121
กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก กกกกกกกก กกกกกกกกกก กกกก ……………………………………………………….. กกกกกกกกกกกกกก 1. ตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตต ต-ต ตต ตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ก. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตต ต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต-ต ตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตต ตตต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตต 6. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ต. ตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตตต ตตตตตตตตตต ตตตต ตตตตตตต DMC ตตตตตตตตตตตต http://portal.bopp- obec.info/obec58 9 ตตตต ตตตตตตต ตต ตตตตตตต ตตต ตตต. ตตตตตตตตตตตตตต 3 ตตตตต

data.bopp-obec.infodata.bopp-obec.info/emis/news/File/20170613162318.docx · Web viewกระทรวงศ กษาธ การได กำหนดนโยบายการปฏ

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

กรอบการดำเนินงานเกี่ยวกับการรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๐

………………………………………………………..

ระดับสถานศึกษา

1. ตรวจสอบข้อมูล จำนวนประชากรวัยเรียนกลุ่มอายุ ๓-๕ ปี ในเขตบริการ จากข้อมูลกรมการ

ปกครอง กระทรวงมหาดไทย และข้อมูลจากการสำมะโนประชากรวัยเรียนในเขตบริการ

๒. ประชาสัมพันธ์ประกาศการรับนักเรียน รณรงค์ให้ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบเกี่ยวกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการเรียนระดับก่อนประถมศึกษา

๓. วางแผนการรับนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษาให้มีสิทธิและโอกาสในการเข้าเรียนอย่าง

เท่าเทียมและเสมอภาค

๔. สำรวจข้อมูลจำนวนนักเรียนกลุ่มอายุ ๓-๕ ปี ในเขตบริการที่เรียนในสถานศึกษา และส่วนที่ไปเรียนนอกสังกัด สพฐ. และเรียนโดยครอบครัวและองค์กรอื่นจัด สรุปรายงานผลการรับนักเรียนและการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษาประจำปีการศึกษา

๕. สรุปสภาพปัญหาอุปสรรคในการรับเด็กเข้าเรียนระดับก่อนประถมศึกษา และการรณรงค์ให้เรียนต่อการศึกษาภาคบังคับ และหาแนวทางแก้ไขร่วมกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

6. กำหนดหน่วยงานประสานงานการรับนักเรียน

๗. กำหนดปฏิทินการรับนักเรียน

๘. รายงานข้อมูลพื้นฐานการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ตามระบบ DMC ผ่านเว็บไซด์ http://portal.bopp-obec.info/obec589 ระบบออนไลน์ ๒๔ ชั่วโมง และ สพฐ. ตัดยอดนักเรียน 3 ครั้ง

๘.๑ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๙ รายงาน ภายในวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๙

๘.๒ ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ รายงาน ภายในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๙

๘.๓ ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๐ รายงาน ภายในวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๐

แผนการรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๐

โรงเรียนบ้านช้าง อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

……………………………………

จำนวนนักเรียนต่อห้อง อ.๑ ๓๐ คน : ห้อง ป.๑ ๓๐ คน : ห้อง

ชั้น อ.๑

ชั้น ป.๑

หมายเหตุ

ห้อง

นักเรียน

ห้อง

นักเรียน

๒๑

๑๐

ผู้รับผิดชอบการรับนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๐

ที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

เบอร์โทรศัพท์

๑.

นายวีรพรรณ์ บุษราคำ

ผู้อำนวยการโรงเรียน

๐๘๙๒๗๙๙๑๐๒

-

รองผู้อำนวยการโรงเรียน

-

๒.

นายภูเมธ ธนัตนันทเดช

ครูผู้รับผิดชอบการรับนักเรียน

๐๘๙๖๙๔๙๒๖๕

โทรศัพท์โรงเรียน

โทรสารโรงเรียน

-

นายภูเมธ ธนัตนันทเดชผู้รายงาน

ตำแหน่ง ครู

(ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐)

โครงการ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและอื่นๆ

สนองกลยุทธ์ สพฐ. ที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ

กลยุทธ์โรงเรียน ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามแนวทางการกระจายอำนาจทางการศึกษาหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมทุก

ภาคส่วน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการศึกษา

มาตรฐานคุณภาพการศึกษา สพฐ. ด้านการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และ

เกิดประสิทธิผล

ตัวบ่งชี้ สมศ. ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐

กลุ่มบริหารที่รับผิดชอบ งานวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ นายวีรพรรณ์ บุษราคำ และคณะครูระยะเวลาดำเนินการ มกราคม ๒๕๖๐ – มกราคม ๒๕๖๑

