511
รายงานการวิจัย เรื่อง การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย (Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand) I : บทวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย คณะผูวิจัย นางประจวบ หลําอุบล (หัวหนาโครงการ) นางสาวเปลงศรี อิงคนินันท นางสาวอรพร หมื่นพล นายสมบัติ อินทรคง นายเอนก โสภณ นายสถิตพงศ บุญมีสุวรรณ นางการุณ เสนชู นางสาวสมใจ ขุนเจริญ นางสาวสุพิชญา วงศชินวิทย นางสาวดารชาต เทียมเมือง นางสาวแขวลี วิบูลยกิจ ISBN 974-326-235-9 4 สิงหาคม 2547 ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจําปงบประมาณ ..2546 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ผลงานนี้เปนความรับผิดชอบของคณะผูวิจัยแตผูเดียว

รายงานการวิจัย - BIOTECการรวบรวมว เคราะห และส งเคราะห งานว จ ยก งทะเลของประเทศไทย

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • รายงานการวิจัย

    เรื่อง

    การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    (Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand)

    I : บทวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    คณะผูวิจัย

    นางประจวบ หลําอุบล (หัวหนาโครงการ)

    นางสาวเปลงศรี อิงคนินันท นางสาวอรพร หมื่นพล นายสมบัติ อินทรคง นายเอนก โสภณ

    นายสถิตพงศ บุญมีสุวรรณ นางการุณ เสนชู นางสาวสมใจ ขุนเจริญ นางสาวสุพิชญา วงศชินวิทย นางสาวดารชาต เทียมเมือง นางสาวแขวลี วิบูลยกิจ

    ISBN 974-326-235-9 4

    สิงหาคม 2547 ไดรับทุนอดุหนนุการวิจัยเพื่อพฒันาเศรษฐกิจและสังคมดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

    ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2546 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ

    ผลงานนี้เปนความรับผิดชอบของคณะผูวิจัยแตผูเดียว

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจยักุงทะเลของประเทศไทย (Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand)

    กองบรรณาธิการ นางประจวบ หลําอุบล

    นางสาวเปลงศรี อิงคนินันท

    นางสาวอรพร หมื่นพล

    นายสมบัติ อินทรคง

    นายเอนก โสภณ

    นายสถิตพงศ บุญมีสุวรรณ

    นางการุณ เสนชู

    นางสาวสมใจ ขุนเจริญ

    นางสาวดารชาต เทียมเมือง

    นางสาวแขวลี วิบูลยกิจ

  • กิตติกรรมประกาศ

    โครงการวิจัยเรื่องการรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย ไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2546 จํานวน 2,035,000 บาท (สองลานสามหมื่นหาพันบาทถวน) ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป ต้ังแตวันที่ 9 มกราคม 2546 ถึงวันที่ 8 มกราคม 2547 คณะผูวิจัยขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิเฉพาะดาน ที่ไดกรุณาทําการวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยที่ไดดําเนินการมาแลว พรอมขอเสนอแนะงานวิจัยเพื่อนําไปใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมตอไป ดังรายนามตอไปนี้

    ดร.เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ ดร.วงศปฐม กมลรัตน ดร.ศิราวุธ กลิ่นบุหงา ศ.ดร.เปยมศักดิ์ เมนะเศวต รศ.วิมล เหมะจันทร ศ.ดร.เวียง เช้ือโพธิ์หัก รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ต้ังตรงไพโรจน รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซื่อ อ.สพ.ญ.ดร.นารีรัตน วิเศษกุล ผศ.มยุรี จัยวัฒน รศ.ดร.นงนุช รักสกุลไทย รศ.สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์

    รศ.ดร.อัญชลี ทัศนาขจร ผศ.ดร.บรรจง เทียนสงรัศมี ดร. สุภัทรา อุไรวรรณ ดร.พอจํา อรัณยกานนท รศ.ดร.สมเกียรติ ปยะธีระธิติวรกุล ดร.สรวิศ เผาทองศุข ดร.กิจจา ใจเย็น รศ.สพ.ญ.ดร.เจนนุช วองธวัชชัย รศ.น.สพ.ดร.ธงชัย เฉลิมชัยกิจ ผศ.สพ.ญ.ดร.มีนา สาริกะภูติ ผศ.ดร.พงษเทพ วิไลพันธ รศ.ดร.วรรณวิบูลย กาญจนกุญชร

