15
รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342 328 การศึกษาการผลิตอาหารสุนัข วารุณี พานิชผล 1 / วิโรจน วนาสิทธชัยวัฒน 2 / วลัยกานต เจียมเจตจรูญ 1 / จีระวัชร เข็มสวัสดิ3 / บทคัดยอ การศึกษาการผลิตอาหารสุนัขชนิดแหง (dry foods) สําหรับสุนัขโตเต็มวัย น้ําหนัก 20 กิโลกรัมดําเนินการระหวางเดือนมีนาคม 2545 – มกราคม 2546 ที่กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหาร สัตว กองอาหารสัตว จังหวัดปทุมธานี โดยผลิตอาหารสุนัขที่มีโปรตีน 20 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง และ พลังงานใชประโยชนได 3,500กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม การผลิตอาหารใชอุปกรณและเครื่องมือแบบงายๆ ทีมีอยูเดิม ทําการผลิตอาหารสุนัขทั้งหมด 8 สูตร แบงเปนสูตรเจ (ใชวัตถุดิบจากพืชทั้งหมด) 3 สูตร สูตรปลา ปน 3 สูตร สูตรเนื้อหมู และสูตรเนื้อไก เมื่อผสมวัตถุดิบของอาหารแตละสูตรเขากันแลว นําไปรีดใหเปนเสน แลวอบจนสุกและแหง พบวาอาหารสุนัขที่ผลิตสูตรเจและสูตรปลาปนมีโปรตีนเทากับ 23.25 – 24.62 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง ซึ่งสูงกวาที่คํานวณไว สวนสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไกมีโปรตีนเทากับ 22.39 และ 22.00 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง ใกลเคียงกับที่คํานวณไว อาหารทุกสูตรมีความนากิน โดยเฉพาะอยางยิ่ง สูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก และสามารถเก็บรักษาไดนาน 6 เดือน โดยอาหารไมมีกลิ่นหืน สําหรับตนทุน การผลิต เฉพาะสวนที่เปนตนทุนวัตถุดิบอยูระหวาง 13.92 – 69.63 บาท/ กิโลกรัม ขึ้นอยูกับชนิดของ วัตถุดิบที่ใชในการผลิต เลขทะเบียนผลงาน 48(3)-0514-086 1 / กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว 2 / กลุมวิจัยอาหารสัตว กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว 3 / กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว

การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

328

การศึกษาการผลิตอาหารสุนัข

วารณุี พานชิผล 1/ วิโรจน วนาสทิธชัยวัฒน 2/ วลัยกานต เจยีมเจตจรูญ 1/ จีระวัชร เขม็สวสัด์ิ 3/

บทคัดยอ การศึกษาการผลิตอาหารสุนัขชนิดแหง (dry foods) สําหรับสุนัขโตเต็มวัย น้ําหนัก 20 กิโลกรัมดําเนินการระหวางเดือนมีนาคม 2545 – มกราคม 2546 ที่กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว กองอาหารสัตว จังหวัดปทุมธานี โดยผลิตอาหารสุนัขที่มีโปรตีน 20 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง และพลังงานใชประโยชนได 3,500กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม การผลิตอาหารใชอุปกรณและเครื่องมือแบบงายๆ ที่มีอยูเดิม ทําการผลิตอาหารสุนัขทั้งหมด 8 สูตร แบงเปนสูตรเจ (ใชวัตถุดิบจากพืชทั้งหมด) 3 สูตร สูตรปลาปน 3 สูตร สูตรเนื้อหมู และสูตรเนื้อไก เมื่อผสมวัตถุดิบของอาหารแตละสูตรเขากันแลว นําไปรีดใหเปนเสน แลวอบจนสุกและแหง พบวาอาหารสุนัขที่ผลิตสูตรเจและสูตรปลาปนมีโปรตีนเทากับ 23.25 – 24.62 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง ซึ่งสูงกวาที่คํานวณไว สวนสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไกมีโปรตีนเทากับ 22.39 และ 22.00 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง ใกลเคียงกับที่คํานวณไว อาหารทุกสูตรมีความนากิน โดยเฉพาะอยางยิ่งสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก และสามารถเก็บรักษาไดนาน 6 เดือน โดยอาหารไมมีกลิ่นหืน สําหรับตนทุนการผลิต เฉพาะสวนที่เปนตนทุนวัตถุดิบอยูระหวาง 13.92 – 69.63 บาท/กิโลกรัม ข้ึนอยูกับชนิดของวัตถุดิบที่ใชในการผลิต

เลขทะเบียนผลงาน 48(3)-0514-086 1/ กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว 2/ กลุมวิจัยอาหารสัตว กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว 3/ กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว

Page 2: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

329

Study on Dry Dog Food Production

Varunee Panichpol1/ Viroj Wanasitchaiwat2/ Walaikarn Jeimjetcharoon1/ Chirawat Khemsawat3/

Abstract Study on dry food production for adult dog, 20 kilograms body weight, was conducted during March 2002 – January 2003 at Feed and Forage Analysis Section, Animal Nutrition Division, Patumthani Province. 20 percents protein and 3,500 Kcal ME/Kg dog foods were produced by using the apparatus in the animal nutrition laboratory and meat processing plant. Eight dog food rations were produced as following, three vegetarian rations, three fish meal rations, pork ration and chicken ration. The raw materials and ingredients of each ration were mixed together, pressed as rod shape and baked. The result showed that protein in vegeterian rations and fish meal rations were 23.25 – 24.62 percents, more than the formulation,but protein in pork ration and chicken retion were 22.39 and 22.00 percents, closed to the formulation. Every ration was palatable, especially pork ration and chicken ration. Six months after production, no rations smelt rancid. The cost of production, only raw materials, were 13.92 – 69.63 baht/Kg, depending on kind of raw materials used.