๑ หลักการและเหตุผล

กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนทุกโรงในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต ๑ ให้ดำเนินการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ พัฒนาการเรียนรู้ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร พัฒนาผู้เรียนอย่างหลากหลายเน้นให้ผู้เรียนเป็นคนไทยยุคใหม่ มีคุณภาพมาตรฐานระดับสากลมีความเป็นพลโลก เพื่อให้การจัดการศึกษามีคุณภาพตามนโยบายและประกาศดังกล่าว โรงเรียนบ้านช้างได้ตระหนักในความสำคัญและมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ทุกส่วนทุกระบบ จึงดำเนินการโครงการตามนบายกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อปฏิรูปการเรียนรู้โรงเรียนให้มีคุณภาพ มีกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและยั่งยืน โดยมีการชี้แจง สร้างความเข้าใจให้ตรงกัน และร่วมมือกันออกแบบระบบการทำงานเพื่อถือเป็นแนวปฏิบัติของสถานศึกษาที่ปฏิบัติตามนโยบายของกระทรวงศึกษาต่อไป

๒ วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการวางแผนและกระบวนการทำงานมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่การบริหารงานตามภารกิจทั้ง ๔ ด้านของสถานศึกษาและพัฒนาต่อยอดงานอย่างต่อเนื่อง

๒. เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓. เพื่อสรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ดังนี้

๑.) ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

๒.) ผลที่เกิดขึ้นกับครู

๓.) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครอง

๔.) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน

๓. เป้าหมาย

ด้านปริมาณ

๑. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนมีการวางแผนและกระบวนการทำงานมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่การบริหารงานตามภารกิจทั้ง ๔ ด้านของสถานศึกษาและพัฒนาต่อยอดงานอย่างต่อเนื่อง

๒. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนมีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนสรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน ดังนี้

๑. ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

๒. ผลที่เกิดขึ้นกับครู

๓. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครอง

๔. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน

ด้านคุณภาพ

๑. โรงเรียนบ้านช้าง มีการวางแผนและกระบวนการทำงานมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่การบริหารงานตามภารกิจทั้ง ๔ ด้านของสถานศึกษาและพัฒนาต่อยอดงานอย่างต่อเนื่อง

๒. โรงเรียนบ้านช้าง มีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓. โรงเรียนบ้านช้าง สรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนได้ ดังนี้

๑) ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสูงขึ้น

๒. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด

๓. นักเรียนมีชิ้นงาน/ผลงานที่สะท้อนความคิดขั้นสูง เช่น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า

แผนผังความคิด / Mind Mapping

๔. นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สรุปบันทึกความรู้สม่ำเสมอ

๕. นักเรียนสามารถใช้ทักษะทางภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖. นักเรียนสามารถใช้ทักษะทางภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๗. นักเรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม

๘. นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ

๒) ผลที่เกิดขึ้นกับครู

ด้านการจัดการเรียนการสอน

๑. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยรายงานระหว่างและหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน และรายงานพัฒนาการเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา ผลจากการรายงานทำให้ทราบถึงความก้าวหน้าของการพัฒนานักเรียน ทราบจุดเด่น – จุดด้อย นำไปพัฒนาปรับปรุงงานของครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ต่อผู้ปกครอง เมื่อพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านพฤติกรรม ปัญหาด้านการเรียนรู้และรายงานเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา ผลจากการรายงาน ผู้ปกครองได้รู้ถึงปัญหาในด้านพฤติกรรมและด้านการเรียน และได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและตรงตามเป้าหมาย ทราบผลการเรียนของนักเรียน และทราบความพึงพอใจของผู้ปกครอง และชุมชนที่มีต่อโรงเรียน

๓. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ต่อผู้บริหารโรงเรียน รายงานหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน เมื่อพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านพฤติกรรม มีปัญหาด้านการเรียนรู้ และรายงานเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา

ผลจากการรายงานของครู โรงเรียนทราบถึงปัญหาในด้านต่างๆ สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ทราบถึงจุดเด่น จุดด้อยในเรื่องการเรียนการสอน เพื่อนำจุดเด่นและจุดด้อย ไปส่งเสริม พัฒนาและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น

ด้านการพัฒนาศักยภาพครู ส่งผลดังนี้

๑. ครูมีการพัฒนา จัดหาและประยุกต์ สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ แบบฝึก แบบฝึกเสริมทักษะ ต่าง ๆ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