    ผศ.นงนุช อังยุรีกุล รวมทั้งขอขอบคุณ คุณมณทิพย ธีรมหานนท, คุณศศิธร พูนเพิ่มศิริ, คุณสมใจ บรรเทากุล และคุณมัณฑนา ไปเร็ว เจาหนาที่สํานักบริการคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรที่ไดจัดทําเวบไซต ขอบคุณบุคลากรหองสมุดและศูนยเอกสารการสัตว คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่อํานวยความสะดวกในดานสถานที่การประชุม ขอบคุณคณบดีคณะประมงที่ไดกรุณาใหใชพ้ืนที่โฮมเพจและสถานที่ปฏิบัติงานของโครงการ ขอบคุณ ศ.เพ็ญศรี กาญจโนมัย และ ดร.สุริยัน ธัญกิจจานุกิจ ที่ชวยตรวจทานบทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และสุดทายขอขอบคุณหองสมุดกรมประมงและสถาบันการศึกษาตางๆที่เอื้อเฟอขอมูลสําหรับใชในการวิจัยครั้งนี้

    รศ.ประจวบ หลําอุบล หัวหนาโครงการวิจัย

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย (Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand)

    ประจวบ หลําอุบล1 เปลงศรี อิงคนินันท2 การุณ เสนช2ู อรพร หมื่นพล3 สมใจ ขุนเจริญ1

    สถิตพงศ บุญมีสุวรรณ4 สมบัติ อินทรคง5 เอนก โสภณ6 สุพิชญา วงศชินวิทย1 ดารชาต เทียมเมือง1 แขวลี วิบูลยกิจ1

    Prajuab Lumubol1, Pringsri Ingkaninun2, Karoon Sanchu2, Oraporn Meunpol3, Somjai Khuncharoen1, Satitpong Boonmeesuwan4, Sombat Inkong5, Anek Sopon6, Supichaya Wongchinvit1, Daracha Thiammuang1,

    Kaewalee Viboonkit1

    1คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ 10900 2หองสมุดและศูนยเอกสารการสัตว คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

    3หนวยปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330 4หองสมุดดับบลิว อี จอหนสัน กรมประมง กรุงเทพฯ 10900

    5สถานีวิจัยวิทยาศาสตรทางทะเลและศูนยฝกนิสิตเกาะสชีัง ชลบุรี 20210 6สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ 10330

    บทคัดยอ

    การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย มีวัตถุประสงคเพื่อจัดทําฐานขอมูลงานวิจัยเกี่ยวกับกุงกุลาดํา งานวิจัยเหลานี้ทําการวิเคราะหสังเคราะหโดยผูเช่ียวชาญเฉพาะทาง ผลการวิเคราะหสังเคราะหพรอมขอเสนอแนะและบทคัดยอจะนําเผยแพรทางอินเตอรเนต (http://www.nrct.net) พรอมจัดพิมพเปนเอกสาร ใชเวลาดําเนินการ 1 ป ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติประจําป พ.ศ. 2546 ผลการวิจัยจํานวน 993 เรื่อง แบงออกเปน 5 บท ตามหัวขอเรื่องที่ใกลเคียงและสัมพันธกัน บทที่ 1 พันธุกรรม พอแมพันธุ ชีววิทยา และพลวัตประชากร บทที่ 2 การเพาะเลี้ยง-การจัดการ อาหาร และสิ่งแวดลอม บทที่ 3 เปนกลุมใหญประกอบดวยเรื่องหลากหลาย เชน โรค ยา สารตกคาง ฮอรโมน ภูมิคุมกัน วัคซีน และโปรไบโอติก บทที่ 4 วิทยาการหลังการจับและการแปรรูปกุงทะเล บทที่ 5 เศรษฐกิจสังคม กฎหมายการคาระหวางประเทศ การตลาด และมาตรฐานการสงออก ผลการวิเคราะหและสังเคราะหสรุปวางานวิจัยหลายเรื่องสามารถนําไปใชประโยชนไดทันที หลายเรื่องควรมีการวิจัยเพิ่มเติมเชนเรื่องอาหาร ควรมีสูตรอาหารแตกตางกันตามพื้นที่เลี้ยงที่มีความเค็มหลายระดับตามอายุต้ังแตวัยออนถึงพอแม-พันธุ มีการทดสอบในฟารมจริง การวิเคราะหคุณคาทางโภชนาการและจุดคุมทุน นอกจากนี้งานวิจัยพ้ืนฐานดานสรีรวิทยา พันธุกรรม ฮอรโมน ระบบภูมิคุมกัน และพอแมพันธุเลี้ยง ควรมีการวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อใหไดสายพันธุที่เหมาะสมสําหรับการเพาะเลี้ยงอยางยั่งยืนและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คําสําคัญ : กุงกุลาดํา ชีววิทยา การเพาะเลี้ยง การแปรรูป เศรษฐกิจสังคม