Technical Document No. 48(3)-0514-086 1/ Feed and Forage Analysis Section, Animal Nutrition Division, Department of Livestocks Development. 2/ Animal Nutrition Research Section, Animal Nutrition Division, Department of Livestocks Development. 3/ Animal Nutrition Division, Department of Livestocks Development.

Page 3: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

330

คํานํา

ในการผลิตอาหารสําหรับใชเลี้ยงสุนัข ก็เชนเดียวกับการผลิตอาหารสําหรับใชเลี้ยงสัตวชนิดอื่นๆ คือจะตองมีโภชนะตางๆที่เพียงพอตอความตองการของสัตวแตละชวงอายุ หรือชวงการเจริญเติบโต โดยอาหารสุนัขที่มีการผลิตจําหนายกันอยูทั่วไป แบงเปน 3 ประเภท (Cheeke,1999) คือ

1. Dry dog foods เปนอาหารสุนัขที่มีความชืน้ประมาณ 6 -10 เปอรเซ็นต 2. Semi-moist dog foods มีความชื้นประมาณ 25 – 30 เปอรเซ็นต 3. Canned dog foods หรือ wet dog foods มีความชืน้ประมาณ 74 – 78 เปอรเซน็ต

วัตถุดิบที่ใชในการผลิตอาหารสุนัขไมวาจะเปนประเภท dry dog foods, semi-moist dog foods หรือ canned dog foods ก็ตามจะใชวัตถุดิบที่คลายกัน ถึงแมวาปริมาณโภชนะในอาหารจะมีความแตกตางกันก็ตาม วัตถุดิบเหลานี้ไดแก เนื้อสัตว เมล็ดธัญพืช เมล็ดถั่ว โปรตีนจากพืช ผลิตผลพลอยไดจากถั่วเหลือง เปลือกหุมเมล็ดถั่ว (hull) เปนตน ปจจุบัน ในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสุนัขไดมีการนําเมล็ดธัญพืช เมล็ดถั่วมาใชทดแทนเนื้อสัตวในบางสวน โดยที่โภชนะในอาหารยังคงมีพอเพียงสําหรับสุนัข การใชประโยชนไดของโภชนะในอาหารสุนัขขึ้นอยูกับความสามารถในการยอยได (digestibility) ของโภชนะ สุนัขสามารถยอยและดูดซึมคารโบไฮเดรตจากขาว (white rice) ไดหมด ในขณะที่สามารถยอยเมล็ดพืชอ่ืนไดเพียง 80 เปอรเซ็นต แตอยางไรก็ตาม ถาเมล็ดธัญพืชหรือเมล็ดถั่วถูกนําไปทําใหสุก (cook) จะทําใหการยอยไดของโภชนะเพิ่มมากขึ้น ในสวนของเปลือกหุมเมล็ดถั่วที่ใชเปนวัตถุดิบในอาหารสนุขันัน้ ก็เพื่อเพิ่มปริมาณเยื่อใย แตไมไดเพิ่มคุณคาทางโภชนะ (Animal Protection Institute, 2004)

ในขบวนการขั้นตอนการผลิตอาหารสุนัขจะตางกันตามประเภทของอาหาร นั่นคือ อาหารประเภท dry dog foods จะผลิตได 2 วิธี คือ วิธีแรก จะมีการนําวัตถุดิบตางๆ มาผสมกัน แลวจึงนําเขาเครื่อง expander หรือ extruder พรอมกับเติมไอน้ําหรือน้ํารอน แลวจึงใหความรอนและความดันแกอาหาร (heat and pressure system) หลังจากนั้นปลอยใหอาหารแหง แลวจึงสเปรยดวยน้ํามันเพื่อใหอาหารมีความนากิน อีกวิธีคือ การอบอาหารที่ผสมแลวที่อุณหภูมิสูง เมื่ออาหารสุกแลวจะมีความนากินโดยที่ไมตองสเปรยน้ํามัน สวนการผลิตอาหารประเภท canned dog foods จะตองนําวัตถุดิบทั้งหมดมาบดและผสมกับสารเสริม ทําใหสุกและบรรจุในกระปอง พรอมทั้งผนึกฝากระปอง ตอจากนั้นจึงนําไปผานขบวนการฆาเชื้อจุลินทรีย ดวยวิธี Sterilization (Animal Protection Institute,2004)

จากวัตถุดิบและขบวนการผลิตตามที่กลาวขางตน จะเห็นไดวาเหตุที่อาหารสุนัขมีราคาแพง เพราะตองลงทุนสูง โดยเฉพาะเครื่องจักรและอุปกรณที่ตองใชในการผลิต และจากการที่กรมปศุสัตวมีโครงการในการดูแลรับผิดชอบสุนัขจรจัดที่ไดรวบรวมไวที่ดานกักสัตวเพชรบุรี ทําใหมีภาระในการเลี้ยงดูสุนัขเหลานี้ ทั้งในเรื่องคาอาหารและแรงงานในการเลี้ยงดู ดังนั้น ถาสามารถผลิตอาหารสุนัขชนิด dry dog