๒. ครูมีการสร้างผลงานที่เกิดจากการอบรม/พัฒนาความรู้ ความเข้าใจตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติงานส่งเสริมการเรียนรู้ที่รับผิดชอบในระดับตามที่กำหนดในมาตรฐานวิทยฐานะมีผลงานได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ผลที่เกิดจากความสามารถในการจัดการเรียนรู้ โดยการศึกษาปัญหา สร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา จัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน โครงงาน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

๓) ผลที่เกิดขึ้นกับสถานศึกษา

๑. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนด้านทรัพยากร/ทรัพย์สิน จากผู้ปกครอง ชุมนุม หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ

๒. สถานศึกษามีบรรยากาศทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของครูและผู้เรียน

๓. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าหาความรู้

๔. การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูทำให้การปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตามเวลาที่กำหนด

๕. มีระบบการทำงานเป็นทีมมากขึ้น

๖. มีแนวปฏิบัติด้านเอกสาร หลักฐานทางการศึกษาที่ถูกต้อง

๗. การพัฒนางานมีระบบถูกต้องและครบวงจร

๔) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน

๑. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและผู้นำชุมชน

๒. สถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษารองรับการศึกษาบุตรหลานของชุมชน

๓. สถานศึกษามีกิจกรรมทางสังคมร่วมกับชุมชน ให้บริการชุมชนในด้านต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง

๔. วิธีดำเนินการ

ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและอื่นๆ มีดังนี้

๑.กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” โรงเรียนกำหนดให้มีรายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อกิจกรรม เวลาที่ใช้ วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อที่จำเป็นต้องใช้ ผลที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน และแต่ละส่วนมีข้อควรคำนึง ดังนี้

๑. ชื่อกิจกรรม กำหนดให้ชัดเจน ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน

๒. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ควรใช้เวลาประมาณหนึ่งถึงหนึ่ง

ชั่วโมงครึ่ง

๓. วัตถุประสงค์ ควรอยู่ในกรอบที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้อย่างมี

ความสุข มีความพึงพอใจ

๔. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ควรให้ผู้เรียนได้

ศึกษา คิดวิเคราะห์เตรียมการ ลงมือปฏิบัติ สรุปและชื่นชมผลงาน รวมทั้งจัดเก็บกวาดดูแลรักษาบริเวณที่จัดกิจกรรมให้อยู่ในสภาพดีดังเดิม

๕. สื่อการเรียนรู้ ควรจัดให้เหมาะสมกับกิจกรรมและเพียงพอกับ

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

๖. การประเมินผลเน้นการสังเกต

๔.๓ ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ ขั้นประเมินและรายงานผล

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๓ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่

ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑) กิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” โรงเรียนกำหนดให้มีรายละเอียดเกี่ยวกับ ชื่อกิจกรรม เวลาที่ใช้ วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการจัดกิจกรรม วัสดุอุปกรณ์หรือสื่อที่จำเป็นต้องใช้ ผลที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน และแต่ละส่วนมีข้อควรคำนึง ดังนี้

๑. ชื่อกิจกรรม กำหนดตามความสนใจของผู้เรียน

๒. เวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ใช้เวลาประมาณหนึ่งถึงหนึ่งชั่วโมงครึ่ง

๓. วัตถุประสงค์ อยู่ในกรอบที่ผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้อย่างมีความสุข มีความพึงพอใจ

๔. ขั้นตอนการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ให้ผู้เรียนได้ศึกษา คิดวิเคราะห์เตรียมการ ลงมือปฏิบัติ สรุปและชื่นชมผลงาน รวมทั้งจัดเก็บกวาดดูแลรักษาบริเวณที่จัดกิจกรรมให้อยู่ในสภาพดีดังเดิม

๕. สื่อการเรียนรู้ จัดให้เหมาะสมกับกิจกรรมและเพียงพอกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม

๖. การประเมินผลเน้นการสังเกต

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอ ฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๒.กิจกรรมหลักสูตรเพิ่มเติมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารชั้นประถมศึกษา

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมจัดทำหลักสูตรเพิ่มเติมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารระดับชั้นประถมศึกษา

๔.๓ ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๓ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมหลักสูตรเพิ่มเติมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารชั้นประถมศึกษา

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่

ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑) กิจกรรมหลักสูตรเพิ่มเติมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารชั้นประถมศึกษา

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๓.กิจกรรมท่องอาขยานภาษาไทยตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมท่องอาขยานภาษาไทยตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

จัดทำดังนี้

- กำหนดให้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ท่องอาขยาน (ตามคู่มืองานธุรการประจำ

