29
Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 1 / 29 อนุกรมฟูเรียร์ (Fourier Series) ผศ.ดร.สุจินต์ คมฤทัย, Ph.D.

อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

  • Upload
    others

  • View
    5

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 1 / 29

อนุกรมฟูเรียร์ (Fourier Series)

ผศ.ดร.สุจินต์ คมฤทัย, Ph.D.

Page 2: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

อนุกรมฟูเรียร์: คาบ 2L ใดๆ

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 2 / 29

• กำหนดให้ L > 0 เป็นจำนวนจริงใด ๆ จะได้ว่า

cosπx

L, sin

πx

L

เป็นฟังก์ชันคาบที่มีคาบ P = 2L

• ในทำนองเดียวกัน

cosnπx

L, sin

nπx

L(n = 2, 3, . . .)

ก็เป็นฟังก์ชันคาบที่มีคาบ P = 2L เช่นกัน

Page 3: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

อนุกรมฟูเรียร์: คาบ 2L ใดๆ

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 3 / 29

บทนิยาม ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันคาบ 2L อนุกรม

S(x) =a02

+∞∑

n=1

(

an cosnπx

L+ bn sin

nπx

L

)

เรียกว่าอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน f โดยที่ an, bn คำนวณจาก

a0 =1

L

L

−L

f(x)dx,

an =1

L

L

−L

f(x) cosnπx

Ldx (n = 1, 2, 3, . . .)

bn =1

L

L

−L

f(x) sinnπx

Ldx (n = 1, 2, 3, . . .)

Page 4: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การลู่เข้าอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชันคาบ 2L

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 4 / 29

ทฤษฎีบท ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันคาบ 2L และ

1. f ต่อเนื่องเป็นช่วงๆ2. อนุพันธ์ f ′(x−), f ′(x+) มีค่าที่ทุก x

สำหรับ x ที่ฟังก์ชัน f ต่อเนื่องที่ x จะได้ผลบวกอนุกรม

a02

+∞∑

n=1

(

an cosnπx

L+ bn sin

nπx

L

)

= f(x)

สำหรับ x ที่ฟังก์ชัน f ไม่ต่อเนื่องที่ x จะได้ผลบวกอนุกรม

a02

+∞∑

n=1

(

an cosnπx

L+ bn sin

nπx

L

)

=f(x−) + f(x+)

2

Page 5: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 1

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 5 / 29

EX. จงหาอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน

f(x) =

0 −2 < x < −1

k −1 < x < 1

0 1 < x < 2

,

โดยคาบ p = 4

(ตอบ f(x) = k

2+ 2k

π

(

cos πx

2−

1

3cos 3πx

2+ 1

5cos 5πx

2− · · ·

)

)

Page 6: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 2

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 6 / 29

EX. จงหาอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน

f(x) =

−k −2 < x < 0,

k 0 < x < 2, p = 4, L = 2

วิธีทำ คำนวณ

a0 =1

2

(∫

0

−2

(−k)dx+

2

0

kdx

)

= 0

an =1

2

(∫

0

−2

(−k) cosnπx

2dx+

2

0

k cosnπx

2dx

)

,

= 0

Page 7: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 2

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 7 / 29

bn =1

2

(∫

0

−2

(−k) sinnπx

2dx+

2

0

k sinnπx

2dx

)

,

=k

nπ((1− (−1)n − ((−1)n − 1))) ,

=

0 n คู่4k

nπn คี่

ดังนั้นอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน f คือ

f(x) =4k

π

(

sinπx

2+ sin

3πx

2+ sin

5πx

2+ · · ·

)

Page 8: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 3: Half-wave rectifier

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 8 / 29

EX. จงหาอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน

f(x) =

0 −L < x < 0

A sin πx

L0 < x < L

, p = 2L

วิธีทำ คำนวณ

a0 =1

L

L

0

A sinπx

Ldx =

2A

π,

an =1

L

L

0

A sinπx

Lcos

nπx

Ldx,

=A

2L

L

0

[

sin(n+ 1)πx

L+ sin

(1− n)πx

L

]

dx

Page 9: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 3: Half-wave rectifier

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 9 / 29

a1 =A

2L

L

0

sin2πx

Ldx = 0,

และเมื่อ n ≥ 2 ได้

an =A

(

1− (−1)n+1

n+ 1+

1− (−1)1−n

1− n

)

ดังนั้น a3 = a5 = · · · = 0 และเมื่อ n ≥ 2 เป็นจำนวนคู่ได้

an = −2A

(n2 − 1)π, n = 2, 4, . . .