Page 4: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

331

foods ไวสําหรับเลี้ยงสุนัขเหลานี้เอง โดยใชอุปกรณและเครื่องมือที่มีอยูแลวในหองปฏิบัติการ และใชวัตถุดิบที่สามารถหาไดงายในประเทศ ก็จะชวยประหยัดคาอาหารสุนัขลงไดและสะดวกตอการจัดการเลี้ยงดู

ดังนั้น การศึกษาครั้งนี้ จึงเปนการทดลองความเปนไปไดในการผลิตอาหารสุนัขชนิด dry dog foods โดยใชอุปกรณและเครื่องมือที่มีอยูเดิม โดยไมตองลงทุนจัดหาอุปกรณอ่ืนเพิ่ม และใชวัตถุดิบชนิดตางๆ ที่มีราคาถูกและหาไดงาย พรอมทั้งศึกษาความนากินและตนทุนการผลิต เพื่อเปนแนวทางใหกับผูที่สนใจจะผลิตอาหารสุนัขไวใชเอง

อุปกรณและวิธีการทดลอง

เครื่องมือที่ใชในการผลิตอาหารสุนัขมีดังนี ้1. เครื่องบดเนื้อสัตวสด แบบ Mincer (รูปที่ 1) 2. เครื่องบดอาหารสัตว แบบ Hammer mill (รูปที่ 2) 3. เครื่องบดอาหารสัตว แบบ Cutting mill (รูปที่ 3) 4. เครื่องผสมอาหารแบบมีอุปกรณสําหรบักวน (รูปที ่4 และ 5) 5. ตูอบ (Hot Air Oven) ขนาด 200 ลิตร (รูปที่ 6)

รูปที่1 เครื่องบดเนื้อสัตวสด แบบ Mincer รูปที่ 2 เครื่องบดอาหารสัตว แบบ Hammer mill

Page 5: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

332

รูปที่ 3 เครื่องบดอาหารสัตว แบบ Cutting mill

รูปที่ 4 และ 5 เครื่องผสมอาหาร

Page 6: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

333

รูปที่ 6 ตูอบ (Hot Air Oven)

ข้ันตอนการทดลอง มีดังนี ้1. การประกอบสูตรอาหารสุนัข ประกอบสูตรสําหรับสุนัขโตเต็มวัย ขนาดน้ําหนักตัว

ประมาณ 20 กิโลกรัม เพียงระยะเดียว เนื่องจากสุนัขจรจัดสวนใหญเปนสุนัขโตเต็มวัยและเพื่อเปนการประหยัดงบประมาณในการเลี้ยงดู จึงประกอบสูตรอาหารสุนัขที่มีระดับโภชนะเพียงพอสําหรับการดํารงชีพ โดยคํานวณใหอาหารสุนัขที่ผลิตมีโปรตีน 20 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง พลังงานประมาณ 3,500 กิโลแคลอรี่ตอกิโลกรัม (NRC,2000) ทดลองประกอบสูตร 3 กลุม 8 สูตร โดยใชวัตถุดิบแหลงโปรตีนและแหลงพลังงานที่แตกตางกัน (ตารางที่ 1) ซึ่งวัตถุดิบเหลานี้หาไดงายและมีราคาถูก ดังนี้

กลุมที่ 1 เปนสูตรที่ใชวัตถุดิบแหลงโปรตีนและแหลงพลังงานมาจากพืชทั้งหมด (สูตรเจ) โดยใชกากถั่วเหลือง (44 เปอรเซ็นตโปรตีน) เปนแหลงโปรตีนในอาหาร สวนวัตถุดิบแหลงพลังงานจะใชแตกตางกัน ดังนี้

- สูตรเจ 1 แปงมัน + แปงขาวเจา - สูตรเจ 2 มนัเสน + แปงขาวเจา - สูตรเจ 3 มนัเสน + ปลายขาว

กลุมที่ 2 ใชปลาปน (60 เปอรเซ็นตโปรตีน) รวมกับกากถั่วเหลือง เปนแหลงโปรตีนในอาหาร สวนแหลงวัตถุดิบแหลงพลังงานใชวัตถุดิบแตกตางกัน ดังนี้

- สูตรปลาปน 1 แปงมนั + แปงขาวเจา - สูตรปลาปน 2 มนัเสน + แปงขาวเจา - สูตรปลาปน 3 มนัเสน + ปลายขาว

Page 7: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

334

กลุมที่ 3 ใชเนื้อสัตวสดรวมกับกากถั่วเหลืองเปนแหลงโปรตีนในอาหาร ซึ่งในการทดลองคร้ังนี้ ใชเนื้อหมูสดและเนื้อไกสด สวนแหลงพลังงานใชแปงมันรวมกับแปงขาวเจา เนื่องจากแปงมันและแปงขาวเจามีคุณสมบัติในการอุมน้ํา (water holding capacity) ไดดี ทําใหสามารถอุมน้ําจากเนื้อสัตว ซึ่งมีน้ําเปนสวนประกอบมากกวา 20 เปอรเซ็นต (กองโภชนาการ,2530) ชวยใหการผสมวัตถุดิบเขากันไดดี (ตารางที่ 1)

สําหรับสูตรอาหารสุนขัในกลุมที ่1 และ 3 จะเติมสารแตงกลิน่ เพื่อเพิม่ความนากนิของอาหาร 2. ขั้นตอนการผลิตอาหารสนุัข