ชั้นเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๔.๓ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมท่องอาขยานภาษาไทยตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่

ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑)กิจกรรมท่องอาขยานภาษาไทยตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

- กำหนดให้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ท่องอาขยาน (ตามคู่มืองานธุรการประจำชั้นเรียน)

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๔.กิจกรรมท่องสูตรคูณคณิตคิดเร็ว ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมท่องสูตรคูณคณิตคิดเร็วตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

จัดทำดังนี้

- กำหนดให้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ท่องสูตรคูณคณิตคิดเร็ว (ตามคู่มืองานธุรการประจำชั้นเรียน)

๔.๓ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมท่องคณิตคิดเร็ว ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่

ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑)กิจกรรมท่องสูตรคูณคณิตคิดเร็วตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

- กำหนดให้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖

ท่องสูตรคูณคณิตคิดเร็ว (ตามคู่มืองานธุรการประจำชั้นเรียน)

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอ ฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๕.กิจกรรมสะเต็มศึกษา ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมสะเต็มศึกษาตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการจัดทำดังนี้

- โรงเรียนกำหนดให้ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ จัดสอนกิจกรรมสะเต็มศึกษา

๔.๓ ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมท่องคณิตคิดเร็ว ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑)กิจกรรมสะเต็มศึกษา ตามนโยบายรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ

- โรงเรียนจัดการเรียนการสอนสะเต็มศึกษา

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอ ฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๖.กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับปฐมวัย

๔.๓ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับปฐมวัย

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑)กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ระดับปฐมวัย

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

ผู้บริหารและคณะครู

รวมทั้งสิ้น

๗.กิจกรรมโรงเรียน ICU

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑.ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒.ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑) กิจกรรมโรงเรียน ICU

๔.๓ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑.สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๖. กิจกรรมในการดำเนินการ

กิจกรรมโรงเรียน ICU

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๓. ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้

ในการพัฒนาโครงการฯ

๔. จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นดำเนินการ (D)

๑)กิจกรรมโรงเรียน ICU

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

๑.ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตาม การดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๑.สรุปประเมินโครงการ

๒.จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอ ฝ่ายบริหาร

-

ม.ค. ๖๐-

ม.ค. ๖๑

ผู้บริหารและคณะครู

รวมงบประมาณ

เงินงบประมาณ

เงินนอกงบประมาณ

-

-

-

-

รวมทั้งสิ้น

๗.สถานที่

โรงเรียนบ้านช้าง

๘. การประเมินผลการดำเนินงาน

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือที่ใช้

ด้านปริมาณ

โครงการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการและอื่นๆ

๑. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนมีการวางแผนและกระบวนการทำงานมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานในหน้าที่การบริหารงานตามภารกิจทั้ง ๔ ด้านของสถานศึกษาและพัฒนาต่อยอดงานอย่างต่อเนื่อง

๒. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนมีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓. ร้อยละ ๙๐ โรงเรียนสรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนได้

ด้านคุณภาพ

๑.โรงเรียนบ้านช้าง มีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๒.โรงเรียนบ้านช้าง มีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓.โรงเรียนบ้านช้าง สรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนได้

ประเมินผล

แบบสำรวจ

แบบรายงาน

ประเมินผล

แบบสำรวจ

แบบรายงาน

ประเมินผล

แบบสำรวจ

แบบรายงาน

ประเมินผล

แบบสำรวจ

แบบรายงาน

๙. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.โรงเรียนบ้านช้าง มีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๒.โรงเรียนบ้านช้าง มีผลงานที่แสดงให้เห็นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และสะท้อนภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

๓.โรงเรียนบ้านช้าง สรุปประโยชน์ของผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนได้ดังนี้

๑) ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน

๑. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสูงขึ้น

๒. นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สถานศึกษากำหนด

๓. นักเรียนมีชิ้นงาน/ผลงานที่สะท้อนความคิดขั้นสูง เช่น คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า

แผนผังความคิด / Mind Mapping

๔. นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สรุปบันทึกความรู้สม่ำเสมอ

๕. นักเรียนสามารถใช้ทักษะทางภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๖. นักเรียนสามารถใช้ทักษะทางภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๗. นักเรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ส่วนรวม

