Author
others
View
3
Download
0
Embed Size (px)
พฒันาการทางจิตสงัคม
บุคคลส าคญัท่ีไดส้ร้างทฤษฎีน้ีคือ อิริคสนั (ลูกศิษยข์องฟรอยด)์
สร้างทฤษฎีตามแนวความคิดของฟรอยด ์ แต่เนน้ความส าคญัทางดา้น
สงัคม วฒันธรรม และส่ิงแวดลอ้มดา้นจิตใจ
(psychological environment) วา่มีบทบาทในการพฒันาบุคลิกภาพมาก
ความคิดต่างจากฟรอยด ์เช่น เห็นความส าคญัของอีโก ้(Ego) มากกวา่อิด (Id)
และพฒันาการไม่ไดห้ยดุแค่วยัรุ่น แต่จะพฒันาต่อไปจนกระทัง่วาระสุดทา้ยของชีวิตคือวยัชรา บุคลิกภาพของคนมีการเปล่ียนแปลงไปเร่ือย ๆ ตลอดชีวิต
และถือวา่เป็นวิวฒันาการท่ีจะตอ้งมีอุปสรรค บุคคลอาจมีประสบการณ์ท่ีไม่พึงปรารถนา
และท าใหเ้ป็นแผลหรือรอยร้าวของพฒันาการของบุคลิกภาพ แต่ละขั้นของชีวิตซ่ึงเป็นธรรมชาติของคน แต่รักษาใหห้ายไดด้ว้ยการบ าบดัของตนเอง
อีริคสนั เรียกทฤษฎีของเขาวา่เป็นทฤษฎีจิตสงัคม
แนวคิดพ้ืนฐานในการพฒันาทฤษฎี
• มนุษยทุ์กคนมีความตอ้งการพื้นฐานอยา่งเดียวกนั การเปล่ียนแปลงทางจิตสงัคมของเดก็ท่ีเกิดข้ึนจากการมีปฏิสมัพนัธ์กบัผูอ่ื้น จะมีแบบแผน การพฒันาเป็นเช่นเดียวกนัในทุกสงัคม
• พฒันาการจะเป็นไปตามล าดบัขั้น (hierachy) • ตลอดช่วงชีวิตของมนุษย ์จะแบ่งพฒันาการทางจิตสงัคมออกเป็นขั้น ๆ
ในแต่ละขั้นจะมีปมขดัแยง้ซ่ึงเป็นวิกฤตการณ์ (crisis) ท่ีแต่ละบุคคลจะตอ้งประสบ วิกฤติขดัแยง้น้ีจะแตกต่างกนัไปตามขั้นของการพฒันา
8 ขั้นพฒันาการทางจิตสงัคม • ขั้นท่ี 1 : ความรู้สึกไวว้างใจ – ความไม่ไวว้างใจ (Trust vs. Mistrust) • ขั้นท่ี 2 : ความรู้สึกเป็นตวัของตวัเอง – ความอายหรือความเคลือบแคลงสงสยั (Autonomy vs. Shame/Doubt) • ขั้นท่ี 3 : ความคิดริเร่ิม – ความรู้สึกผิด (Initiative vs. Guilt) • ขั้นท่ี 4 : ความอุตสาหะ พากเพียร – ความรู้สึกดอ้ย (Industry vs. Inferiority) • ขั้นท่ี 5 : ความมีเอกลกัษณ์ – ความสบัสนในบทบาท • (Identity vs. Role Confusion) • ขั้นท่ี 6 : ความรู้สึกผกูพนั – ความรู้สึกโดดเด่ียว (Intimacy vs. Isolation) • ขั้นท่ี 7 : การเป็นหลกัใหผู้อ่ื้น การเป็นผูใ้ห ้– ความเฉ่ือยชา (Generativity vs. Stagnation) • ขั้นท่ี 8 : ความรู้สึกสมบูรณ์และสมหวงัในชีวติ – ความรู้สึกส้ินหวงั (Ego Integrity vs. Despair)