  • Abstract The collection, analysis and synthesizing of marine shrimp research in Thailand, were performed in order to organize the database of the tiger shrimp (Penaeus monodon Fabricius). The previous research works on the tiger shrimp were analyzed and synthesize by the specialists. The analytical results, and the abstract will later be presented on the internet (http://www.nrct.net) together with the publication of a year working period. This research project has been granted from NRC in the fiscal year 2003. A total of 993 collected research papers are divided into 5 chapters according to the relevant titles as the following. The first chapter includes genetic, broodstock, biology and population dynamic. The second chapter composes of the hatching and culturing management, feeds and environment. The third chapter involves various groups such as, diseases, drugs, residues, hormone, immunes, vaccine and probiotics. The fourth chapter is dealing with post-harvesting technology and the processing of marine shrimp. The fifth chapter includes socio-economic researches, international commercial laws, the marketing and standard for exportation. The analytical results concluded that, many research papers can be used directly while more research topices, are needed to be performed in several research papers such as the feeds, suitable composition of feeding in various salinity levels according to ages (from larval stage to broodstock). The experiments should be confirmed in the real farm situation. Analysis on nutritional values and economic returns is needed to be studied. In addition, the foundamental research on physiology, genetics, hormones, immune system and domesticated broodstock, should be done continuously for the improvement of suitable strains needed for sustainable aquaculture and also friendly to the environment.

    Keywords : Penaeus monodon, Biology, Culture, Processing, Socio-economic

  • สารบัญ

    http://www.nrct.net

    (1)

    สารบัญ หนา สารบัญ (1) สัญลักษณและคํายอ (2) บทนํา 1 ขอบเขตของโครงการวิจัย 2 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 2 อุปกรณและวิธีการ 3 ผล 7 สรุปและขอเสนอแนะ 10 เอกสารอางอิง 15 บทวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย 16

    บทที่ 1 พันธุกรรม-พอแมพันธุ ชีววิทยา พลวัตประชากร เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ, อัญชลี ทัศนาขจร, วงศปฐม กมลรัตน, บรรจง เทียนสงรัศมี, ศิราวุธ กลิ่นบุหงา, สุภัทรา อุไรวรรณ, พอจํา อรัณยกานนท และ ประจวบ หลําอุบล

    17

    บทที่ 2 การเพาะเลี้ยง-การจัดการ อาหาร และสิ่งแวดลอม กิจจา ใจเย็น, เวียง เช้ือโพธิ์หัก, เปยมศักดิ์ เมนะเศวต, สรวิศ เผาทองศุข, สมเกียรติ ปยะธีรธิติวรกุล, วิมล เหมะจันทร, อรพร หมื่นพล และ ประจวบ หลําอุบล

    67

    บทที่ 3 โรค ยา สารตกคาง ฮอรโมน ภูมิคุมกัน วัคซีน และโปรไบโอติก จิรศักดิ์ ต้ังตรงไพโรจน, ธงชัย เฉลิมชัยกิจ, เจนนุช วองธวัชชัย, มีนา สาริกะภูติ, นารีรัตน วิเศษกุล และ นันทริกา ชันซื่อ

    224

    บทที่ 4 วิทยาการหลังการจับและการแปรรูปกุงทะเลของประเทศไทย ผศ.มยุรี จัยวัฒน, วรรณวิบูลย กาญจนกุญชร, นงนุช รักสกุลไทย และ พงษเทพ วิไลพันธ