๘. นักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการประกอบอาชีพ

๒) ผลที่เกิดขึ้นกับครู

ด้านการจัดการเรียนการสอน

๑. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยรายงานระหว่างและหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน และรายงานพัฒนาการเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา ผลจากการรายงานทำให้ทราบถึงความก้าวหน้าของการพัฒนานักเรียน ทราบจุดเด่น – จุดด้อย นำไปพัฒนาปรับปรุงงานของครูได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒.การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ต่อผู้ปกครอง เมื่อพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านพฤติกรรม ปัญหาด้านการเรียนรู้และรายงานเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา ผลจากการรายงาน ผู้ปกครองได้รู้ถึงปัญหาในด้านพฤติกรรมและด้านการเรียน และได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงทีและตรงตามเป้าหมาย ทราบผลการเรียนของนักเรียน และทราบความพึงพอใจของผู้ปกครอง และชุมชนที่มีต่อโรงเรียน

๓. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ต่อผู้บริหารโรงเรียน รายงานหลังการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน เมื่อพบว่านักเรียนมีปัญหาด้านพฤติกรรม มีปัญหาด้านการเรียนรู้ และรายงานเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา

ผลจากการรายงานของครู โรงเรียนทราบถึงปัญหาในด้านต่างๆ สามารถดำเนินการแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที ทราบถึงจุดเด่น จุดด้อยในเรื่องการเรียนการสอน เพื่อนำจุดเด่นและจุดด้อย ไปส่งเสริม พัฒนาและปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น

ด้านการพัฒนาศักยภาพครู ส่งผลดังนี้

๑.ครูมีการพัฒนา จัดหาและประยุกต์ สื่อการเรียนรู้ ได้แก่ แบบฝึก แบบฝึกเสริมทักษะ ต่าง ๆ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

๒.ครูมีการสร้างผลงานที่เกิดจากการอบรม/พัฒนาความรู้ ความเข้าใจตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือการปฏิบัติงานส่งเสริมการเรียนรู้ที่รับผิดชอบในระดับตามที่กำหนดในมาตรฐานวิทยฐานะมีผลงานได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ผลที่เกิดจากความสามารถในการจัดการเรียนรู้ โดยการศึกษาปัญหา สร้างนวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหา จัดทำงานวิจัยในชั้นเรียน โครงงาน ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

๓) ผลที่เกิดขึ้นกับสถานศึกษา

๑. สถานศึกษาได้รับการสนับสนุนด้านทรัพยากร/ทรัพย์สิน จากผู้ปกครอง ชุมนุม หน่วยงาน องค์กรต่างๆ ในการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ

๒. สถานศึกษามีบรรยากาศทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของครูและผู้เรียน

๓. สถานศึกษามีแหล่งเรียนรู้สำหรับนักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าหาความรู้

๔. การนิเทศติดตามผลการปฏิบัติงานของครูทำให้การปฏิบัติงานมีความสมบูรณ์ และเป็นไปตามเวลาที่กำหนด

๕. มีระบบการทำงานเป็นทีมมากขึ้น

๖. มีแนวปฏิบัติด้านเอกสาร หลักฐานทางการศึกษาที่ถูกต้อง

๗. การพัฒนางานมีระบบถูกต้องและครบวงจร

๔) ผลที่เกิดขึ้นกับผู้ปกครองและชุมชน

๑. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครองและผู้นำชุมชน

๒. สถานศึกษาระดับปฐมวัยและระดับประถมศึกษารองรับการศึกษาบุตรหลานของชุมชน

๓. สถานศึกษามีกิจกรรมทางสังคมร่วมกับชุมชน ให้บริการชุมชนในด้านต่างๆ รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง

(ตัวบ่งชี้ที่ ๙)

โครงการ แนะแนวการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

สนองกลยุทธ์ สพฐ. ที่ ๔ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ

กลยุทธ์โรงเรียน ที่ ๕ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการตามแนวทางการกระจาย

อำนาจทางการศึกษาหลักธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมทุก

ภาคส่วน เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการศึกษา

มาตรฐานคุณภาพการศึกษา สพฐ. ด้านการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ ๘ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ และ

เกิดประสิทธิผล

ตัวบ่งชี้ สมศ. ด้านการบริหารและธรรมาภิบาลสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐

กลุ่มบริหารที่รับผิดชอบ งานวิชาการ

ผู้รับผิดชอบ นายวีรพรรณ์ บุษราคำระยะเวลาดำเนินการ มกราคม ๒๕๖๐ – มกราคม ๒๕๖๑

๑.หลักการและเหตุผล

ตาม พรบ. ๒๕๔๒ หมวด ๒๑ได้กล่าวไว้ว่า แนวการจัดการศึกษายึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนทุกคนมีความสำคัญที่สุด การจัดการศึกษาในสถานศึกษา นอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่งแล้ว โรงเรียนต้องจัดการศึกษาให้นักเรียนอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ดังนั้นจึงต้องมีกระบวนการในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกด้าน งานแนะแนวการศึกษาก็เป็นอีกงานหนึ่งช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข เพราะมีหน้าที่ขอบข่ายงานในการแนะนำนักเรียนเกี่ยวกับการเรียน พฤติกรรม ให้คำปรึกษาแก่นักเรียน ปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมนักเรียนที่มีปัญหา ดูแลช่วยเหลือส่งเสริมการจัดหาทุนการศึกษาให้กับนักเรียนที่มีฐานะยากจน แนะนำการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพของนักเรียนเมื่อจบการศึกษาใช่วงชั้นต่างๆไปแล้ว เป็นต้น ซึ่งภาระหน้าที่ดังกล่าวงานแนะแนวจึงจัดทำโครงการเพื่อสนองตามหน้าที่มาเพื่อให้นักเรียนสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายดังกล่าวข้างต้น การพัฒนางานแนะแนวจึงต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ มีมนุษยสัมพันธ์ ที่ดี มีสุขภาพจิต สุขภาพกายที่ดี สอดคล้องตามมาตรฐานด้านผู้เรียนข้อที่๑ ตัวบ่งชี้ที่ ๑.๔,๑.๕ และครูมีการดูแลช่วยเหลืออย่างทั่วถึง และให้คำปรึกษาแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงสอดคล้องตามมาตรฐานที่ ๗ ตัวบ่งชี้ที่ ๗.๖

๒.วัตถุประสงค์

๑. เพื่อส่งเสริมจัดแนะแนวทางการศึกษาให้กับนักเรียนที่จบชั้น ป.๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ได้เรียนต่อชั้น ม.๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ครบทุกคน

๒. เพื่อกำกับดูแลนักเรียนระหว่างเรียน ไม่ให้มีนักเรียนออกกลางคัน

๓. นักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้เข้าศึกษาต่อชั้น ม.๑ ทุกคน

๓.เป้าหมาย

ด้านปริมาณ

๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ร้อยละ ๑๐๐ ได้เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคน

๒. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ ร้อยละ ๑๐๐ ไม่มีนักเรียนออกกลางคัน

ด้านคุณภาพ

๑.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านช้าง ได้เข้าเรียนต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ทุกคน

๒.นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๖ โรงเรียนบ้านช้าง ไม่มีนักเรียนออกกลางคัน

๔.วิธีดำเนินการ

กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

๔.๑ ขั้นเตรียมการ (P)

๔.๑.๑ ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่การศึกษาและสพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๔.๑.๒ ศึกษาผลการดำเนินโครงการฯ ในปีที่ผ่านมา

๔.๑.๓ ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการฯ

๔.๑.๔ จัดทำโครงการฯ นำเสนอต่อฝ่ายบริหาร

๔.๒ ขั้นดำเนินการ (D)

๔.๒.๑ ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการฯ และมอบหมายภาระงาน

๔.๒.๒ ดำเนินงานตามโครงการฯ

๑)จัด/ดำเนินการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

๒)จัดทำข้อมูลนักเรียนออกกลางคัน

๓)จัดแนะแนวทางการศึกษาให้กับนักเรียนจบชั้น ป.๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๙ ได้เรียนต่อ ชั้นม.๑

๔)ประสาน/ร่วมมือกับผู้ปกครอง/ชุมชนในการดูแลนักเรียน

๔.๓ ขั้นนิเทศติดตามผล (C)

ผู้รับผิดชอบโครงการฯ นิเทศติดตามการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวก

ในการดำเนินกิจกรรมของผู้เกี่ยวข้องให้เป็นไปตามภาระงานที่โครงการฯ กำหนด

๔.๔ ขั้นประเมินและรายงานผล (A)

๔.๔.๑ สรุปประเมินโครงการฯ

๔.๔.๒ จัดทำรายงานโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

๕. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ

๕.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๒ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนบ้านช้าง

๕.๓ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน

๖.กิจกรรมในการดำเนินการ

ต้อนรับนักเรียนสู่รั้วบ้านช้าง

กิจกรรม

งบประมาณ

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ

ขั้นเตรียมการ (P)

๑. ศึกษานโยบายของโรงเรียน เขตพื้นที่

การศึกษาและ สพฐ. ในส่วนที่เกี่ยวข้อง

กับโครงการฯ

๒. ศึกษาผลการดำเนินโครงการ