ขั้น วยัและอายุ ลกัษณะส าคญั ทีจ่ะพฒันา
ผู้ทีม่อีิทธิพล ต่อพฒันาการ
1.ความไวว้างใจ –ความไม่ไวว้างใจ (Trust vs. Mistrust)
ทารก (0-1 หรือ 2 ปี) จะพฒันาความไวว้างใจผูอ่ื้น ถา้ไดรั้บการเล้ียงดูอยา่งเหมาะสม หรือไม่กจ็ะเกิดความรู้สึกไม่ไวว้างใจ
แม่ หรือผูเ้ล้ียงดู
2.ความรู้สึกเป็นตวัของตวัเอง-ความอายหรือเคลือบแคลงสงสยั (Autonomy vs. Shame/Doubt)
วยัเดก็เลก็ (1 หรือ 2-3 ปี)
จะพฒันาความรู้สึกมีอิสระ สามารถท าอะไรไดด้ว้ยตนเอง หรือไม่ก็จะเกิดความรู้สึกอายและเคลือบแคลงสงสยั
พอ่แม่และผูป้กครอง
ขั้น วยัและอายุ ลกัษณะส าคญั ทีจ่ะพฒันา
ผู้ทีม่อีิทธิพล ต่อพฒันาการ
3.ความคิดริเร่ิม-ความรู้สึกผิด (Initiative vs. Guilt)
วยัเดก็ตอนตน้ (3-6 ปี)
จะเกิดความคิดแปลกใหม่หรือความคิดริเร่ิม หรือไม่กจ็ะเกิดความรู้สึกผิด
บุคคลในครอบครัวและเพื่อน
4.ความอุตสาหะ พากเพียร-ความรู้สึกดอ้ย (Industry vs. Inferiority)
วยัเดก็ตอนกลาง (6-12 ปี)
จะเกิดความตอ้งการเรียนรู้ทกัษะใหม่ๆ ดว้ยความวริิยะอุตสาหะ หรือไม่กจ็ะเกิดความรู้สึกดอ้ย ลม้เหลวและไร้ความสามารถ
ครูและเพื่อนๆ ในโรงเรียน
ขั้น วยัและอายุ ลกัษณะส าคญั ทีจ่ะพฒันา
ผู้ทีม่อีิทธิพล ต่อพฒันาการ
5.ความมีเอกลกัษณ์-ความสบัสนในบทบาทหนา้ท่ี (Identity vs. Role Confusion)
วยัรุ่น (12-18 ปี)
จะพฒันาภาวะเอกลกัษณ์แห่งตนดา้นอาชีพ บทบาททางเพศ การเมือง ศาสนา หรือไม่กเ็กิดความรู้สึกสบัสนในบทบาทและภาวะความเป็นตน
เพื่อนๆ
6.ความรู้สึกผกูพนั-ความรู้สึกโดดเด่ียว (Intimacy vs. Isolation)
วยัผูใ้หญ่ตอนตน้ (18-35 ปี)
จะพฒันาความรู้สึกผกูพนัเพื่อนสนิทหรือคู่รัก หรือไม่กจ็ะรู้สึกขาดเพื่อนและโดดเด่ียว
คู่รัก เพื่อนสนิท
ขั้น วยัและอายุ ลกัษณะส าคญั ทีจ่ะพฒันา
ผู้ทีม่อีิทธิพล ต่อพฒันาการ
7.การเป็นหลกัใหผู้อ่ื้น การเป็นผูใ้ห-้ความเฉ่ือยชา (Generativity vs. Stagnation )
วยัผูใ้หญ่ตอนกลาง (35-65 ปี)