Page 10: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 3: Half-wave rectifier

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 10 / 29

bn =1

L

L

0

A sinπx

Lsin

nπx

Ldx,

=A

2L

L

0

[

cos(1− n)πx

L− cos

(1 + n)πx

L

]

dx

เมื่อ n = 1 จะได้

b1 =A

2L(L− 0) =

A

2

และจาก sin kπ = 0 เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้ได้ bn = 0 เมื่อn ≥ 2

Page 11: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 3: Half-wave rectifier

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 11 / 29

สรุปได้ว่าอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน f คือ

f(x) =A

π+

A

2sin

πx

L−

2A

π

∞∑

n=1

1

4n2 − 1cos

2nπx

L

Page 12: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ฟังก์ชันคู่ ฟังก์ชันคี่

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 12 / 29

บทนิยาม ให้ f : R → R

• f(x) เรียกว่าฟังก์ชันคู่ ถ้า

f(−x) = f(x) ทุก x

• f(x) เรียก f(x) ว่าฟังก์ชันคี่ ถ้า

f(−x) = −f(x) ทุก x

Page 13: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ฟังก์ชันคู่ ฟังก์ชันคี่

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 13 / 29

Note.• 1, cos

πx

L, cos

2πx

L, . . . เป็นฟังก์ชันคู่

sinπx

L, sin

2πx

L, . . . เป็นฟังก์ชันคี่

• ถ้า f เป็นฟังก์ชันคู่จะได้ว่า f(x) cosnπx

Lเป็นฟังก์ชันคู่ และ

f(x) sinnπx

Lเป็นฟังก์ชันคี่

• ถ้า f เป็นฟังก์ชันคี่จะได้ว่า f(x) cosnπx

Lเป็นฟังก์ชันคี่ และ

f(x) sinnπx

Lเป็นฟังก์ชันคู่

Page 14: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ฟังก์ชันคู่ ฟังก์ชันคี่

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 14 / 29

ข้อสังเกตุ∫

L

−L

O(x)dx = 0,

L

−L

E(x)dx = 2

L

0

E(x)dx

Page 15: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การกระจายอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชันคู่ ฟังก์ชันคี่

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 15 / 29

ทฤษฏีบท ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันคาบ 2L

• ถ้า f(x) เป็นฟังก์ชันคู่ จะได้อนุกรมฟูเรียร์

f(x) =a02

+

∞∑

n=1

an cosnπx

L(Fourier cosine)

• ถ้า f(x) เป็นฟังก์ชันคี่ จะได้อนุกรมฟูเรียร์

f(x) =∞∑

n=1

bn sinnπx

L(Fourier sine)

Page 16: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 4

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 16 / 29

รูปซ้ายมือมาจากตัวอย่าง 1 จะเห็นว่าเป็นฟังก์ชันคู่ดังนั้นกระจายอนุกรมได้อนุกรมฟูเรียร์โคไซน์

รูปทางขวาจากตัวอย่าง 2 จะเห็นว่าเป็นฟังก์ชันคี่ดังนั้นกระจายอนุกรมได้อนุกรมฟูเรียร์ไซน์

Page 17: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

อนุกรมฟูเรียร์ของผลบวก และผลคูณค่าคงที่

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 17 / 29

ทฤษฎีบท สปส. (an และ bn) อนุกรมฟูเรียร์ของ f1+f2 เท่ากับผลบวกของ สปส.อนุกรมฟูเรียร์คู่สมนัยกันของ f1 และของ f2

สปส. (an และ bn) ของอนุกรมฟูเรียร์ของ cf(x) เมื่อ c เป็นค่าคงตัว เท่ากับ c คูณสปส.อนุกรมฟูเรียร์ของ f(x)

Page 18: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 5

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 18 / 29

EX. จงกระจายอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน

f(x) = x+ π (−π < x < π), P = 2π

Page 19: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 5

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 19 / 29

วิธีทำ สามารถเขียน f(x) = f1(x) + f2(x) โดยในหนึ่งคาบf1(x) = x และ f2(x) = π เนื่องจาก f2 เป็นฟังก์ชันค่าคงที่ดังนั้นจะได้อนุกรมฟูเรียร์

f2(x) = π +∞∑

n=0

(0 cosnx+ 0 sinnx)

f1(x) เป็นฟังก์ชันคี่ดังนั้นได้อนุกรมอนุกรมฟูเรียร์ไซน์ โดย

bn =1

π

π

−π

x sinnx dx =2

π

π

0

x sinnx dx

=2

π

(

−x cosnx

n+

sinnx

n2

)

