27
องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่ ๒.: ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบ่งชี: กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เกณฑ์มาตรฐาน ผลการดาเนินงาน หลักฐาน .มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และ ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดย คณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบ ที่กําหนด วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีการดําเนินการ ดังนี. ดําเนินการขอเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตร . ขออนุมัติเปิดดําเนินการเรียนการสอนหลักสูตรพุทธศาสตร บัณฑิต . มีการประชุมอาจารย์ประจําหลักสูตรทุกหลักสูตร . แต่งตั้งคณะกรรมการหลักสูตรใหม่ ปัจจุบันมีหลักสูตรทีได้รับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ส่วนกลาง จํานวน ๓ คณะ ๔ สาขาวิชา . ได้รับการอนุมัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆ์แพร่ และคณะกรรมการประจําวิทยาเขตแพร่ . สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เปิดดําเนินการเรียนการสอน ..- ๑ ประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วย การเปิดหลักสูตร ..-๒ พ..บ มหาวิทยาลัยฯ มาตรา ๑๙ () ..-flow chart แสดงระบบและ กลไกการเปิดหลักสูตร ..-๔ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธ ศาสตรบัณฑิต ๔ สาขาวิชา ..-คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ประจําหลักสูตร ..-๖ รายงานการประชุมอาจารย์ ประจําหลักสูตรทุกหลักสูตร ..-หนังสืออนุมัติเปิดหลักสูตร ..-หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ..๒๕๕๐ ..-หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ..๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรุง)

องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๑ : ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ชนิดของตัวบ่งช้ี : กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๖

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๑.มีระบบและกลไกการเปิดหลักสูตรใหม่และ

ปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบที่กําหนด

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีการดําเนินการ ดังนี้ ๑. ดําเนินการขอเปิดหลักสูตรใหม่และปรับปรุงหลักสูตร ๒. ขออนุมัติเปิดดําเนินการเรียนการสอนหลักสูตรพุทธศาสตร

บัณฑิต ๓. มีการประชุมอาจารย์ประจําหลักสูตรทุกหลักสูตร ๔. แต่งตั้งคณะกรรมการหลักสูตรใหม่ ปัจจุบันมีหลักสูตรที่

ได้รับการอนุมัติจากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ส่วนกลาง จํานวน ๓ คณะ ๔ สาขาวิชา

๕. ได้รับการอนุมัติตามมติที่ประชุมคณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์แพร่ และคณะกรรมการประจําวิทยาเขตแพร่

๖. สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้เปิดดําเนินการเรียนการสอน

๒.๑.๑-๑ ประกาศมหาวิทยาลัย ว่าด้วยการเปิดหลักสูตร ๒.๑.๑-๒ พ.ร.บ มหาวิทยาลัยฯ มาตรา ๑๙ (๖) ๒.๑.๑-๓ flow chart แสดงระบบและกลไกการเปิดหลักสูตร ๒.๑.๑-๔ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต ๔ สาขาวิชา ๒.๑.๑-๕ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประจําหลักสูตร ๒.๑.๑-๖ รายงานการประชุมอาจารย์ประจําหลักสูตรทุกหลักสูตร ๒.๑.๑-๗ หนังสืออนุมัติเปิดหลักสูตร ๒.๑.๑-๘ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พ.ศ.๒๕๕๐ ๒.๑.๑-๙ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พ.ศ.๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรุง)

Page 2: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๒.มีระบบและกลไกการปิดหลักสูตรตาม

แนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

ตั้งแตว่ิทยาลัยสงฆ์นครลําปางไดด้าํเนนิการเปดิการเรียนการสอนตามหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิตมาถึงปัจจุบัน ยังมิได้มีการขออนุมัติปิดหลักสูตร หากจะมีการขออนุมัติปิดจะได้มีการดําเนินการตามหลักเกณฑ์ ขั้นตอนการดําเนินงานตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดยคณะกรรมการอุดมศึกษา และดําเนินการตามระบบท่ีกําหนด

๒.๑.๒-๑ ระเบียบการเปิด-ปิดหลักสูตร

๓.ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (การดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หมายถึง ต้องมีการประเมินผลตาม “ตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงานตามประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน ”กรณีท่ีหลักสูตรใดยังไม่มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือสาขาวิชา ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้กลางที่กําหนดในภาคผนวก ก) สําหรับหลักสูตรสาขาวิชาต้องได้รับการรับรองหลักสูตรจากสภาหรือองค์กรวิชาชีพที่เก่ียวข้องด้วย

ในปกีารศึกษา ๒๕๕๖ วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้ดําเนินงานเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ.) เฉพาะนิสิตชั้นปีที่ ๑ และ ๒ ส่วนนิสิตชั้นปีที่ ๓, และ ๔ วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้ยึดตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘

๒.๑.๓ - ๑ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศาสนา ๒.๑.๓ - ๒ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๒.๑.๓ - ๓ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการปกครอง ๒.๑.๓ - ๔ โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนพระพุทธศาสนาและจิตวิทยาแนะแนว(ปรับปรุง ๒๕๕๖) ๒.๑.๓ - ๕ - หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พ.ศ.๒๕๕๐ ๒.๑.๓ - ๖ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พ.ศ. ๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรุง) ๒.๑.๓ – ๗ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

Page 3: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ๒.๑.๓ – ๘ มคอ.๓ ๒.๑.๓ – ๙ มคอ. ๕ (นิสิตชั้นปีที่ ๑ และ ๒) ๒.๑.๓ – ๑๐ รายละเอียดประจํารายวิชา (นิสิตชั้นปีที่ ๓ และ ๔ )

๔. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับให้มีการดําเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒ และข้อ ๓ ข้างต้น ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการประเมินหลักสูตรทุกหลักสูตรอย่างน้อยตามกรอบเวลาที่กําหนดในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมให้มีการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ ๓ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ๕ ข้อแรกและอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของตัวบ่งชี้ที่กําหนดในแต่ละปี ทุกหลักสูตร