จะหาแนวทางท่ีจะท าประโยชน์แก่ชนรุ่นหลงั (ลูก-หลาน) หรือไม่กเ็กิดความรู้สึกทอ้ถอยเฉ่ือยชา
ครอบครัวอ่ืนในสงัคม
8.ความรู้สึกสมบูรณ์และสมหวงัในชีวติ-ความรู้สึกส้ินหวงั (Ego Integrity vs. Despair)
วยัผูใ้หญ่ตอนปลาย (65 ปีข้ึนไป)
จะเกิดความรู้สึกสมหวงัและรู้สึกวา่ประสบความส าเร็จในชีวติ หรือไม่กจ็ะเกิดความรู้สึกส้ินหวงัและไม่สมหวงัในชีวติ
มนุษยชาติ
พฒันาการระยะก่อนวยัเรียน
ลกัษณะส ำคญัท่ีจะต้องเสริมให้เกิดขึน้ก็คอื
ความไว้วางใจ (trust)
ความรู้สึกเป็นตวัของตวัเอง (autonomy)
และความคิดริเร่ิม (intiative)
ขั้นที ่1 ความรู้สึกไว้วางใจ – ความไม่ไว้วางใจ แรกเกิด – 2 ปี
เดก็ยงัช่วยตวัเองไม่ได ้ ตอ้งการความช่วยเหลือเม่ือมีความตอ้งการ
ผูเ้ล้ียงดูจะตอ้งเอาใจใส่ ควรใหน้มเม่ือถึงเวลา ควรปลดเปล้ืองความเดือดร้อนความไม่สบายของทารกเน่ืองจากการขบัถ่าย
จะตอ้งสนองความตอ้งการของเดก็อยา่งสม ่าเสมอ เพราะเดก็มีความหวงัวา่เม่ือหิวกจ็ะมีคนใหน้ม เวลาผา้ออ้มเปียกกจ็ะมีคนมาเปล่ียนผา้ออ้มให ้
อิริคสนักล่าววา่ ความไวว้างใจเป็นพื้นฐานท่ีส าคญัของการพฒันาบุคลิกภาพ เดก็ท่ีขาดความไวว้างใจจะกลายเป็นคนท่ีชอบกา้วร้าว
ตีตวัออกจากส่ิงแวดลอ้ม บางกรณีถึงกบัเป็นโรคจิต(เกบ็ตวั) ท่ีเรียกวา่ childhood schizophrenic
ขั้นท่ี 2 ความรู้สึกเป็นตวัของตวัเอง – ความอายหรือความเคลือบแคลงสงสัย
2-3 ปี
เร่ิมรู้จักควบคุมตนเอง (self control)
เร่ิมเดินได ้พดูได ้ ความเจริญเติบโตของร่างกายช่วยใหเ้ดก็มีอิสระ พ่ึงตนเองได ้
มีความอยากรู้อยากเห็น อยากจบัตอ้งส่ิงของต่าง ๆ เพื่อตอ้งการส ารวจวา่คืออะไร
และเกดิความเช่ือมั่นในตนเอง (self confidency) เพราะเขาสามารถเร่ิมท าอะไรไดด้ว้ยตนเอง
ตอ้งเร่ิมเรียนรู้พฤติกรรมท่ีสังคมก าหนดข้ึน ส่ิงไหนท าได ้ท าไม่ได ้
พอ่แม่/ผูเ้ล้ียงดู ตอ้งรักษาความสมดุลดว้ยการอธิบาย หลีกเล่ียงการดุเดก็เวลาท่ีท าไม่ถูกตอ้ง
ในบางคร้ังตอ้งปล่อยใหเ้ดก็มีความอาย (shame) และสงสยัตวัเองวา่ท าไม่ถูก (doubt) เพราะเป็นส่วนหน่ึงของการพฒันา
เพราะควรจะตอ้งมีความละอายใจ ไม่กลา้ท าในส่ิงท่ีสงัคมไม่ยอมรับ พอ่แม่ควรเนน้ในการใหโ้อกาสเดก็ไดพ้ึ่งตนเอง