2.1 การเตรียมวัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใชจะตองบดละเอียดเพื่อใหสวนผสมเขกันไดดีเมื่อเวลาผสม โดยเนื้อสัตวตองนํามาบดดวยเครื่องบดเนื้อสัตว สวนวัตถุดิบที่มีลักษณะแหงและเปนชิ้นจะตองบดดวยเครื่องบดอาหารสัตวแบบ Hammer mill หรือ Cutting mill สุมวัตถุดิบแหลงโปรตีน คือ กาก ถั่วเหลือง ปลาปน เนื้อหมูสด และเนื้อไกสด ประมาณชนิดละ 300 กรัม ไปวิเคราะหคาโปรตีนและความชื้น โดยวิธี AOAC (AOAC, 1995)

2.2 ชั่งวัตถุดิบที่ใชตามสัดสวนที่กําหนดไวในแตละสูตร ตามตารางที่ 1 โดยมีข้ันตอนการใสวัตถุดิบแตละชนิดลงในเครื่องผสมอาหารแตกตางกัน ดังนี้

2.2.1 สูตรเจ ข้ันตอนแรก ตองผสมวัตถุดิบทุกชนิด ยกเวนน้ํามันรําใหเขากันกอน ตอจากนั้นจึงใสน้ํามันรําและคอยๆ เติมน้ํา เพื่อปรับใหสวนผสมมีความชื้นพอดีที่ทําใหสวนผสมสามารถปนเปนกอนไดโดยไมแตกรวน หรือเหลวเละ ซึ่งใชน้ําประมาณ 0.6 ลิตร ตอวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม การที่ไมใสน้ํามันลงผสมพรอมวัตถุดิบชนิดอื่น เพราะน้ํามันรําจะไปหุมอยูรอบวัตถุดิบชนิดอื่นลักษณะเปนกอน การกระจายตัวของวัตถุดิบไมดี ถึงแมจะใชเครื่องผสมอาหารก็ตาม นําวัตถุดิบที่ผสมเขากันแลวมาเขาเครื่องบดเนื้อ เพื่อรีดอาหารใหเปนเสน

2.2.2 สูตรปลาปน มีข้ันตอนการผสมอาหารเชนเดียวกับสูตรเจ แตปริมาณน้ําที่ใชนอยกวา คือประมาณ 0.4 ลิตร ตอวัตถุดิบ 1 กิโลกรัม ทั้งนี้เพราะปลาปนมีปริมาณเยื่อใยตํ่ากวากากถั่วเหลืองมาก จึงมีการยึดเกาะตัวกันดีกวากากถั่วเหลือง จากนั้นนําสวนผสมไปเขาเครื่องบดเนื้อเพื่ออัดเปนเสน

2.2.3 สูตรเนื้อหมูสดและเนื้อไกสด จะตองผสมวัตถุดิบทุกชนิดใหเขากันกอน ยกเวนเนื้อสัตวและน้ํามันรํา เมื่อผสมวัตถุดิบเขากันดีแลวจึงใสเนื้อสัตว และผสมวัตถุดิบทั้งหมดใหกระจายตัวเขากันดี จึงใสน้ํามันรํา ในขั้นตอนที่ใสเนื้อสัตวและน้ํามันรําลงผสม จะตองใชเวลาใหนอยที่สุดแตใหวัตถุดิบผสมเขากันใหดีที่สุด เพราะถาขั้นตอนนี้ใชเวลานานจะทําใหไขมันในเนื้อสัตวแตกตัวและแยกตัวออกมา ทําใหอาหารมีลักษณะเหลวเละ ไมสามารถทําใหเปนเสนไดดวยเครื่องบดเนื้อสัตวหรือไมอาจปนเปนกอนได นอกจากนี้ในขณะที่เครื่องบดเนื้อสัตวทํางาน จะมีความรอนเกิดขึ้นซึ่งมีสวนทําใหไขมันแยกตัวเชนกัน เมื่อจับเนื้ออาหารจะเห็นวามีน้ํามันติดมือมาก นอกจากนี้ เนื้อสัตวยังสูญเสียคุณสมบัติในการอุมน้ําอีกดวย(เพ็ญศรี,ไมระบุ พ.ศ.) สําหรับอาหารสูตรเนื้อสัตวสดนี้ไมตองเติมน้ํา

Page 8: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

335

เนื่องจากในเนื้อสัตวมีปริมาณน้ํามากอยูแลว หลังจากผสมวัตถุดิบตางๆ เขากันดีแลว จึงนําไปรีดเปนเสนดวยเครื่องบดเนื้อสัตว

2.3 การอบอาหารใหสุก อาหารทุกสูตรจะตองอบจนกระทั่งอาหารสุกและมีลักษณะแหง ตูอบที่ใชในการทดลองครั้งนี้เปนตูอบที่ใชในหองปฏิบัติการรุนเกา ซึ่งแตกตางจากตูอบอาหารทั่วไป โดยตูอบนี้สามารถตั้งอุณหภูมิไดสูงสุดเพียง 140 องศาเซลเซียส นําอาหารสุนัขที่รีดเปนเสนแลวใสในถาด โดยใหอาหารแผกระจายบาง ทั่วทั้งถาด (รูปที่ 7) การอบอาหารในชวงแรกใชอุณหภูมิ 75 องศาเซลเซียส นานประมาณ 30 นาที แลวจึงเพิ่มอุณหภูมิเปน 140 องศาเซลเซียส อบตอไปจนกระทั่งอาหารสุกและแหง โดยอาหารจะมีลักษณะแข็งแตกรอบ เมื่อหักชิ้นอาหารดูตรงสวนภายในชิ้นอาหารจะตองมีลักษณะแหง มิฉะนั้นถาเก็บอาหารไวนานจะทําใหอาหารเสียและเกิดเชื้อราได ในขณะที่อบอาหารจะตองเปดพัดลมภายในตูอบตลอดเวลาเพื่อใหความรอนกระจายทั่วตูและทําใหไอน้ําระเหยออกมาภายนอกตู สําหรับการใชอุณหภูมิสูงตั้งแตเร่ิมตนอบอาหาร จะทําใหผิวนอกของชิ้นอาหารเกรียมแตภายในยังไมสุกและมีความชื้นสูง การที่ตูอบที่ใชในการทดลองครั้งนี้เปนตูรุนเกา ทําใหตองใชเวลาในการอบนานมากกวา 1 ชั่วโมง แตถาเปนตูอบรุนใหมหรือเปนตูอบที่ใชในการผลิตอาหารโดยเฉพาะจะสามารถตั้งอุณหภูมิไดสูงกวานี้ ทําใหเวลาที่ใชในการอบลดลง