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง กํากับดูแลให้ทุกหลักสูตรดําเนินงานให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร มาตรฐานวิชาชีพ และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา ดังนี้

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการดูแลหลักสูตรและอาจารย์ประจําหลักสูตร

๒. ประเมินผลการดําเนินงานทุกหลักสูตรตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์ท่ีกําหนดทุกปีการศึกษา เพ่ือวัดคุณภาพของการดําเนินการหลักสูตรว่าเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยประเมินจากจํานวนนิสิตที่เลือกเรียนแต่ละหลักสูตรมีจํานวนเพิ่มขึ้น

๓. การวัดและประเมินผลการเรียนการสอนของอาจารย์และนิสิตทุกภาคการศึกษา

๒.๑.๔ – ๑ คําสั่งคณะกรรมการรับผิดชอบการเปิดปิดหลักสูตร ๒.๑.๔– ๒ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดูแลหลักสูตร และอาจารย์ประจําหลักสูตร ๒.๑.๔ – ๓ ผลประเมินการดําเนินงาน (มคอ.๕) (เฉพาะนิสิตชั้นปีที่ ๑ และ ๒) ๒.๑.๔ – ๔ สถิตินิสิตประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕ และ ๒๕๕๖ ๒.๑.๔ – ๕ รายงานผลการดําเนินงานทุกหลักสูตร ตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์ที่กําหนดทุกปีการศึกษา (สมอ.๐๗) ๒.๑.๔ – ๖ ข้อสอบวัดผลนิสิตทุกชั้นปี

๕. มีคณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับให้มีการดําเนินการได้ครบถ้วนทั้งข้อ ๑ ข้อ ๒ และข้อ ๓ ข้างต้นตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนา

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้แต่งตั้งคณะกรรมการประจําหลักสูตรทุกหลักสูตร ดําเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรตามผลการประเมินที่ได้จากข้อ ๔ จนทําให้ผลการดําเนินงานเป็นไปตาม

๒.๑.๕-๑ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ พิจารณาเปิดหลักสูตร ๒.๑.๕ – ๒ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ

Page 4: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน หลักสูตรทุกหลักสูตรตามผลการประเมินในข้อ ๔ กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ จะต้องควบคุมให้มีการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้ในข้อ ๓ ผ่านเกณฑ์การประเมินครบทุกตัวบ่งชี้ทุกหลักสูตร

มาตรฐานและตัวบ่งชี้ผ่านเกณฑ์การประเมินครบทุกตัวบ่งชี้และทุกหลักสูตร

วิเคราะห์ ๒.๑.๕ – ๓ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดูแลหลักสูตรและอาจารย์ประจําหลักสูตร ๒.๑.๕ – ๔ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต พ.ศ. ๒๕๕๕ (ฉบับปรับปรุง) ทุกคณะ

๖. มีความร่วมมือในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรระหว่างมหาวิทยาลัยกับภาครัฐหรือภาคเอกชนที่เก่ียวข้องกับวิชาชีพของหลักสูตร มากกว่าร้อยละ ๓๐ ของจํานวนหลักสูตรวิชาชีพทั้งหมดทุกระดับการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย

๔ ๕ ๔ บรรลุเป้าหมาย

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ

๑ ข้อ มีการดําเนินการ

๒ ข้อ มีการดําเนินการ

๓ ข้อ มีการดําเนินการ ๔ หรือ ๕ ข้อ

มีการดําเนินการ ๖ ข้อ

Page 5: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๒ : อาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ชนิดของตัวบ่งช้ี : ป๎จจัยนําเข้า ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๖

ผลการด าเนินงาน หลักฐาน - วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีอาจารย์ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จํานวน ๔ รูป/คน

- วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีอาจารย์ประจําทั้งหมด ๒๓ รูป/คน ๑. คํานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีวุฒิปริญญาเอก

ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีวุฒิปริญญาเอก = ๔ / ๒๓ x ๑๐๐ = ๑๗.๓๙ ๒. แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ที่คํานวณได้ในข้อ ๑ เทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๓๐

คะแนนที่ได้ = ๑๗.๓๙ / ๓๐ X ๕ = ๒.๘๙

๒.๒ – ๑ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก - พระครูสังวรสุตกิจ,ดร. - พระครูปลัดอุทัย รตฺนปํฺโญ,ดร. - ดร.สุทธิพร สายทอง - ดร.ศรีศุกร์ นิลกรรณ์

๒.๒ – ๒ คําสั่งแต่งตั้งอาจารย์ประจํา ๒.๒ - ๓ ข้อมูลบุคลากรสายวิชาการ

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ร้อยละ ๒๒/๔.๕๐ ๑๗.๓๙ ๒.๘๙ ไม่บรรลุ

Page 6: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๓ : อาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการ ชนิดของตัวบ่งช้ี : ป๎จจัยนําเข้า ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา เกณฑ์การประเมิน

ผลการด าเนินงาน หลักฐาน - วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีอาจารย์ที่มีตําแหน่งวิชาการ จํานวน ๑ คน - วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีอาจารย์ประจําทั้งหมด ๒๓ รูป/คน

๑. คํานวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการ ร้อยละของอาจารย์ประจําที่มีดํารงตําแหน่งทางวิชาการ = ๑ / ๒๓ x ๑๐๐ = ๔.๓๕

๒. แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจําที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการ ที่คํานวณได้ในข้อ ๑ เทียบกับคะแนนเต็ม ๕ โดยกําหนดให้คะแนนเต็ม ๕ = ร้อยละ ๖๐