    317

    บทที่ 5 เศรษฐกิจ-สังคม กฎหมายการคาระหวางประเทศ การตลาดและมาตรฐานการสงออก สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์ และ นงนุช อังยุรีกุล

    356

    ภาคผนวก 431 จํานวนเอกสารประกอบการวิเคราะหสังเคราะห 432 บทวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทยฉบับยอ 433 รายนามนักวิจัย 471

  • สัญลักษณและคํายอ

    http:///www.nrct.net

    สัญลักษณและคํายอ

    AAG = Ascorbic acid glucose ADF = Augmented Dickey-Fuller test AFLP = Amplified fragment length polymorphism APM = Ascorbyl phosphate-Mg APT = Acid phosphate AR = Autoregressive ASH = Ascorbate-2-sulfate sulfohydrolase BKC = Benzalkonium Chloride BOD = Biochemical oxygen demand BP = Baculovirus penaei bp. = base pair BSA = Bulked segregant analysis Ca++ = Calcium CAM = Cell adhesion molecule CCK = Cholecystokinin CHH = Crustacean hyperglycemic hormone CL = Carapace length ClO2 = Chlorine dioxide CMS = Constant market share CNS = Central nerve system COC = Code of conduct COD = Chemical oxygen demand COI = Cytochrome oxidase subunit I COII = Cytochrome oxidase subunit II Cu = Cuprum (copper) DCIP = Dichlorophenolindophenol DHA = Decosahexaenoic acid DNA = Deoxy ribonucleic acid DO = Dissolved oxygen DSS = Dodecyl sodium sulphate EDTA = Ethylenediamine tetraacetic acid ELISA = Enzyme linked immunosorbent assay

    (2)

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http:///www.nrct.net

    สัญลักษณและคํายอ (ตอ) EM = Effective microorganisms EMS = Environment management system EPA = Eicosapentaenoic acid EST = Expressed sequence tag FBS = Fetal bovin serum FCR = Food conversion ratio Fe = Ferrum FMRFamide = Phe-Met-Arg-Pho-amide GAP = Good aquaculture practice GHP = Good handling practice GHT = Gereralized hough transform GIH = Gonad inhibiting hormone GMP = Good manufacturing practice GSH = Gonad stimulating hormone GSP = Generalized system of preference H/L = Headless H/O = Head-on H2O2 = Hydrogenperoxide HCG = Human chorionic gonadotropin HCl = Hydrocholic acid HPLC = High performance liquid chromatography HPMC = Hydroxy propyl methyl cellulose HPV = Hepato-pancreatic parvo virus HPV = Hepatopancreatic parvo-like virus IHHPV = Infectious hypodermal and hematopoeotic virus IQF = Individual quick frozen ISO = International organization standardization ITS1 = Internal transcribed spacer LC50 = Lethal concentration 50% LD = Lethal dose LFPI = Laboratory fish production index LHRH = Lutinizing hormone releasing hormone

    (3)

  • สัญลักษณและคํายอ

    http:///www.nrct.net

    สัญลักษณและคํายอ (ตอ) LM = Light microscopy MA = Moving average MBC = Minimal bactericidal concentration MBV = Monodon baculovirus MC = Methyl cellulose ME = Medulla externa MI = Medulla interna MIC = Minimal inhibitory concentration MIDA = Microbial inhibition disk assay MIH = Molt inhibiting hormone MSRV = Modified semi-solid rappaport vassiliadis MT = Medulla terminalis mtDNA = Mitochondrial deoxy ribonucleic acid NaCl = Sodium chloride NaOH = Sodium hydroxide NCCLS = National committee for Clinical Laboratory Standards NH3 = Ammonia NK-EF = Natural killer enhancing factor NO2 = Nitrite NO3 = Nitrate ORP = Oxidation-reduction Potential PAGE = Polyacrylamide gel electrophoresis PA/LDPE = Polyamide/low density polyethylene PCR = Polymerase chain reaction PDH = Pigment dispersing hormone PE = Polyethylene PI = Povidone iodine PL-Law = The product liability law PP = Pancreatic polypeptide ppb = Part per billion ppm = Part per million ppt = Part per thousand