รูปที่ 7 อาหารสุนัขกอนการอบ

2.4 การบรรจุเก็บในภาชนะ นําอาหารที่สุกดีแลวออกจากตูอบ นําไปผึ่งใหเย็นที่อุณหภูมิหอง แลวสุมเก็บตัวอยางประมาณ 300 กรัม เพื่อวิเคราะหคาความชื้นและโปรตีน สวนอาหารที่เหลือทั้งหมดเก็บบรรจุใสถุงพลาสติก ปดปากถุงใหสนิทดวยเครื่องปดปากถุง เพื่อไมใหความชื้นเขา (รูปที่ 8)

Page 9: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

336

ตารางที่ 1 สูตรอาหารสุนัขโตเต็มวัย ขนาดน้ําหนกั 20 กิโลกรัม

ราคา น้ําหนักวัตถุดิบ (กก.) ชนิดวัตถุดิบ บาท/กก. สูตรเจ สูตรปลาปน

1 2 3 1 2 3 สูตร เนื้อหมู

สูตร เนื้อไก

แปงมัน 15.00* 18.00 - - 22.80 - - 19.96 22.59 มันเสน 3.00 - 18.00 18.00 - 22.80 22.80 - - แปงขาวเจา 15.00* 17.00 17.00 - 22.00 22.00 - 20.00 20.00 ปลายขาว 6.00 - - 17.00 - - 22.00 - - กากถั่วเหลือง (44%โปรตีน) 10.50 44.64 44.64 44.64 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 ปลาปน (60%โปรตีน) 28.00* - - - 25.24 25.24 25.24 - - เนื้อหมูสดบด 50.00* - - - - - - 115.00 - เนื้อไกสดบด 60.00* - - - - - - - 108.20 น้ําตาลทราย 14.00* 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 ไดแคลเซี่ยม (P/18) 25.00* 2.60 2.60 2.60 2.20 2.20 2.20 2.60 2.60 น้ํามันรํา 30/ลิตร* 7.00 7.00 7.00 7.00 7.00 7.00 8.00 7.00 เกลือ 10.00* 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 0.50 พรีมิกซสุกรขุน 60.00 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 0.25 BHT (สารกันหืน) 200.00* 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 0.05 สารแตงกลิ่น ** 0.05 0.05 0.05 - - - 0.05 0.05 น้ําหนักสดรวม 100.09 100.09 100.09 100.04 100.04 100.04 186.41 181.24 น้ําหนักแหงรวม 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 คุณคาทางโภชนะ (on Dry Basis) โปรตีน (%) 20 20 20 20 20 20 20 20 พลังงาน (KcalME/Kg) 3518 3518 3518 3542 3542 3542 3429 3583 แคลเซี่ยม (%) 0.76 0.76 0.76 2.63 2.63 2.63 0.69 1.65 ฟอสฟอรัส (%) 0.57 0.57 0.57 1.31 1.31 1.31 0.69 1.02 ไลซีน (%) 1.23 1.23 1.23 1.45 1.45 1.45 1.09 1.12 เมทไธโอนีน+ซีสตีน (%) 0.57 0.57 0.57 0.68 0.68 0.68 0.48 0.56 ลิโนลิอิค (%) 2.56 2.56 2.56 2.56 2.56 2.56 2.92 3.04 ตนทุนวัตถุดิบทั้งหมด ( บาท/กก.นน.แหง) 17.72 15.52 13.92 21.62 18.90 16.89 58.82 69.63

* ราคาขายปลีก ** ราคาแตกตางกันตามกล่ินที่เลือกใช การเติมน้ําเพื่อใหวัตถุดิบผสมเขากันไดดี สูตรเจใชน้ํา 0.6 ลิตร/กก. สูตรปลาปนใชน้ํา 0.4 ลิตร/กก.

Page 10: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

337

รปูที่ 8 อาหารสุนัขที่ผานการอบสุกแลวและบรรจุในถุงที่ปดสนทิ

3. การตรวจสอบอายุการเก็บ นําอาหารสุนัขที่บรรจุในถุงพลาสติกที่ปดมิดชิดทุกสูตร ที่เก็บรักษาในอุณหภูมิหอง มาตรวจสอบความหืนหรือกลิ่นหืนทุกเดือนๆ ละ 1 คร้ัง โดยวิธีการดมกลิ่น

ดําเนินการทดลองที่กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว กองอาหารสัตว จังหวัดปทุมธานี ระหวางเดือนมีนาคม 2545 ถึง มกราคม 2546