คะแนนที่ได้ = ๔.๓๕ / ๖๐ x ๕ = ๐.๓๖

๒.๓ -๑ รายชื่ออาจารย์ และผลงานอาจารย์ที่มีตําแหน่งวิชาการ ผศ.กนกรัชต์ เก่าศิริ (ได้รับตําแหน่งจาก ม.ราชภัฏลําปาง) ๒.๓ -๒ คําสั่งแต่งตั้งอาจารย์ประจํา ๒.๓ - ๓ สัญญาจ้างอาจารย์ประจํา

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ร้อยละ ๕๐ ๔.๓๕ ๐.๓๖ ไม่บรรลุ

Page 7: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๔ : ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ชนิดของตัวบ่งช้ี : กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๑. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้ง

ด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์

๑. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้ใช้แผนปฏิบัติการประจําปี ๒๕๕๖ ในการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยโดยผ่านตัวโครงการ ๒. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีการประเมินการปฏิบัติงานของบุคลากรของมหาวิทยาลัยทุก ๖ เดือน

๒.๔.๑ - ๑ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑ ๒.๔.๑ - ๒ แผนปฏิบัติการประจําปี ๒๕๕๖

- โครงการจัดการเรียนรู้และการบริหารความเสี่ยง

- โครงการพัฒนาระบบการเงินการบัญชี

- โครงการพัฒนาอาจารย์ด้าน E-learning ๒.๔.๑ - ๓ แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน ๒.๔.๑ - ๔ สัญญาจ้าง ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ ๒.๔.๑ - ๕ แบบเสนอขอผลงานวิชาการของ พระครูสังวรสุตกิจ, ดร. อาจารย์ประจําสาขาวิชารัฐศาสตร์

๒. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กําหนด

๑.วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีแผนสนับสนุนการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร

๒.๔.๒ - ๑ สรุปรายงานแผนปฏิบัติการประจําปี ๒๕๕๖

Page 8: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๒.วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้มีโครงการที่สนับสนุนพัฒนาคณาจารย์

และบุคลากร ๒.๔.๒ - ๒ หนังสือเชิญเข้าร่วมอบรม/สัมมนา ๒.๔.๒ - ๓ สรุปโครงการจัดการเรียนรู้และการบริหารความเสี่ยง ๒.๔.๒ - ๔ โครงการพัฒนาระบบการเงินการบัญชี ๒.๔.๒ - ๕ โครงการพัฒนาอาจารย์ด้าน E-learning

๓. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกําลังใจให้คณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน สามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้ให้การสนับสนุนสุขภาพบุคลากรเป็นประจําทุกป ี

๒.๔.๓-๑ โครงการส่งเสริมสุขภาพบุคลากร

๔. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนําความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนิสิต ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เก่ียวข้อง

๕. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ

๑. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้มีประกาศจรรยาบรรณวิชาชีพเพ่ือให้บุคลากรถือปฏิบัติ ๒. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้ให้ความรู้จรรยาบรรณวิชาชีพผ่านเวทีการประชุมประจําเดือน

๒.๔.๕ - ๑ ประกาศจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒.๔.๕ - ๒ รายงานการประชุมประจําเดือน

๖. มีการประเมินผลความสําเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

๗. มีการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสาย

Page 9: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน สนับสนุน

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย

๕ ข้อ ๔ ข้อ ๓ ไม่บรรลุเป้าหมาย ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๕ : ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ ชนิดของตัวบ่งช้ี : ป๎จจัยนําเข้า ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๖

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๑. มีการจัดการหรือจัดบริการเพ่ือให้นิสิตมีเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้ในอัตราไม่สูงกว่า ๘ FTES ต่อเครื่อง

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีจํานวนเครื่องคอมพิวเตอร์ ๔๔ เครื่อง มีจํานวน notebook ที่ลงทะเบียน ๒๐๗ เครื่อง จํานวนนิสิตเต็มเวลาเทียบเท่า ๒๕๑ ผลการคํานวณสัดส่วน คอมพิวเตอร์ต่อ FTES ได ้ ๖๒๒.๖๔

๒.๕.๑ - ๑ สรุปรายงานข้อมูลจํานวนคอมพิวเตอร์ ๒.๕.๑ – ๒ สรุปรายงานการใช้บริการคอมพิวเตอร์ ๒.๕.๑ - ๓ ข้อมูลการใช้ระบบเครือข่ายไร้สายประจําปี ๒.๕.๑ – ๔ เอกสารค่า FTES

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ข้อ มีการดําเนินการ ๒ ข้อ มีการดําเนินการ ๓ หรือ ๔ ข้อ มีการดําเนินการ ๕ หรือ ๖ ข้อ มีการดําเนินการ ๗ ข้อ

Page 10: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๒. มีบริการห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และมีการฝึกอบรมการใช้งานแก่นิสิตทุกปีการศึกษา

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีการจัดบริการห้องสมุด โดยจัดบริการแหล่งเรียนรู้อ่ืนๆ ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

- ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการห้องสมุด = ๓.๘๙

๒.๕.๒ - ๑ สมุดบันทึกการเข้าใช้บริการห้องสมุด ๒.๕.๒ - ๒ สมุดบันทึกการเข้าใช้บริการคอมพิวเตอร์ ๒.๕.๒ - ๓ เว็บไซต์ www.mculampang.com (วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง) ๒.๕.๒ - ๔ คู่มือการใช้ห้องสมุด ๒.๕.๒ - ๕ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (VTLS) ๒.๕.๒ - ๖ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการห้องสมุด

๓. มีบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการจัด การเรียนการสอนและการพัฒนานิสิต อย่างน้อย ในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษาและจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย

๑. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีการจัดบริการให้กับนิสิตตามความเหมาะสมเพื่อเอ้ือต่อการเรียนการสอนและการพัฒนานิสิต โดยมีการจัดอุปกรณ์ทางการศึกษาประจําห้องเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สายประจําอาคารเรียน ๒. มีบริการข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อนิสิตและศิษย์เก่าได้แก่มีเว็บไซต์ให้บริการแก่นิสิต www.mculampang.com (วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง)