มีความเป็นอิสระ ท าอะไรดว้ยตวัเอง
มากกวา่การมีความรู้สึกละอายและสงสยัในตวัเอง
ขัน้ที่ 3 ความคดิริเร่ิม – ความรู้สึกผดิ 3-5 ปี
เด็กมีควำมคดิริเร่ิมอยำกจะท ำอะไรด้วยตนเองตำมจินตนำกำร
กำรเลน่ส ำคญัมำก
เพรำะเดก็จะได้ทดลองท ำสิง่ตำ่ง ๆ
ควำมสนกุเกิดจำกกำรสมมตุิของตำ่ง ๆ เป็นของจริง
เด็กพยำยำมท่ีจะเป็นอิสระ พึง่ตนเอง
อยำกทดสอบควำมสำมำรถของตนเองในงำนบำงอยำ่งท่ีเห็นผู้ใหญ่ท ำ
เป็นวยัท่ีเด็กจะเลียนแบบผู้ใหญ่
ทัง้ด้ำนกำรพดูและกำรกระท ำ
เดก็ระยะน้ีเร่ิมแสดงความรับผิดชอบ ตอ้งการความมัน่ใจจากผูใ้หญ่
วา่ความคิดริเร่ิมของเขา เป็นส่ิงท่ีดี เป็นท่ียอมรับ ควรยอมใหเ้ดก็ท าในส่ิงแปลกใหม่ ใหก้ารแนะน าแต่ไม่ตอ้งช่วยเหลือ
หากไม่ใหก้ารยอมรับหรือท าแลว้ถูกต าหนิหรือถูกท าโทษ เดก็กจ็ะเกิดความรู้สึกผิด (guilt)
ระดบัประถมศึกษา
ขั้นที ่4 ความอุตสาหะ พากเพยีร- ความรู้สึกด้อย 6-12 ปี
วิกฤติของความขดัแยง้กคื็อ
ความอุตสาหะพากเพียร กบัความรู้สึกดอ้ย เม่ือเดก็เขา้เรียนในระดบัประถมศึกษา เดก็จะเร่ิมเห็นความสัมพนัธ์ระหวา่ง ความอุตสาหะพากเพียรท างาน กบัความสุขท่ีเกิดข้ึนกบัตนเอง หรือจากความส าเร็จท่ีไดรั้บ
ในสงัคมยคุใหม่เพื่อนจะมีควำมส ำคญัตอ่เดก็มำกขึน้
ควำมสำมำรถของเดก็จะพฒันำขึน้
ทัง้ทำงวิชำกำร
และกำรท ำกิจกรรมกบักลุม่
ควำมส ำเร็จสง่ผลให้เด็กเกิดควำมรู้สกึวำ่มีควำมสำมำรถ
จะทุ่มเทก ำลงักำยและใจท ำกิจกรรมทัง้หลำยด้วยควำมมำนะพยำยำม
ตรงกนัข้ำม ถ้ำหำกเดก็ท ำกิจกรรมทัง้หลำยไม่ได้
หรือไมไ่ด้รับกำรยอมรับ
เขำจะเกิดความรู้สึกด้อยหรือต ่าต้อย
ระดบัมธัยมศึกษา
ความมีเอกลกัษณ์ – ความสับสนในบทบาท (ขั้นที ่5)
12-18 ปี
ระดบัมธัยมศึกษา เดก็อยูใ่นช่วงวยัรุ่น
จะพยายามค้นหาตนเองเพื่อเห็นภาพตนเอง และก าหนดแนวชีวิตของตนเอง การคน้หาตนเอง อิริคสนัเรียกวา่
การแสวงหาเอกลกัษณ์แห่งตน (identity)
นัน่กคื็อ การพยายามตอบค าถามวา่ “ฉนัคือใคร”
(ฉันต้องการอะไร มีความสามารถด้านใด เพยีงใด มีความเช่ือหรือยดึมั่นในส่ิงใด อย่างไร
