CE; NOM; ANCE; ULC

VDA

105 อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นไวรอนเมนทอล แมนเนจเมนจ บจก. (ไอ.อี.เอ็ม บจก.) 339 อาคาร เดอะเรเนอซองส ซ. พิพัฒน ถ. สีลม แขวง สีลม เขต บางรัก กทม. 10500 Tel: 0-2231-5184-5, 0-2636-6683-4 Fax: 0-2236-6276 Email: [email protected] Web: www.iem-thai.com

not provided EMS; Environmental Audit; Safety Management System; Chemical Audit; Risk Assessment

EMS; Environmental Audit; Safety Management System; Chemical Audit; Risk Assessment

-

106 อินเตอรเนชั่นแนลบิสซิเนสสแตนดารดคอนเซาทแทนส บจก. 3/22 อาคาร C7 เมืองทองธานี ถนนปอปปลูา ตําบลบางพูด ปากเกร็ด นนทบุรี 11120 Tel: 0-2981-6200-1 Fax: 0-2981-6202 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000; SA 8000; TQM/TPM; QCC; 5S; Productivity

QMS; EMS; OHSAS 18000; ISO/TS 16949; GMP; HACCP; QS 9000; SA 8000; TQM/TPM; QCC; 5S; Productivity

-

107 อินทิเกรต คอนซัลติ้ง บจก. 12/555 อาคารกุหลาบ ชั้น 12 หมู 5 ถนนบางนา-ตราด ตําบลบางแกว อําเภอบางพลี สมุทรปราการ 10540 Tel: 0-2316-1210-3 Fax: 0-2316-1214

not provided QMS; EMS; ISO/TS 16949; QS 9000

QMS; EMS; ISO/TS 16949; QS 9000 -

108 อีอารเอ็ม เซอรติฟเคชั่น แอนด แวริฟเคชั่น เซอรวิสเซส ลิมิเต็ด 55 อาคารเวฟ เพลส ชั้น 17 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 Tel: 0-2655-1706 Fax: 0-2655-1709 Email: [email protected] Web: www.erm.com

ISO 14001 not provided EARA Lead Assessor; EMS Implementation/ Auditing; EARA&RAB Accredited Lead Auditor

UKAS

Page 96: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 28Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

109 อีอารเอ็ม สยาม บจก. 55 อาคารเวฟ เพลส ชั้น 17 ถ.วิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 10330 Tel: 0-2655-1390 Fax: 0-2655-1399 Email: [email protected] Web: www.erm.com

not provided EMS; H&S Management System; ER&S Training Workshop; System Streamlining (Integrated Management System); ISO 14001 Pre-certification Assessment; SA 8000

EMS Training (Introduction to ISO 14001, Implementation Training, Auditor Training); Health&Safety Training; SA8000

-

110 เอ็กซเซล ควอลิตี้ อินเตอรเนชั่นแนล บจก. อาคารสุธรรมพงษ ชั้น G 13/13 ถ.ศรีนครินทร แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10260 Tel: 0-2743-4203 Fax: 0-2743-4204 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25 QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25; TQM; QES

-

111 เอ็กซเพิรทเทรนนิ่ง บจก. และ เอ็กซเพิรทแมเนจเมนท บจก. 193/38 ถ.รัชดาภิเษก เขตคลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2661-9253, 0-2974-1206 Fax: 0-2661-9254, 0-2974-1207 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25; TIS 18000/BS 8800; Statistical Techniques; Root course analysis; QFD; Maintenance management

QMS; EMS; ISO/IEC Guide 25; TIS 18000/BS 8800; Statistical Techniques; Root course analysis; QFD; Maintenance management

-

112 เอเจเอ รีจีสตราส บจก. 200 หมู 4 อาคาร จัสมินอินเตอรเนชั่นแนล ทาวเวอร ชั้น 18 หอง 1802 ถ. แจงวัฒนะ อ. ปากเกรด็ จ. นนทบุรี 11120 Tel: 0-2964-9919 Fax: 0-2964-9920

QMS; EMS not provided QMS; EMS Accredited by UKAS; IRCA; EARA; SAC; JAS-ANZ; NAC

Page 97: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 29Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Email: [email protected] Web: www.ajathailand.com

(Thailand)

113 เอซีอินโฟเทค บจก. 128/69 อาคารพญาไทพลาซา ชั้น 7 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กทม. 10400 Tel: 0 2216-5824-5 Fax: 0 2216-5826 Email: [email protected] Web: www.acinfotec.com

not provided ISO 27001; ISO 17799; BS 7799; Information Security Risk Assessment; Business Continuity Management

ISO 27001; ISO 17799; BS 7799; Information Security Risk Assessment; Business Continuity Management