- ผลการประเมินความพึงพอใจการให้บริการด้านกายภาพท่ีเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานิสิตห้องเรียน

๒.๕.๓ - ๑ ภาพถ่ายห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ๒.๕.๓ - ๒ ภาพถ่ายห้องสมุด ๒.๕.๓ - ๓ ภาพถ่ายจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ๒.๕.๓ - ๔ ภาพถ่ายห้องเรียน ๒.๕.๓ - ๕ เว็บไซต์ www.mculampang.com (วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง) ๒.๕.๓ - ๖ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการด้านกายภาพท่ี

Page 11: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ห้องปฏิบัติการ อุปกรการศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย = ๔.๐๐

เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนานิสิตห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรการศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย

๔. มีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเป็นอื่นๆ อย่างน้อยในด้านงานทะเบียนนิสิตผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การบริการอนามัยและ การรักษาพยาบาล การจัดการหรือจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีบริการสิ่งอํานวยความสะดวกท่ีจําเป็นแก่นิสิต เช่น การลงทะเบียนผ่านช่องทางธนาคาร จัดบริการรักษาพยาบาลในระบบประกันอุบัติเหตุ จัดให้มีการบริการน้ําดื่ม และห้องอาหาร

- ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการบริการด้านอนามัยและการรักษาพยาบาลการจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา = ๔.๐๐

๒.๕.๔ - ๑ ตรวจสอบผลการเรียนผ่านระบบเครือข่าย (www.mculampang.com) ๒.๕.๔ - ๒ ใบแจ้งการชําระเงินผ่านธนาคาร ๒.๕.๔ - ๓ เอกสารการประกันอุบัติเหตุ ๒.๕.๔ - ๔ ภาพถ่ายห้องปฐมพยาบาล ๒.๕.๔ - ๕ โครงการตรวจสุขภาพนิสิต ๒.๕.๔ - ๖ โครงการบริจาคโลหิตเฉลิมพระเกียรติฯ ๒.๕.๔ - ๗ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการบริการด้านอนามัยและการรักษาพยาบาลการจัดบริการด้านอาหารและสนามกีฬา

๕. มีระบบสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ อย่างน้อยในเรื่องประปา ไฟฟ้า ระบบกําจัดของเสีย การจัดการขยะ รวมทั้งมีระบบและอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ในบริเวณอาคารต่างๆ โดยเป็นไปตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัยของอาคารสถานที่ ตลอดจน เรื่องระบบประปา ระบบไฟฟ้า การกําจัดขยะ และมีอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัยในบริเวณอาคารสํานักงานและอาคารเรียน

๒.๕.๕ - ๑ ภาพถ่ายระบบรักษาความปลอดภัยอาคารสถานที่ ๒.๕.๕ - ๒ ภาพถ่ายระบบสาธารณูปโภค ๒.๕.๕ - ๓ ภาพถ่ายอุปกรณ์ป้องกัน

Page 12: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน - ผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการบริการด้าน

สาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ = ๔.๐๑

อัคคีภัยบริเวณอาคาร ๒.๕.๕ - ๔ ภาพถ่ายบริการน้ําดื่ม - ห้องอาหาร ๒.๕.๕ - ๕ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจที่มีต่อการบริการด้านสาธารณูปโภคและรักษาความปลอดภัยของอาคารตลอดจนบริเวณโดยรอบ

๖. มีผลการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ ๒ - ๕ ทุกข้อไม่ต่ํากว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีการประเมินคุณภาพของบริการในข้อ ๒ – ๕ ทุกข้อไม่ต่ํากว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕

ผลการประเมิน (๓.๘๙ + ๔.๐๐ + ๔.๐๐ + ๔.๐๑) / ๔ * ๕ = ๑๙.๙๐

๒.๕.๖ - ๑ สรุปผลการประเมินความ พึงพอใจของผู้ใช้บริการ

๗. มีการนําผลการประเมินคุณภาพในข้อ ๖ มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพที่สนองความต้องการของผู้รับบริการ

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีการนําผลการประเมินคุณภาพใน ข้อ ๖ มาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาการจัดบริการด้ายกายภาพที่สนองความต้องการของนิสิตและผู้มารับบริการ เช่น มีการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสถานที ่ปรับปรุงระบบไฟฟ้า ปรับปรุงห้องเรียนฯ

๒.๕.๗ - ๑ ตารางเปรียบเทียบการปรับปรุงพัฒนาการจัดบริการด้านกายภาพท่ีสนองความต้องการของผู้รับบริการ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ

๑ ข้อ มีการดําเนินการ ๒ หรือ ๒ ข้อ

มีการดําเนินการ ๔ หรือ ๕ ข้อ

มีการดําเนินการ ๖ ข้อ

มีการดําเนินการ ๗ ข้อ

Page 13: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย

๖ ๗ ๕ บรรลุเป้าหมาย ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๖ : ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ชนิดของตัวบ่งช้ี : กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๑. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญทุกหลักสูตร

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีการจัดระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ดังนี ้

๑. จัดทํา Flow chart แสดงระบบและ กลไกการให้ความรู้ความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอนถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการจัดการศึกษาทุกหลักสูตร

๒. จัดประชุม และแนะนําการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติคณาจารย์ทุกหลักสูตร ก่อนดําเนินการเปิดภาคการศึกษา ในแต่ละภาคการศึกษา

๓. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญทุกรายวิชา อาทิ จัดให้มีชั่วโมงปฏิบัติการอภิปรายกลุ่มสัมมนา ทํากรณีศึกษา โครงการหรือวิจัยเรียนรู้นอกสถานที่ รวมทั้งฝึกประสบการณ ์