หรือจะด าเนินชีวติตนเองต่อไปอย่างไร หรือจะเลอืกอาชีพอะไร) อีริคสนัเช่ือวา่
ความชา้เร็วของการพฒันาเอกลกัษณ์แห่งตน ข้ึนอยูก่บัพฒันาการในขั้นตน้วา่
ไดผ้า่นวกิฤติความขดัแยง้มาดว้ยดีหรือไม่ ถา้ผา่นมาดว้ยดี จะช่วยใหค้น้พบและเห็นภาพตวัเองไดเ้ร็ว
และสามารถก าหนดแนวชีวติตนได ้ ในทางตรงขา้มถา้ไม่ดี
กจ็ะเกดิความสับสนในบทบาทตนเอง (role confusion)
4 กลุ่มของวุฒิภาวะเอกลกัษณ์
1. ภาวะเอกลกัษณ์สับสน (identity diffusion)
เดก็ยงัสรุปไม่ไดว้า่จะเป็นอะไร ประกอบอาชีพใด หรือบทบาทใดท่ีควรจะเป็น ยงัไม่มีทิศทางแน่นอน ไม่สนใจแสวงหาความเป็นไปของตนเองในอนาคต
จะมีความคิดในลกัษณะท่ีวา่ “ชีวติข้างหน้าจะเป็นอย่างไรกเ็ป็นไป ปล่อยไปตามน า้
ไม่อยากคดิถงึอนาคต”
2. ภาวะทีอ่ยู่ระหว่างการเลอืกเอกลกัษณ์ (moratorium)
ภาวะน้ีคลา้ยกบัภาวะเอกลกัษณ์สบัสนตรงท่ีวา่ ยงัไม่สามารถคน้พบตนเอง
ก าลงัพิจารณาเลือก/ยงัไม่ก าหนดเอกลกัษณ์อยา่งใดอยา่งหน่ึง แต่แตกต่างกนั ตรงท่ีภาวะเอกลกัษณ์สบัสน
ยงัไม่มีความคิดท่ีจะเลือก และยงัไม่มีทางเลือก แต่ภาวะการเลือกเอกลกัษณ์มีตวัเลือกของเอกลกัษณ์แลว้
แต่ยงัไม่ตดัสินใจ ยงัลงัเลท่ีจะผกูมดัตวัเองกบัอาชีพใดอาชีพหน่ึง
หรือด าเนินชีวิตในแนวใดแนวหน่ึง
3. ภาวะทีเ่ลอืกเอกลกัษณ์ตามแบบบุคคลทีมี่ความส าคญั (foreclosure)
เป็นสถานการณ์ท่ีวยัรุ่นยงัไม่ไดศึ้กษา หรือพิจารณาเอกลกัษณ์ทั้งหลาย
แต่ได้ตัดสินใจผูกมัดตัวเองกบัเป้าหมาย
ค่านิยม และวถิีชีวติอย่างใดอย่างหน่ึง
โดยยดึตามแบบอยา่งของบุคคลใดบุคคลหน่ึงเป็นหลกั เช่น คิดวา่จะยดึวิถีชีวิตคลา้ยพอ่แม่
หรือเลือกอาชีพเดียวกบัพอ่ เป็นตน้
4. ภาวะเอกลกัษณ์สัมฤทธ์ิ
(identity achievement)
เป็นภาวะทีว่ยัรุ่นได้ค้นพบ ตัดสินใจเลอืกวถีิชีวติของตัวเอง
หลงัจากได้คดิพจิารณาทางเลอืกทั้งหลายอย่างดีแล้ว
มีขอ้สงัเกตวา่ นกัเรียนในระดบัมธัยมศึกษาจ านวนไม่มากนัก ท่ีบรรลุภาวะเอกลกัษณ์สมัฤทธ์ิ
จ านวนหน่ึงเลือกเอกลกัษณ์โดยไม่ได้ตัดสินใจอย่างรอบคอบ ดูจากการเลือกสาขาวิชา หรือคณะท่ีสอบเขา้มหาวิทยาลยั
เดก็ส่วนหน่ึงเลอืกตามอาชีพเดิมของผู้ปกครอง หรือเลอืกตามบุคคลทีเ่ด็กนิยมและศรัทธา