IRCA

114 เอ็นคิวเอ ซี.เอส. (ไทยแลนด) บจก. อาคาร ณ นคร ชั้น 9, 99/349 หมู 2 ถ.แจงวัฒนะ ทุงสองหอง หลักสี่ กทม. 10210 Tel: 0-2990-6500, 0-2990-6544 Fax: 0-2990-6545 Email: [email protected]

QMS; EMS; TS 16949; OHSAS 18001

not provided QMS; EMS; TS 16949; OHSAS 18001

UKAS; RAB; RvA

115 เอ็นไวโร แปซิฟค บจก. เลขที่ 1 อาคารฟอรจูนทาวน ชั้น 24 ถ. รัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ 10320 Tel: 0-2642-0330, 0-2642-0333 Fax: 0-2699-4114 Email: [email protected] Web: www.azimuth.co.th

not provided QMS; EMS; EN46000; TS 19649; SA 8000

QMS; EMS; EN46000; TS 19649; SA 8000

Certified by RWTUV (ISO 9001)

116 เอบีเอส กรุป อิงค 109 อาคารศรีเทพไทย ชั้น 6 ถ. บางนา-ตราด กม. 2.5 กทม. 10260 Tel: 0-2399-2420-7, 0-2576-1504

QMS; QS 9000 not provided not provided -

Page 98: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 30Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Fax: 0-2399-2419 Email: [email protected]

117 เอลลิแกนท เอ็นเตอรไพรส บจก. 41/147 ลดาวัลยเลคโคโลเนียล ถ.กาญจนาภิเษก เขตบางบอน กทม. 10150 Tel: 0-2895-0204-5 Fax: 0-2895-0205

not provided QMS not provided -

118 เอสจีเอส (ประเทศไทย) บจก. 100 ถ.นางลิ้นจี่ แขวงชองนนทรี เขตยานนาวา กทม. 10120 Tel: 0-2678-1813-42 Fax: 0-2678-1508 Email: [email protected] Web: www.sgs.com

QMS; EMS; QS9000; ISO/TS16949; TL 9000; SA8000; OHSAS18001; TIS 18001; ISO 13488; 13485/EN 46000; CE Mark for Medical Device; FSC/Chain of Custody; QUALIFOR; GMP; HACCP; SQF 2000; Food Hygiene; CIEH; HCE; BRC; Organic; EUREPGAP; Private Label

not provided QMS; EMS; QS9000; ISO/TS16949; TL 9000; SA8000; OHSAS18001; TIS 18001; ISO 13488; 13485/EN 46000; CE Mark for Medical Device; FSC/Chain of Custody; QUALIFOR; GMP; HACCP; SQF 2000; Food Hygiene; CIEH; HCE; BRC; Organic; EUREPGAP; Private Label Support

Accredited by NAC (Thailand); BMWA; BPS; CNACR; COFRAC; DAR/TGA; DGN; ENAC; INMETRO; INN; JAB; JAS-ANZ; NAC-QS; PORTUGAL; RAB; RVA; SAS; SCC; SINCERT; UKAS

Page 99: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 31Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Support

119 เออีเอ เทคโนโลยี (ประเทศไทย) บจก. อาคารเอ็มไพรทาวเวอร ชั้น 16, 195 ถ.สาธรใต ยานนาวา กทม. 10120 Tel: 0-2670-0535 Fax: 0-2670-0540 Email: [email protected] Web: www.aeat.co.uk

not provided EMS; Safety management system; waste minimisation; process efficiency

EMS; Safety management system; waste minimisation; process efficiency

-

120 เอเอสเอ เมนเนจเมนท บจก. 90/23 ถนนวัชรพล แขวงทาแรง เขตบางเขน กทม. 10220 Tel: 0-2948-0357-8 Fax: 0-2519-8414 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP QMS; EMS; GMP; HACCP -

121 แอดวานซ นาฟ บจก. 144/96 ถ.เสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะป กรุงเทพฯ 10240 Tel: 0-2377-4410-1 Fax: 0-2377-0324 Email: [email protected] Web: www.anav.co.th

not provided ISO 9001:2000; EMS; QS 9000; ISO/TS16949; AS 9100; HACCP; Improvement Engineering; SA 8000; Human Resources

ISO 9001:2000; EMS; QS 9000; ISO/TS16949; AS 9100; HACCP; Improvement Engineering; SA 8000; Human Resources