๒.๖.๑ – ๑ Flow chart แสดงระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ๒.๖.๑ – ๒ หลักสูตรทุกคณะ (มคอ.๒) , มคอ.๓ และแผนการสอนประมวลรายวิชา ๒.๖.๑ – ๓ สรุปรายงานการประชุม อาจารย์ ก่อนดําเนินการเปิดภาคการศึกษา ๒.๖.๑- ๔ มคอ. ๓ ๒.๖.๑ - ๕ มคอ. ๔ ๒.๖.๑ - ๖ มคอ. ๕ ๒.๖.๑ – ๗ มคอ. ๖ ๒.๖.๑- ๘ คู่มืออาจารย์ ๒.๖.๑- ๙ คู่มือวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้

Page 14: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๒.๖.๑- ๑๐ คู่มือปฏิบัติงานการบูรณาการพันธกิจ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒.๖.๑- ๑๑ รายชื่ออาจารย์ประจําหลักสูตร

๒.ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามท่ีกําหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีการจัดทํา รายละเอียดของรายวิชา แต่ละรายวิชาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ดังนี้

๑. จัดทํารายละเอียดของรายวิชา ๒. จัดชั่วโมงปฏิบัติการ อภิปรายกลุ่ม สัมมนา วิจั ย

การศึกษา การเรียนรู้นอกสถานศึกษา รวมทั้งการฝึกประสบการณ์

๒.๖.๒ – ๑ หลักสูตรคณะพุทธศาสตร์ ๒.๖.๒ – ๒ หลักสูตรคณะครุศาสตร์ ๒.๖.๒ – ๓ หลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ ๒.๖.๒ – ๔ มคอ. ๓ ๒.๖.๒ – ๕ มคอ. ๔

๓. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทําวิจัย

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้มีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงทั้งในและนอกชั้นเรียน หรือจากการทําวิจัย การจัดกิจกรรมที่ตอบสนองต่อแนวคิด และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ (learner centered) โดย

๑. อาจารย์ผู้สอนบูรณาการวิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น การสอนแบบโครงการ (project-based learning) ในรายวิชาการบริหารจัดการในชั้นเรียน, การทัศนศึกษา ( field trip), การอภิปรายกลุ่มย่อย ( small group discussion)เป็นต้น เพ่ือกระตุ้นกระบวนการสร้างปัญญาให้สอดคล้องและเหมาะสมตามความแตกต่างเฉพาะบุคคลของผู้เรียนโดยระบุ

๒.๖.๓ – ๑ มคอ. ๓ ๒.๖.๓ – ๒ มคอ.๕ รายวิชาสถิติเบื้องต้นและการวิจัย ๒.๖.๓ – ๓ รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา (มคอ. ๔) ๒.๖.๓ - ๔ รายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานศึกษา (มคอ. ๖) ของนิสิตชั้นปีที่ ๕ คณะครุศาสตร์ ๒.๖.๓ – ๕ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนของนิสิต คณะครุศาสตร์ชั้นปีที่ ๕ ๒.๖.๓- ๖ รายงานวิจัยรายวิชาศึกษาอิสระ

Page 15: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน วิธีการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวไว้ในรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)

๒. อาจารย์ผู้สอนให้นิสิตสํารวจข้อมูลเพื่อฝึกทํา การวิจัยใน รายวิชาสถิติเบื้องต้นและการวิจัย

๓. หลักสูตรคณะครุศาสตร์ (หลักสูตร ๕ ป)ี ของวิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง จัดการเรียนการสอนรายวิชา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยให้นิสิตออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ในโรงเรียนเครือข่าย ทํากิจกรรม/โครงการ และนิสิตต้องทําวิจัยในชั้นเรียนท่านละ ๑ เรื่อง

ทางพระพุทธศาสนา ๒.๖.๓-๗ รายงานวิจัยราย วิชาการศึกษาอิสระทางการสอนพระพุทธศาสนา ๒.๖.๓-๘ รายงานวิจัยรายวิชาศึกษาอิสระทางการปกครอง ๒.๖.๓-๙ ราย งานวิจัยราย วิชา สัมมนาการศึกษา ๒.๖.๓-๑๐ รายงานวิจัยราย วิชารายวิชาการวิจัยในชั้นเรียน ๒.๖.๓- ๑๑ รายงานรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ๒.๖.๓- ๑๒ รายงานราย วิชารายวิชาการบริหารโครงการ

๔. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

๑. ทุกหลักสูตรของวิทยาลัยสงฆ์นครลําปางมีการออกแบบให้นิสิตได้มีโอกาสเรียนรู้จากบุคคล หน่วยงานหรือชุมชนภายนอกในด้านวิชาการหรือวิชาชีพ เพ่ือให้ผู้เรียนได้ทราบถึงการนําความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ในเชิงปฏิบัติและมีความรู้ทางวิชาการท่ีทันสมัย ดําเนินการทําโดยเชิญบุคลากรภายนอกมาเป็นอาจารย์บรรยายพิเศษท้ังรายวิชาหรือบรรยายในบางคาบวิชา

๒.๖.๔ – ๑ หนังสือเชิญบุคคลจากสถานบันภายนอกเป็นอาจารย์บรรยายในรายวิชา ๒.๖.๔ – ๒ คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์ ๒.๖.๔ – ๓ คําสั่งแต่งตั้งอาจารย์บรรยายพิเศษ

๕. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจาก

กระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีอาจารย์ประจําได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชา รัฐศาสตร์ในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา และรายวิชาพระพุทธศาสนา

๒.๖.๕ – ๑ รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัย กระบวนการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนผ่านการชําระตํานาน

Page 16: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน กับการพัฒนาการเมืองการปกครอง โดยผ่านกระบวนงานวิจัย และสนับสนุนให้มีกิจกรรมการพัฒนาอาจารย์ด้านการทําวิจัยในชั้นเรียน