อีกจ านวนหน่ึงยงัตัดสินใจไม่ได้วา่จะเลือกเรียนอะไร บา้งกเ็ลือกตามเพื่อน ตามท่ีผูป้กครองตอ้งการ
เน่ืองจากอยูใ่นระหวา่งการตดัสินใจ
หรือไม่กย็งัสับสนในภาพลกัษณ์ของตนเอง
พฒันาการในระยะหลงัวยัเรียน
ขั้นที ่6 ความรู้สึกผูกพนั-ความรู้สึกโดดเดี่ยว 18-35 ปี วยัผู้ใหญ่ตอนต้น
เป็นเร่ืองของความผกูพนักบัผูอ่ื้นอยา่งลึกซ้ึง ปมขดัแยง้ท่ีเกิดข้ึนกคื็อ ความรู้สึกผูกพนัตรงข้ามกบัความโดดเดี่ยว
จากการท่ีไดมี้ใครคนหน่ึงท่ีเป็นคู่คิด รับฟังปัญหาซ่ึงกนัและกนั และเขา้ใจกนัและกนั
ผู้ทีบ่รรลุเอกลกัษณ์สัมฤทธ์ิได้ด้วยดี กจ็ะสามารถพฒันาความรู้สึกผูกพนันีไ้ด้ด้วยดี
ตรงกนัขา้ม ผูท่ี้ไม่สามารถหาเอกลกัษณ์ของตนเองได ้ จะมีแนวโนม้ท่ีกลวัการมีส่วนร่วมกบัผู้อืน่ ซ่ึงจะพฒันาเป็นความรู้สึกโดดเด่ียวต่อไป
เม่ือย่างเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ตอนกลาง (35-65 ปี)
จะเกิดควำมรู้สกึอยากดแูลผู้อ่ืน
เช่น อยากอบรมเลีย้งด ู ปลกูฝังให้ลกูหลำนเป็นพลเมืองดี
อยากท าคุณประโยชน์แก่เยำวชนรุ่นหลงัตอ่ไป (generativity) แตต้่องมีพฒันำกำรขัน้พืน้ฐำนก่อนหน้ำมำแล้วอยำ่งด ี
มิเช่นนัน้จะเกิดควำมรู้สกึท้อถอย เฉ่ือยชา (stagnation)
ถ้ำหำกบคุคลผำ่นพฒันำกำรทำงจิตสงัคมทัง้ 7 ขัน้ข้ำงต้นมำด้วยดี ก็จะเกิดความรู้สึกสมบูรณ์และสมหวังในชีวิต
จะยอมรับตนเองอย่างเตม็เป่ียม (ego integrity)
ในทำงตรงข้ำม
ถ้ำไมเ่หมำะสม ก็จะเกิดควำมรู้สกึสิน้หวังในชีวิต (despair) วิกฤติขดัแย้งนีจ้ะเกิดขึน้
ในระยะวยัผู้ใหญ่ตอนปลำย (65 ปีขึน้ไป) ซึง่เป็นขัน้สดุท้ำยของพฒันำกำรทำงจิตสงัคม
แนวทางการสร้างเสริมความคดิริเร่ิมส าหรับเดก็อนุบาล
• ส่งเสริมให้เด็กคิดหาทางเลอืกและให้โอกาสเด็กท าในวธีิการที่เด็กเลอืก
• ตวัอยา่ง – เปิดโอกาสให้เด็กเลอืกท ากจิกรรมท่ีเขาชอบในชัว่โมงอิสระ – หลกีเลีย่งการขัดขวางหรือรบกวนเด็กในขณะท่ีเขาก าลงัท ากิจกรรมบางอยา่ง
– เม่ือเดก็เสนอวา่อยากท ากิจกรรมอะไร จงให้ความสนใจข้อเสนอนั้น และใหเ้ดก็ท ากิจกรรมท่ีเขาเสนอ
• เตรียมและเสนอกจิกรรมทีแ่น่ใจว่าเดก็สามารถท าได้