ผลการทดลองและวิจารณ

ลักษณะทางกายภาพของอาหารสุนัข 1. สีของอาหาร จากการผลิตอาหารสุนัข 8 สูตร สีของอาหารหลังจากการอบใหสุกแลว จะขึ้นอยูกับวัตถุดิบที่ใช ดังนี้ 1.1 สูตรเจ อาหารสูตรเจทั้ง 3 สูตร จะเปนสีเหลืองนวลตามสีของกากถัว่ 1.2 สูตรปลาปน อาหารสูตรปลาปนทั้ง 3 สูตร จะเปนสีเทาเขม เชนเดียว กับสีของปลาปนที่ใช 1.3 สูตรเนื้อหมูและเนื้อไก จากการใชเนื้อหมูสดและเนื้อไกสดทําอาหารสุนัข อาหารที่สุกแลวจะเปนสีน้ําตาลแดง เพราะเกลือโซเดียมคลอไรดซึ่งเปนวัตถุดิบชนิดหนึ่งที่ใชในสูตรอาหารจะทําปฏิกิริยากับ myoglobin เกิดสารประกอบเชิงซอน (Complex substance) ดังนั้นเมื่อนําอาหารไปอบใหสุก จึงยังคงรักษาสีแดงไวได (Hui และคณะ, 2001) แตถาใชเนื้อหมูและเนื้อไกที่ตมสุกแลว เมื่อนํามาทําอาหารสุนัขสีของอาหารจะเปนสีขาวซีด เพราะเมื่อเนื้อสัตวผานการขบวนการใหความรอน โปรตีนที่อยู

Page 11: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

338

ในสวนของ myoglobin หรือ pigment ของเนื้อสัตวจะเกิดการ denature สีของเนื้อสัตวจึงซีด ดังนั้น เมื่อนํามาทําอาหารสุนัข อาหารที่ไดจึงมีสีซีด ไมนากิน 2. กลิ่นของอาหาร

2.1 สูตรเจ ในการทําอาหารสุนัขสูตรเจ ไดใชสารแตงกลิ่น Meat flavor เมื่ออาหารสุกแลวจะมีกลิ่นหอมออนๆ ของเนื้อสัตว

2.2 สูตรปลาปน อาหารที่อบสุกแลว จะมีกลิ่นคอนขางแรงของปลาปน 2.3 สูตรเนื้อหมูและเนื้อไก จากการใชสารแตงกลิ่น Ham flavor และ Chick flavor

ในอาหารสุนัขสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก ทําใหอาหารมีกลิ่นหอม 3. ลักษณะผิวนอกและเนื้อของอาหาร ในการผลิตอาหารทดลองครั้งนี้ ผลิตในลักษณะ

เปนเสน อาหารสูตรเจและสูตรปลาปน เมื่ออบสุกแลวผิวภายนอกของอาหารจะแหง สวนสูตรเนื้อหมูและเนื้อไกผิวภายนอกจะเปนมันนากิน สําหรับเนื้อของอาหารทุกสูตรมีลักษณะแข็งแตกรอบ ไมรวนเปนผง

คุณคาทางโภชนะของอาหารสุนขั

จากการวิเคราะหคาโปรตีนในอาหารสุนัขทั้ง 8 สูตร พบวาอาหารสูตรเจและสูตรปลาปนมีโปรตีนอยูในชวง 23.25 – 24.62 เปอรเซ็นตของวัตถุแหง (ตารางที่ 2) สูงกวาที่คํานวณไวในสูตร ซึ่งกําหนดไว 20 เปอรเซ็นต สวนอาหารสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก มีโปรตีน 22.39 และ 22.00 เปอรเซ็นต ใกลเคียงกับที่คํานวณไว การที่อาหารสูตรเจและสูตรปลาปนมีโปรตีนสูงเพราะกากถั่วเหลืองที่ใชในการทดลองนี้มีคุณภาพดี มีโปรตีนสูงถึง 49.91 เปอรเซ็นต ดังนั้น ในการผลิตอาหารสุนัขนั้น คุณคาทางโภชนะของอาหารจะผันแปรไปตามคุณภาพของวัตถุดิบที่ใช โดยถาวัตถุดิบที่ใช เปนเนื้อสัตวสดจะมีความผันแปรคอนขางมาก เนื่องจากในสวนของเนื้อสัตวจะมีองคประกอบสวนที่เปนน้ําและไขมันอยูในปริมาณที่แตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับชนิดสัตว อายุสัตว การตัดแตงเนื้อ อายุการเก็บรักษาและวิธีการเก็บรักษาเนื้อสัตว

Page 12: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

339

ตารางที่ 2 คุณคาทางอาหารของวัตถุดิบและอาหารสุนัขสูตรตางๆ 8 สูตร

% on Dry Basis รายการ

ความชื้น โปรตีน กากถั่วเหลือง 10.24 49.91 ปลาปน 9.34 62.63 เนื้อหมูบดสด 47.85 26.06 เนื้อไกสด 59.19 35.90 อาหารสุนัข สูตรเจ 1 3.66 23.25

2 3.90 24.62 3 3.07 23.51

สูตรปลาปน 1 3.64 23.50 2 3.06 23.57 3 3.72 23.38

สูตรเนื้อหมู 4.24 22.39 สูตรเนื้อไก 4.52 22.00

ความนากินของอาหารสนุขั จากการทดสอบเอาอาหารสุนัข 8 สูตร คือ สูตรเจ 1 2 และ 3 สูตรปลาปน 1 2 และ 3

สูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก ไปใหสุนัขในบริเวณกลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว และที่สํานักสุขศาสตรสัตวและสุขอนามัยที่ 1 จังหวัดปทุมธานี รวมทั้งสุนัขที่เจาหนาที่กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตวเลี้ยงไวที่บาน รวม 10 ตัว เพื่อทดสอบดูความนากินของอาหาร โดยสังเกตจากการกินหรือการยอมรับของสุนัข พบวาสุนัขกินอาหารทุกสูตร ถึงแมวาลักษณะของชิ้นอาหารที่นํามาทดสอบจะมีลักษณะแตกตางจากลักษณะของอาหารสุนัขที่มีจําหนายทั่วไปก็ตาม แตอยางไรก็ตาม พบวาสุนัขชอบกินอาหารสูตรที่มีเนื้อสัตวมากกวาสูตรเจ

อายุการเก็บรักษา จากการทดลองเบื้องตนในการผลิตอาหารสุนัขโดยไมใสสารกันหืน พบวา อาหารสุนัขทุก

สูตรสามารถเก็บไดนานประมาณ 2 เดือน อาหารจะเริ่มมีกลิ่นหืน ทั้งนี้เนื่องจากในสูตรอาหารสุนัขจําเปนตองเติมไขมันในระดับสูง เพื่อเปนแหลงของกรดไขมันที่จําเปนตอการบํารุงขนของสุนัข (NRC, 2000) ดังนั้น ในการทดลองผลิตอาหารสุนัขครั้งนี้ จึงจําเปนตองใสสารกันหืนดวย เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ซึ่งผลจากการตรวจสอบกลิ่นอาหารสุนัขทุกเดือน โดยเก็บอาหารสุนัขที่ผลิตไดไวในอุณหภูมิหอง พบวา อาหารสุนัขทุกสูตรที่ผลิตสามารถเก็บไดนาน 6 เดือน โดยไมมีกลิ่นหืน

Page 13: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

340

ตนทุนคาวัตถุดิบ ในการผลิตอาหารสุนัข 8 สูตร โดยมีวัตถุดิบแหลงโปรตีนและแหลงพลังงานที่แตกตางกัน พบวาตนทุนการผลิตซึ่งคิดเฉพาะคาวัตถุดิบ ไมไดคิดคาดําเนินการ จะมีความแตกตางกันตามชนิดของวัตถุดิบแหลงโปรตีนและแหลงพลังงาน รวมทั้งสารแตงกลิ่นที่ใช ดังนี้ 1. วัตถุดิบแหลงโปรตีน เมื่อเปรียบเทียบราคาตอกิโลกรัม ระหวางกากถั่วเหลือง ปลาปน เนื้อหมูและเนื้อไกแลว กากถั่วเหลืองจะมีราคาถูกกวาวัตถุดิบอีก 3 ชนิด เนื้อหมูและเนื้อไกจะมีราคาแพง นอกจากนี้ เนื้อสัตวสดทั้ง 2 ชนิดนี้มีน้ําเปนสวนประกอบอยูในปริมาณที่สูงกวา ดังนั้น เมื่อนํามาผลิตเปนอาหารสุนัข จึงตองใชในปริมาณมาก เชน การผลิตอาหารสูตรเนื้อหมู 100 กิโลกรัมน้ําหนักแหง จะตองใชเนื้อหมูสด 115 กิโลกรัม ในขณะที่ตองการผลิตอาหารสูตรเนื้อไก 100 กิโลกรัมน้ําหนักแหง จะตองใชเนื้อไกสด 108.2 กิโลกรัม จึงมีผลใหตนทุนคาวัตถุดิบสูง

2. วัตถุดิบแหลงพลังงาน ในการศึกษาครั้งนี้ใชวัตถุดิบ 4 ชนิด คือ แปงมัน แปงขาวเจา มันเสน และปลายขาว พบวา อาหารสุนัขสูตรเจและปลาปนที่ใชแปงมันรวมกับแปงขาวเจา มีตนทุนคาวัตถุดิบสูงที่สุด และสูตรที่ใชมันเสนรวมกับปลายขาวมีตนทุนคาวัตถุดิบตํ่าสุด ทั้งนี้เพราะมนัเสนและปลายขาวมีราคาถูกกวาแปงมันและแปงขาวเจามาก

3. สารแตงกลิ่น ในขบวนการผลิตอาหารสุนัขจําเปนตองรักษากลิ่นอาหารไวใหมากที่สุด เพื่อกระตุนความอยากกินของสุนัข (พันทิพา, 2539) สุนัขจะไมกินอาหารที่มีกลิ่นไหมหรือกลิ่นหืน ดังนั้น ในการผลิตอาหารสุนัขจึงจําเปนตองใชสารแตงกลิ่น เพื่อใหมีกลิ่นหอม แมวาการใชสารแตงกลิ่นจะเปนการเพิ่มตนทุนการผลิตก็ตาม โดยราคาของสารแตงกลิ่นจะแตกตางกันตามชนิดของกลิ่น เชน Ham flavor ราคา 2,000 บาทตอกิโลกรัม Meat flavor ราคา 900 บาท/กิโลกรัม เปนตน อยางไรก็ตาม เมื่อคิดตนทุนอาหารสุนัขทั้ง 8 สูตร (เฉพาะคาวัตถุดิบ) จะมีตนทุนอยูระหวาง 13.92 ถึง 69.63 บาทตอกิโลกรัม โดยสูตรอาหารเจ 3 มีตนทุนถูกที่สุด คือ 13.92 บาทตอกิโลกรัม สวนสูตรเนื้อไกมีตนทุนสูงสุดเทากับ 69.63 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งเมื่อพิจารณาในภาพรวมแลว อาหารสุนัขสูตรเจจะมีตนทุนต่ําสุด รองลงมา คือ สูตรปลาปน และสูตรเนื้อสัตวสดมีราคาสูงสุด (ตารางที่ 1)