π

0

= −2(−1)n

n

Page 20: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 5

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 20 / 29

สรุปได้อนุกรมฟูเรียร์ของ f(x) คือ

f(x) = π −

∞∑

n=1

2(−1)n

nsinnx

Page 21: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การขยายครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 21 / 29

บทนิยาม ให้ L > 0 และ f(x) เป็นฟังก์ชันบนช่วง [0, L]

1. นิยาม fE เป็นฟังก์ชันคาบ 2L และในหนึ่งคาบ

fE(x) =

f(x) 0 < x < L

f(−x) −L < x < 0

2. นิยาม fO เป็นฟังก์ชันคาบ 2L และในหนึ่งคาบ

fO(x) =

f(x) 0 < x < L

−f(−x) −L < x < 0

Page 22: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การขยายครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 22 / 29

สังเกตว่า

• fE เป็นฟังก์ชันคู่• fO เป็นฟังก์ชันคี่

เรียก

fE การขยายครึ่งช่วงเป็นฟังก์ชันคู่ ของ f(x)

fO การขยายครึ่งช่วงเป็นฟังก์ชันคี่ ของ f(x)

Page 23: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การขยายครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 23 / 29

Page 24: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การกระจายอนุกรมฟูเรียร์ครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 24 / 29

บทนิยาม ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันบนช่วง x ∈ [0, L] มีสองวิธีในการกระจายอนุกรมฟูเรียร์ของฟังก์ชัน f

1. f(x) = fE(x) = Fourier cosine of fE2. f(x) = fO(x) = Fourier sine of fO

อนุกรมที่ได้เรียกว่าการกระจายครึ่งช่วงของ f(x)

Page 25: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การกระจายอนุกรมฟูเรียร์ครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 25 / 29

ทฤษฎีบท ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันนิยามบนช่วง x ∈ [0, L]

1. ถ้ากระจายครึ่งช่วงด้วยฟังก์ชันคู่ fE จะได้

f(x) =a02

+∞∑

n=1

an cosnπx

L(0 < x < L)

โดย

an =2

L

L

0

f(x) cosnπx

Ldx

เรียกอนุกรมที่ได้ว่าอนุกรมฟูเรียร์โคไซน์ของ f

Page 26: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

การกระจายอนุกรมฟูเรียร์ครึ่งช่วง

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 26 / 29

2. ถ้ากระจายครึ่งช่วงด้วยฟังก์ชันคี่ จะได้

f(x) =∞∑

n=1

bn sinnπx

L(0 < x < L)

โดย

bn =2

L

L

0

f(x) sinnπx

Ldx

เรียกอนุกรมที่ได้ว่าอนุกรมฟูเรียร์ไซน์ของ f

Page 27: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 6

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 27 / 29

EX. ให้

f(x) =

x 0 ≤ x ≤ π

2π − x π ≤ x ≤ 2π, L = 2π

จงหาอนุกรมฟูเรียร์ไซน์ของ f

วิธีทำ โดยนิยามต้องคำนวณ

bn =2

0

f(x) sinnπx

2πdx,

=1

π

(∫

π

0

x sinnx

2dx+

π

(2π − x) sinnx

2dx

)

Page 28: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 6

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 28 / 29

จากสูตร∫

x sin ax dx = −x cos ax

a+ sin ax

a2ได้

π

0

x sinnx

2dx =

(

−2x cos(nx/2)

n+

4 sin(nx/2)

n2

)

π

0

π

x sinnx

2dx =

(

−2x cos(nx/2)

n+

4 sin(nx/2)

n2

)

π

π

2π sinnx

2dx = −

ncos

nx

2

π

เมื่อแทนในสมการก่อนหน้าจะได้

bn =8

n2πsin

2

Page 29: อนุกรมฟูเรียรì(FourierSeries)pioneer.netserv.chula.ac.th/~ksujin/317Note8.pdf · อนุกรมฟูเรียร: คาบ2L ใดๆ Intro. Def

ตัวอย่าง 6

Intro.

Def. Four Ser 2L

Thm. Conv

EX 1

EX 2

EX 3

Def. Odd/Even

Thm. Odd/Even

EX 4

Facts

EX 5

Def. Half Ext

Half Range Exp

EX 6

Lecture 8 สุจินต์ คมฤทัย – 29 / 29

สรุปได้การกระจายอนุกรมฟูเรียร์ไซน์เท่ากับ

f(x) =8

π

(

sinx

2−

1

9sin

3x

2+

1

25sin

5x

2− · · ·

)