• ตวัอยา่ง – เม่ือเสนอกิจกรรมหรือเกมใหม่ ๆ ท่ีเขาไม่เคยท ามาก่อน จงสอนใหเ้ดก็ท าเป็นขั้นตอน ใหเ้ขา้ใจง่าย ๆ
–ถา้เดก็ในกลุ่มมีความสามารถแตกต่างกนั จงหลีกเล่ียงการแข่งขนั
• ส่งเสริมการเล่นบทบาทสมมุต ิโดยให้เดก็มีโอกาสแสดงหลายบทบาท
• ตวัอยา่ง – เล่านิทานพร้อมกบัมีอุปกรณ์ประกอบ ส่งเสริมใหเ้ดก็ไดแ้สดงบทบาทตามบทนิทานพร้อมกบัใหเ้ดก็แสดงเพ่ิมเติมนอกบท หรือใหเ้ดก็แสดงท่าทาง หรือลกัษณะต่าง ๆ ของตวัละครตามจินตนาการของเดก็
–ใหเ้ดก็เล่นบทบาทของตวัละครต่าง ๆ ตามท่ีเขาชอบและให้เปล่ียนบทบาทเป็นตวัละครอ่ืน ๆ เช่น เป็นครู แลว้เปล่ียนเป็นแม่ พอ่ นกัเรียน เป็นตน้
• จงอดทนต่ออุบัติเหตุทีอ่าจเกดิจากการท ากจิกรรมของเด็ก และให้ก าลงัใจในความพยายามของเด็ก
• ตวัอยา่ง – ในการท ากิจกรรมบางอยา่ง เช่น เทน ้าจากภาชนะใบหน่ึงสู่ภาชนะอีกใบหน่ึง น ้ าอาจจะหกสกปรกเลอะเทอะ เราตอ้งอดทนต่อส่ีงท่ีเกิดข้ึน ไม่ควรต าหนิเดก็ ทางท่ีดีควรหาวิธีป้องกนัโดยการเตรียมอุปกรณ์ท่ีง่ายต่อการเทน ้า เช่น เหยอืกน ้า เพื่อไม่ใหน้ ้ าหกหรือลน้ออกมาง่าย ๆ
– เม่ือเดก็ท ากิจกรรมตามท่ีก าหนด แมผ้ลท่ีปรากฏจะไม่เป็นไปตามท่ีคาดไว ้หรือไม่เป็นท่ีน่าพอใจ กค็วรแสดงการยอมรับในความพยายามของเดก็
แนวทางการสร้างเสริมความอุตสาหะพากเพยีร ส าหรับเด็กประถมศึกษา
• ส่งเสริมให้เด็กก าหนดเป้าหมายที่ไม่ไกลความจริง และให้โอกาสเด็ก
ท างานเพือ่บรรลุเป้าหมายน้ัน
• ตวัอยา่ง – ในระยะแรก ๆ ควรมอบหมายงานท่ีใชเ้วลาท าสั้น ๆ แลว้ค่อยใหง้านท่ีใชเ้วลาท ายาวข้ึน ดูแลการท างานของเดก็ และคอยตรวจสอบความกา้วหนา้ของเดก็
– สอนใหเ้ดก็ก าหนดเป้าหมายในการท างานอยา่งมีเหตุผล แลว้ใหเ้ดก็บนัทึกความกา้วหนา้ของตนจากการท างาน เพื่อใหบ้รรลุเป้าหมายท่ีก าหนด
• ให้เด็กมีโอกาสท างานอย่างอสิระ และมีความรับผดิชอบ
• ตวัอยา่ง – ใหโ้อกาสเดก็ท างานตามล าพงั แมว้า่เขาจะท างานผดิพลาดกต็าม – มอบหมายหนา้ท่ีรับผดิชอบใหเ้ดก็ท า เช่น รดน ้าตน้ไม ้ดูแล และเกบ็รักษาหอ้งเรียน ท าความสะอาดชั้นเรียน ดูแลแผน่ป้ายหนา้ชั้นเรียน ฯลฯ