มูลศาสนา ฉบับวัดบ้านเอื้อมของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตแพร่ ๒.๖.๕ - ๒ มคอ.๓ รายวิชา รัฐศาสตร์ในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา และรายวิชา พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการเมืองการปกครอง ๒.๖.๕ - ๓ วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง เจตคติของนิสิตวิทยาลัยสงฆ์นครลําปางที่มีต่อการเรียนการสอนวิชา สถิติเบื้องต้นและการวิจัย

๖. การประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ํากว่า ๓.๕๑ จาก คะแนนเต็ม

ทุกสิ้นภาคการศึกษา ฝ่ายงานวางแผนและวิชาการมีการประเมินความคิดเห็นของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา โดยใช้ระบบการประเมินออนไลน์

๒.๖.๖ – ๑ ผลการประเมินการสอนของอาจารย์ประจํา/อาจารย์บรรยายพิเศษ ภาคการศึกษาท่ี ๑,๒ และ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๖

๗. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา

อาจารย์มีการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนและวิธี การสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบ โดย

๑. นําผลการประเมิน ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในรายวิชาที่ตนสอน มาทําการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ พิจารณาปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้น

๒. วางแผนและปรับปรุง เพื่อได้แนวทางและกลยุทธ์

๒.๖.๗ – ๑ รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา (มคอ. ๕)

Page 17: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ในการพัฒนาการเรียนการสอนและนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษาต่อไปโดยระบุไว้ใน มคอ. 5 หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง ในหัวข้อ แผนการปรับปรุงที่เสนอในภาคการศึกษา/ปีการศึกษาท่ีผ่านมา

๓. จัดทํารายงานผลการดําเนิน การของรายวิชา (มคอ.๕)

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ๖ ๗ ๕ บรรลุเป้าหมาย

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ข้อ มีการดําเนินการ ๒ หรือ๒ ข้อ มีการดําเนินการ ๔ หรือ ๕ ข้อ มีการดําเนินการ ๖ ข้อ มีการดําเนินการ ๗ ข้อ

Page 18: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๗ : ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนรู้ตามลักษณะของบัณฑิต ชนิดของตัวบ่งช้ี : กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา ๒๕๕๕ เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน

๑. มีการสํารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสําหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกําหนดการศึกษาของหลักสูตร

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง ได้ สํารวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตเกี่ยวกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์

๒.๗.๑-๑ รายงานผลการสํารวจความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

๒. มีการนําผลจากข้อ ๑ มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้ประชุม อาจารย์ผู้สอนร่วมกับอาจารย์ประจําหลักสูตรเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและร่วมกันแก้ป๎ญหาร่วมกันเพ่ือให้ผู้เรียนมีการพัฒนา

๒.๗.๒-๑ รายงานการประชุมอาจารย์ก่อน-ปิดภาคเรียน

๓. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอ้ือต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้ให้ความสําคัญและสนับสนุนทรัพยากรเพ่ือพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิตในด้านต่างๆ ดังนี้

- ด้านบุคลากร - ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ - ด้านงบประมาณ

๒.๗.๓ - ๑ คําสั่งแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา ๒.๗.๓ - ๒ สรุปการใช้ระบบอินเตอร์เน็ต

ไร้สาย ๒.๗.๓ - ๓ ระบบสืบค้นห้องสมุด VTLS ๒.๗.๓ - ๔ เว็ปไซด์

www.mculampang.com ๒.๗.๓ - ๕ แผนปฏิบัติการประจําปี

๒๕๕๖

Page 19: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๔. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นิสิตระดับ

ปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนําเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ

วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้ส่งเสริมให้นิสิตระดับปริญญาตรีเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการและนําเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน

๒.๗.๔-๑ หนังสือเชิญร่วมประชุมเครือข่ายผู้นํานิสิตนักศึกษาเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ๒.๗.๔-๒ หนังสือเชิญร่วมประกวดสื่อการสอนและจัดนิทัศการผลงานวิชาการ

๕. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นิสิตระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา ที่จัดโดยมหาวิทยาลัย

๑. วิทยาลับสงฆ์นครลําปาง จัดโครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมแก่นิสิตระดับปริญญาตรี เป็นประจําทุกปี

๒.๗.๕-๑ โครงการปฏิบัติวิป๎สสนากัมมัฏฐานฯ ๒.๗.๕-๒ โครงการตั้งธรรมหลวงเวียงละกอนฯ ๒.๗.๕-๓ โครงการไหว้ครู ๒.๗.๕-๔ โครงการนิสิตจิตอาสานําธรรมะสู่ผู้ป่วยตามแนววิถีพุทธ ๒.๗.๕-๕ โครงการถวายเทียนพรรษา ๒.๗.๕-๖ โครงการถวายสลากภัตร (ตานก๋วยสลาก) ๒.๗.๕-๗ โครงการออกเยี่ยมนิสิตบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน

เกณฑ์การประเมิน

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ข้อ มีการดําเนินการ๒ ข้อ มีการดําเนินการ ๓ ข้อ มีการดําเนินการ ๔ ข้อ มีการดําเนินการ ๕ ข้อ

Page 20: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

การประเมินตนเอง เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย

๔ ข้อ ๕ ข้อ ๕ บรรลุ ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๘ : ระดับความสําเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนิสิต ชนิดของตัวบ่งช้ี : กระบวนการ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา เกณฑ์การประเมิน

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๑. มีการกําหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนิสิตที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

๑. กําหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนิสิตไว้เป็นลายลักษณ์อักษร

๒.๘.๑ – ๑ คู่มือนิสิต ๒.๘.๑ – ๒ ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่องคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนิสิต ๒.๘.๑ – ๓ มคอ.๓