สรุปผลการทดลอง จากการทดลองผลิตอาหารสุนัขโดยใชอุปกรณและเครื่องมือแบบงายๆ ที่มีใชอยูที่กลุมวิเคราะหอาหารสัตวและพืชอาหารสัตว กองอาหารสัตว และของกลุมวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเนื้อ สํานักพัฒนาการปศุสัตวและถายทอดเทคโนโลยี โดยไดประกอบสูตรและผลิตอาหารสุนัข สําหรับสุนัขโตเต็มวัย น้ําหนัก 20 กิโลกรัม โดยใหมีโปรตีน 20 เปอรเซ็นตของน้ําหนักแหง และพลังงานใชประโยชนได 3,500 กโิลแคลอรี่/กิโลกรัม สามารถประกอบสูตรอาหารได 8 สูตร คือ สูตรเจ 3 สูตร (ใชวัตถุดิบจากพืชทั้งหมด) สูตร

Page 14: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

341

ปลาปน 3 สูตร สูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก พบวา อาหารสุนัขสูตรเจและสูตรปลาปน มีคุณคาทางโภชนะสูงกวาที่คํานวณไว สวนสูตรเนื้อหมูและสูตรเนื้อไก มีคุณคาทางโภชนะใกลเคียงกับที่คํานวณไว โดยตนทุนของอาหารที่ผลิตอยูระหวาง 13.92 ถึง 69.63 บาทตอกิโลกรัม สุนัขชอบกินอาหารทุกสูตร แตจะชอบสูตรเนื้อสัตวมากที่สุด อาหารสุนัขที่ผลิตสามารถเก็บรักษาไดนาน 6 เดือน โดยไมมีกลิ่นหืน

ขอเสนอแนะ

1. ในฐานะของผูผลิต การผลิตอาหารสุนัขสูตรเจและสูตรปลาปนจะสะดวกที่สุด เพราะสามารถควบคุมคุณภาพของสูตรอาหารไดงาย และสามารถเก็บสํารองวัตถุดิบไวใชไดโดยไมมีความยุงยาก

2. ข้ันตอนที่สําคัญในการผลิต คือ การอบใหอาหารสุกและแหง หากสามารถจัดหาเครื่องอบหรือตูอบสําหรับอบอาหารโดยเฉพาะที่สามารถควบคุมอุณหภูมิในระดับสูงๆ ได และมีความจุในการอบอาหารในปริมาณมากๆ ได ก็จะชวยใหการผลิตอาหารสุนัขสะดวกและรวดเร็วขึ้น

3. กรณีที่ตองการลดตนทุนอาหารสุนัขลงอีก โดยเฉพาะสูตรที่ใชเนื้อสัตว ถาสามารถหาซื้อเศษเนื้อหรือเครื่องในสัตวในราคาถูก ก็จะชวยใหตนทุนลดลงอีกมาก

กิตติกรรมประกาศ

คณะผูดําเนินการวิจัย ขอขอบคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.เสกสม อาตมางกูร ภาควิชา

สัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดร.สมคิด พรหมมา ศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวเชียงใหม และคุณเพ็ญศรี จูงศิริวัฒน กลุมวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเนื้อ สํานักพัฒนาการปศุสัตวและถายทอดเทคโนโลยี ที่ใหคําปรึกษาแนะนําในการดําเนินการครั้งนี้ รวมทั้งขอขอบคุณเจาหนาที่กลุมตรวจสอบคุณภาพอาหารสัตว สํานักตรวจสอบคุณภาพสินคาปศุสัตว สวนตรวจสอบมาตรฐานดานการ ปศุสัตว สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินคาปศุสัตว และกลุมวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเนื้อ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในดานตางๆ จนทําใหการทดลองครั้งนี้ลุลวงไปดวยดี

Page 15: การศึกษาการผล ิตอาหารส ุนัขnutrition.dld.go.th/nutrition/images/research/R4822.pdf · รายงานผลงานวิจัยประจ

รายงานผลงานวิจัยประจําป 2548 กองอาหารสัตว กรมปศุสัตว กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนา 328 - 342

342

เอกสารอางอิง

กองโภชนาการ. 2530. ตารางแสดงคุณคาอาหารไทยในสวนที่กินได 100 กรัม. กองโภชนาการ กรมอนามัย. 48 หนา.

พันทิพา พงษเพียจันทร. 2539. การผลิตอาหารสัตว. โอ เอส พร้ินติ้ง เฮาส. กรุงเทพฯ. 294 หนา.

เพ็ญศรี จูงศิริวัฒน. ไมระบุพ.ศ. เทคโนโลยีการแปรรูปเนื้อสัตว. กลุมงานผลิตภัณฑสัตว กองสงเสริมการปศุสัตว กรมปศุสัตว. 62 หนา.

Animal Protection Institute. 2004. What’s Really in Pet Food. http://www.api4animals.org/79.htm. January 24, 2005. 15 p.

AOAC. 1995. Official Methods of Analysis of AOAC International, 16thed. AOAC International. Verginia, USA.

Cheeke P.R. 1999. Applied Animal Nutrition, Feeds and Feeding 2nded. Prentice-Hall, Inc. USA. 525 p.

Hui, Y.H., W.K. Wip, R.W. Rogers and O.A. Young. 2001. Meat Science and Application. Marcel Dekker, Inc. New York, USA. 710 p.

NRC. 1985. Nutrient Requirement of Dogs. Revised 1985. -http://www.nap.edu/openbook/0309034965/html/2html. February 19, 2002. 88 p.