• ให้การเสริมแรงแก่เด็กทุกคนอย่างทัว่ถึง
• ตวัอยา่ง – ควรมีแบบบนัทึกความกา้วหนา้ของเดก็แต่ละคนในการท ากิจกรรม หรือเรียนในรายวิชาต่าง ๆ แลว้เสนอภาพความกา้วหนา้ในรูปแผนภูมิ หรือกราฟ เพื่อใหเ้ดก็ประเมินความกา้วหนา้ของตนเอง
– ควรใหร้างวลัหรือชมเชยแก่เดก็ท่ีมีผลงานกา้วหนา้มากท่ีสุด หรือขยนัหมัน่เพียรมากท่ีสุดในรอบเดือน หรือในภาคเรียนหน่ึง ๆ
แนวทางในการส่งเสริมให้เดก็ในระดบัมัธยมศึกษา พฒันาเอกลกัษณ์แห่งตน
• เสนอตัวแบบ (Model) เพือ่ให้เด็กพจิารณาทางเลอืกในบทบาท และ
แนวทางอาชีพ
• ตวัอยา่ง – ช้ีใหเ้ดก็เห็นตวัแบบจากหลายๆ แหล่ง และหลายๆ แบบ เช่น จากละครในวรรณคดี จากบุคคลในประวติัศาสตร์ ผูน้ าชนกลุ่มนอ้ย หรือบุคคลท่ีมีช่ือเสียงในปัจจุบนั
– เชิญวิทยากรหลาย ๆ สาขาวิชาชีพมาบรรยายเก่ียวกบัวิธีการและเหตุผลท่ีเขา้สู่อาชีพนั้น
• ให้ข้อมูลเกีย่วกบัลกัษณะของงานอาชีพทีเ่หมาะสมกบัเด็ก
• ตวัอยา่ง – จดันิทรรศการเก่ียวกบัโลกของงาน เพื่อใหร้ายละเอียดในเร่ืองคุณสมบติัพื้นฐานของผูท่ี้จะเขา้สู่โลกของแต่ละอาชีพ เช่น ความสามารถ บุคลิกภาพ ฯลฯ รวมทั้งลกัษณะงาน ความกา้วหนา้ และแหล่งของงาน
– จดัอภิปรายเก่ียวกบับุคลิกภาพและความสามารถท่ีเหมาะสมกบัแต่ละอาชีพ โดยเชิญวิทยากรจากหลาย ๆ อาชีพ
• จงอดทนต่อพฤติกรรมประเภททีว่ยัรุ่นนิยมชมชอบส่ิงใดส่ิงหน่ึงแบบบ้าคลัง่
• ตวัอยา่ง – ใหเ้ดก็มีอิสระพอสมควรเก่ียวกบัการท่ีเขาจะนิยมชมชอบบุคคล ส่ิงของ หรือ แฟชัน่ เช่น การนิยมชมชอบนกัดนตรี นกัร้อง ดารา การแต่งกาย หรือทรงผม โดยท่ีการนิยมชมชอบนั้นไม่ก่อใหเ้กิดความเดือดร้อน และเป็นอุปสรรคต่อการเรียน
– จดัอภิปราย หรือปาฐกถาเก่ียวกบัเร่ืองท่ีเดก็นิยมชมชอบโดยวทิยากรจากภายนอก
• ให้ข้อมูลย้อนกลบัทีเ่ป็นจริงแก่เด็ก เพือ่ให้เขาเห็นภาพของตัวเขาเอง
• ตวัอยา่ง – ใหเ้ดก็ทราบค าตอบหรือผลงานของตนเอง แลว้เปรียบเทียบกบัผลงานของเดก็อ่ืน ๆ ท่ีมีความสมบูรณ์หรือเป็นตวัอยา่งท่ีดี เพื่อให้เดก็ประเมินตนเอง
– ใหเ้ดก็จบัคู่กบัเพื่อนสนิทท่ีสุด แลว้ใหเ้พื่อนแต่ละคู่อธิบายและวิจารณ์ลกัษณะนิสยัและพฤติกรรมซ่ึงกนัและกนั