๒. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสําหรับนิสิตที่ต้องการ ส่งเสริมตามข้อ ๑ ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นิสิต และผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน

๑. ถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับนิสิต ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์และนิสิตตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน

๒.๘.๒ – ๑ เว็บไซต์ www.mculampang.com ๒.๘.๒ – ๒ คู่มือนิสิต ๒.๘.๒ – ๓ ภาพถ่ายป้ายติดประกาศประชาสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัย ๒.๘.๒ – ๔ คู่มืออาจารย์ที่ปรึกษา

Page 21: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๓. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กําหนดในข้อ ๑ โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสําเร็จที่ชัดเจน

๑. จัดโครงการหรือกิจกรรมที่มีการพัฒนาพฤติกรรมของนิสิตด้านคุณธรรมและจริยธรรมที่ระบุตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสําเร็จที่ชัดเจน

๒.๘.๓ – ๑ แผนปฏิบัติการประจําปี ๒๕๕๖ ๒.๘.๓ – ๒ โครงการปฏิบัติวิป๎สสนากัมมัฏฐานฯ ๒.๘.๓ – ๓ โครงการตั้งธรรมหลวงเวียง ละกอนฯ ๒.๘.๓ – ๔ โครงการไหว้ครู ๒.๘.๓ – ๕ โครงการนิสิตจิตอาสานําธรรมะสู่ผู้ป่วยตามแนววิถีพุทธ ๒.๘.๓ – ๖ โครงการถวายเทียนพรรษา ๒.๘.๓ – ๗ โครงการถวายสลากภัตร (ตานก๋วยสลาก) ๒.๘.๓ – ๘ โครงการออกเยี่ยมนิสิตบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน

๔. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนิสิต ตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กําหนดในข้อ ๓ โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ ๙๐ ของตัวอย่าง

๑. ประเมินผลและสรุปผลโครงการหรือกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นิสิตมีคุณธรรมจริยธรรมตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กําหนดและมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ ๙๐ ของตัวบ่งชี้

๒.๘.๔ – ๑ สรุปโครงการปฏิบัติวิป๎สสนากัมมัฏฐานฯ ๒.๘.๔ – ๒ สรุปโครงการตั้งธรรมหลวงเวียงละกอนฯ ๒.๘.๔ – ๓ สรุปโครงการไหว้ครู ๒.๘.๔ – ๔ สรุปโครงการนิสิตจิตอาสานําธรรมะสู่ผู้ป่วยตามแนววิถีพุทธ ๒.๘.๔ – ๕ สรุปโครงการถวายเทียนพรรษา

Page 22: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์มาตรฐาน ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ๒.๘.๔ – ๖ สรุปโครงการถวายสลากภัตร (ตานก๋วยสลาก) ๒.๘.๔ – ๗ สรุปโครงการออกเยี่ยมนิสิตบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูร้อน

๕. มีนิสิตหรือกิจกรรมที่เก่ียวกับนิสิตได้รับการยกย่องชมเชยประกาศเกียรติคุณ ด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ

๑. นิสิตได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ

๒.๘.๕ – ๑ รางวัล การประกวดสื่อการเรียนการสอน media contest 2013 (ประเภท E-book เรื่อง พระพุทธศาสนากับอาเซียน) ๒.๘.๕ – ๒ รางวัล การประกวดสื่อการเรียนการสอน media contest 2013 (ประเภท website เรื่อง วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา) ๒.๘.๕ – ๓ รางวัล การประกวดสื่อการเรียนการสอน media contest 2013 (ประเภท วาดภาพเหมือนพุทธศิลป์ถิ่นล้านนา) ๒.๘.๕ – ๔ รายนามนิสิตที่ได้รับการแต่งตั้งและเลื่อนสมณศักดิ์ ๒.๘.๕ – ๕ แฟ้มสะสมงานนิสิตปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ของ พระสุรเดช รตนเมธี นิสิตชั้นปีที่ ๕

Page 23: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

เกณฑ์การประเมิน

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ๔ ข้อ ๕ ข้อ ๕ บรรลุเป้าหมาย

ตัวบ่งช้ีที่ 2.9 บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทําหรือได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ชนิดของตัวบ่งช้ี : ผลผลิต/ผลกระทบ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา

ผลการดําเนินงาน หลักฐาน จัดทําแบบประเมินคุณภาพบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทําหรือได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีทั้งหมด (ที่จัดเก็บข้อมูล สําหรับ สมศ1) จํานวน 87 รูป/คน จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ตอบแบบสํารวจเรื่องการมีงานทํา จํานวน 87 รูป/คน จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ได้งานทําหลังสําเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ที่ประกอบอาชีพอิสระ) จํานวน 15 คน

2.9-1 สรุปแบบประเมินผู้ใช้บัณฑิต

คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ข้อ มีการดําเนินการ๒ ข้อ มีการดําเนินการ ๓ ข้อ มีการดําเนินการ ๔ ข้อ มีการดําเนินการ ๕ ข้อ

Page 24: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ผลการดําเนินงาน หลักฐาน จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ประกอบอาชีพอิสระ จํานวน 2 คน จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีงานทําก่อนเข้าศึกษา จํานวน 68 รูป/คน จํานวนบัณฑิตระดับปริญญาตรีที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 2 คน คํานวณ (จํานวนผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีที่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระ=17/จํานวนบัณฑิตท่ีตอบแบบสํารวจ =17) เท่ากับร้อยละ 100.00 เมื่อเทียบร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน ดังนั้น คะแนนจึงเท่ากับ 5.000

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ร้อยละ 80 ๑๐๐ ๕.๐๐ บรรลุเป้าหมาย

ตัวบ่งช้ีที่ 2.10 : คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรีโท และเอกตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแห่งชาติ ชนิดของตัวบ่งช้ี : ผลผลิต/ผลกระทบ เกณฑ์การประเมิน