-

122 แอ็ดวานซ สแตนดารด ควอลิตี้ แอนด อินฟอรเมชั่น เทคโนโลยี บจก. 52/44 ซ.เทพนคร ถ.พหลโยธิน 52 แขวงคลองถนน เขตสายไหม กทม. 10220 Tel: 0-2973-8629, 0-2521-8724 Fax: 0-2521-8724, 0-2915-2850

not provided QMS; EMS; QS 9000; TIS 18000; TQM; TQM Diagnosis

Productivity Improvement; TQM; Human Resource management; QMS

-

123 แอดแวนซคีสโตนคอนซัลแตนท บจก. 79 พหลโยธิน 33 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900

not provided QMS; EMS; TIS 18000

QMS; EMS; TIS 18000

-

Page 100: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 32Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

Tel: 0-2513-2307 Fax: 0-2513-2308 Email: [email protected]

124 แอดแวนซแมเนจเมนทซิสเต็ม บจก. 79/2 พหลโยธิน 33 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2939-7050 Fax: 0-2939-7589

not provided QMS; EMS; TIS 18000

QMS; EMS; TIS 18000

-

125 แอดแวนซอินเตอรเนชั่นแนลแมเนจเมนทซิสเต็ม บจก. 79/1 พหลโยธิน 33 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2513-7805 Fax: 0-2513-2308, 0-2939-7589 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; QS 9000; TQM

QMS; EMS; QS 9000; TQM

-

126 แอ็ดแวนเทช บจก. 801/301 หมู 8 ถ.พหลโยธิน คูคด ลําลูกกา ปทุมธานี 12130 Tel: 0-2992-5330-2 Fax: 0-2992-5220

QMS; EMS; HACCP; PSB CSA certification

no information no information RvA; SAC

127 แอลวีเอ็ม (เอเชีย) บจก. 184/221 ชั้น 32 A ฟอรั่มทาวเวอร ถ.รัชดาภิเษก เขตหวยขวาง กทม. 10320 Tel: 0-2645-2299 Fax: 0-2645-2577

not provided QMS; EMS; ISO Guide 25

QMS; EMS; Production management -

128 แอสดี คอนคอรปอเรชั่น บจก. 2782-2789 ถนนลาดพราว ซอยลาดพราว 130 คลองจั่น เขยบางกะป กทม. 10240 Tel: 0-2731-1592, 0-2377-4161 Fax: 0-2731-0490, 0-2374-4537

not provided QMS; TQM QMS; TQM -

Page 101: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 33Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

129 แอสเปคส (ประเทศไทย) บจก. 1519/66-68 อาคาร 1 (หอง 1105) ซ.ลาดพราว 41/1 ถ.ลาดพราว แขวงสามเสนนอก เขตหวยขวาง กทม. 10320 Tel: 0-2939-9097, 0-2939-9775 Fax: 0-2939-9684

not provided QMS; EMS; Waste minimisation; Safety Management BS 8800; Safety Risk Assessment; Environmental Aspects Assessment

QMS; EMS; Waste minimisation; Safety Management BS 8800; Safety Risk Assessment; Environmental Aspects Assessment

-

130 ไอ คิว เอส แมนเนจเมนท บจก. 52/25-26 (P.2) ซอยรามคําแหง 60/4 ถนนรามคําแหง หัวหมาก บางกะป กทม. 10240 Tel: 0-2916-6422 Fax: 0-2735-1504

not provided QMS; EMS; GMP; HACCP QMS; EMS; GMP; HACCP -

131 ไอโซเคส (ไทยแลนด) บจก. 79/1 พหลโยธิน 33 ถ. พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel: 0-2930-2290-2 Fax: 0-2930-2293 Email: [email protected] Web: www.isoqar.com

QMS; EMS; QS 9000

not provided QMS; EMS; QS 9000 -

132 ไอโซลูชั่น บจก. 495 ซอยออนนุช 46 ถ.สุขุมวิท 77 เขตสวนหลวง กทม. 10250 Tel: 0-2721-3808-9 Fax: 0-2721-3810

not provided QMS QMS -

133 ไอดีเอ (ประเทศไทย) บจก. วินเซอร สูท โฮเต็ล 8-10 สุขุมวิท 20 คลองเตย กทม. 10110 Tel: 0-2262-1335 Fax: 0-2262-1335 Email: [email protected]

not provided QMS; EMS; TQM; Process improvement; Cost reduction

QMS; EMS -

Page 102: ISO-TS 16949

รายงานการศึกษา เรื่อง ผลกระทบจากมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ISO/TS 16949

ง - 34Leadership

2010

สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ

การบริการและสาขาการบริการ ชื่อบริษัท ที่อยู การรับรอง ที่ปรึกษา ฝกอบรม

รับรองโดย (Recognition)

134 ฮิวตั้นคอนซัลติ้ง (ไทยแลนด) บจก. 45/216 ถนนนวมินทร บางกะป กทม. 10240 Tel: 0 2248-1967-9 Fax: 0-2248-1969

not provided QMS QMS -