ผลการด าเนินงาน หลักฐาน วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางได้สํารวจแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต (ข้อ 1-25) ได้ดังนี้

ผลรวมของค่าคะแนนที่ได้จาการประเมินบัณฑิต= 177.84 จํานวนบัณฑิตท่ีได้รับการประเมินท้ังหมด = 42 คํานวณคะแนนได้ดังนี้ 177.84 / 42 = 4.23

2.10-1 แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต

Page 25: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย 3.51 4.23 4.23 บรรลุเป้าหมาย

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๑๑ : ผลงานของผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.๓) ชนิดของตัวบ่งช้ี : ผลผลิต/ผลกระทบ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีปฏิทิน เกณฑ์การประเมิน : เนื่องจากวิทยาลัยสงฆ์นครลําปางยังไม่ได้เปิดการศึกษาในระดับปริญญาโท

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๑๒ : ผลงานของผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (สมศ.๔) ชนิดของตัวบ่งช้ี : ผลผลิต/ผลกระทบ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีปฏิทิน เกณฑ์การประเมิน : เนื่องจากวิทยาลัยสงฆ์นครลําปางยังไม่ได้เปิดการศึกษาในระดับปริญญาเอก

ตัวบ่งช้ีที่ ๒.๑๓ : การพัฒนาคณาจารย์ (สมศ. ๑๔) ชนิดของตัวบ่งช้ี : ผลผลิต/ผลกระทบ ช่วงเวลาข้อมูล : ปีการศึกษา เกณฑ์การประเมิน

ผลการด าเนินงาน หลักฐาน วิทยาลัยสงฆ์นครลําปาง มีจํานวนอาจารย์ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ๑๘ รูป/คน และวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก ๔ รูป/คน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ๑ คน คํานวณผลรวมถ่วงน้ําหนักของอาจารย์ประจําต่ออาจารย์ประจําทั้งหมด

๒.๑๓ – ๑ - รายชื่ออาจารย์ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๖ - สําเนาใบปริญญาบัตร ๒.๑๓ - ๒ ตารางข้อมูลบุคลากรสายวิชาการ

Page 26: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ผลการด าเนินงาน หลักฐาน ได้ดังนี้ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท ๑๘ * ๒ / ๒๓ = ๑.๖๕

วุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก ๔ * ๕ / ๒๓ = ๐.๘๗ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ๑ * ๓ = ๓

แปลงค่าผลรวมถ่วงน้ําหนักอาจารย์ประจํา เทียบคะแนนเต็ม ๕ เท่ากับ ๒.๑๔

๒.๑๓ - ๓ ตารางสรุปจํานวนอาจารย์จําแนกตามวุฒิการศึกษา

การประเมินตนเอง

เป้าหมาย ผลการด าเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเป้าหมาย ๔.๕๐ ๒.๑๔ ๒.๑๔ ไม่บรรลุเป้าหมาย

วิเคราะห์จุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา องค์ประกอบท่ี ๒ จุดแข็ง

๑. มีการบริการด้านกายภาพที่เหมาะสมต่อการเรียนการสอน การพัฒนานิสิตรวมถึงมีการจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกที่จําเป็นอย่างเหมาะสมในด้านห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์การศึกษา และจุดเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตในระบบไร้สาย

๒. มีบุคลากรที่มีประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพจากหน่วยงานภายนอกมีส่วนร่วมในกระบวนการการเรียนการสอน ๓. มีจํานวนนิสิตสมัครเข้าศึกษาต่อเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องทุกปี และตั้งแต่ขออนุมัติเปิดหลักสูตรทั้งหมด ๔ สาขาวิชา ยังไม่เคยขออนุมัติปิดหลักสูตร ๔. ได้นําข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปี ๒๕๕๖ มาพัฒนา ได้แก่

- กระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร - การพัฒนากระบวนการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนิสิต มีการดําเนินการทําโครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนิสิตรองรับครบทุกด้าน - การพัฒนาการจัดกระบวนการการจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดับอุดมศึกษา (มคอ.๓ และ มคอ.๕)

๕. มีการพัฒนาอาจารย์โดยการจัดโครงการทางด้านวิชาการ เทคนิคการสอน และการวัดผล เพ่ือให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษา

Page 27: องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต · องค์ประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบ่งชี้ที่

ระดับอุดมศึกษา ทุกปีการศึกษา ๖. มีห้องสมุด อุปกรณ์ทางการศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เหมาะสม ๗. มีระบบและกลไกการพัฒนา เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมแก่นิสิต

จุดที่ควรพัฒนา

๑. ควรส่งเสริม และสนับสนุนบุคลากร โดยเฉพาะการเพ่ิมคุณวุฒิการศึกษาในระดับปริญญาเอก และการดํารงตําแหน่งทางวิชาการ และสายสนับสนุน ๒. ควรมีระบบและกลไกที่ชัดเจนทางด้านการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ท้ังในระยะสั้นและระยะยาว ๓. ควรมีการส่งเสริมสวัสดิการแก่บุคลากร ๔. ควรมีระบบและกลไกที่ชัดเจนทางด้านการติดตามประเมินผลการทํางานของบุคลากร ๕. ควรมีอุปกรณ์การศึกษาให้เพียงพอต่อนิสิต

แนวทางเสริมจุดแข็งและปรับปรุงจุดที่ควรพัฒนา

๑. วิทยาลัยสงฆ์นครลําปางควรส่งเสริมบุคลากรสายอาจารย์ประจําเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก ในปีการศึกษา ๒๕๕๗ ๒. ควรส่งเสริมบุคลากรสายอาจารย์และสายปฏิบัติการพัฒนางานวิจัย ๓. ควรนําผลงานวิจัยมาบูรณาการการเรียนการสอน