    (4)

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http:///www.nrct.net

    สัญลักษณและคํายอ (ตอ) PTL = Peeled tailess PTO = Peeled tail on PVC = Polyvinyl chloride PYP = Peptide tyrosine phenylalanine RAPD = Random amplification polymorphic RCA = Revealed comparative advantage rDNA = Ribosomal deoxy ribonucleic acid RFLP = Restriction fragment length polymorphism RIA = Radioimmuno assay RNA = Ribosomal nucleic acid RPCH = Red pigment concentration hormone RT-PCR = Reverse transcriptase polymerase chain reaction S.D. = Standard deviation SAM-Test = Shrimp antimicrobial screening test kit SAPP = Sodium acid pyrophosphate SCM = Standard conventional method SCRD = Shrimp culture research and development company limited SEM = Scanning electron microscopy SEMBV = Systemic ectodermal and mesodermal baculovirus SIQF = Semi individual quick frozen SOD = Sediment oxygen demand srRNA = Small ribosomal RNA STPP = Sodium tripolyphosphate TCTP = Translationally controlled tumor protein TEDs = Turtle excluder devices TEM = Transmission electron microscopy TGase = Transglutaminase TL = Total length TP = Total phosphorus TPC = Total plate count UV = Ultraviolet VAR = Vector auto regression

    (5)

  • สัญลักษณและคํายอ

    http:///www.nrct.net

    สัญลักษณและคํายอ (ตอ) VC = Vibrio count VIH = Vitellogenesis inhibiting hormone W = Weight WSSV = White spot syndrome virus YHV = Yellow head virus Zn = Zinc

    (6)

  • บทนํา

    ในการพัฒนาประเทศใหดําเนินการไปในทิศทางที่สอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติไดนั้น งานวิจัยเปนสวนหนึ่งของเครื่องมือที่ถูกนํามาใชใหเกิดประโยชนตอการสรางงาน สรางอาชีพ และสรางรายไดใหกับประชาชนโดยเฉพาะ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับกุงกุลาดําและกุงเลี้ยงชนิดอื่น ๆ เริ่มทําการวิจัยเชิงสํารวจมาตั้งแต พ.ศ. 2505 จนกระทั่งใน พ.ศ. 2530 มีการสงเสริมใหมีการเลี้ยงกุงกุลาดําเปนอาชีพ และพัฒนารูปแบบการเลี้ยงจากแบบธรรมชาติเปนแบบกึ่งพัฒนาและพัฒนาเต็มรูปแบบ ปลอยกุงหนาแนน ใหอาหารและติดตั้งใบตีน้ําเพื่อเพิ่มออกซิเจน มีผลผลิตสูงถึง 2 ตันตอไรในบางพื้นที่ และผลผลิตตกต่ําอยางรวดเร็ว สาเหตุมาจากโรคระบาด และการติดเชื้อทั้งแบคทีเรีย และไวรัส จึงมีงานวิจัยเพื่อหาคําตอบและแนวทางแกไขปญหาเฉพาะหนา โดยหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงคือ กรมประมงและสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน งานวิจัยเหลานี้ถูกเก็บอยูตามหองสมุดตาง ๆ บางเรื่องมีการตีพิมพเผยแพรในการประชุมวิชาการ เอกสารวิชาการกรมประมง และเก็บตามหองสมุดของสถาบันการศึกษาที่นิสิต นักศึกษาสังกัด วิธีการเก็บรักษาขอมูลงานวิจัยเหลานี้แตกตางกัน ทั้งที่เปนตนฉบับและเริ่มมีการบันทึกลงแผนซีดีรอม เมื่อ 5-6 ปที่ผานมา จึงยากแตการคนควาและสืบคนขอมูลของเกษตรกรและนักวิจัยทั่วไป หลายเรื่องแสดงผลงานวิจัยที่ยากและซับซอนเชิงวิชาการเกินกวาเกษตรกรจะเขาใจ และนําไปใชไดโดยตรง งานวิจัยสวนมากทําในหองปฏิบัติการ และไมเคยนํามาทดลองใชในพื้นที่จริง เพื่อยืนยันผล ทําใหผลงานวิจัยโดยเฉพาะวิทยานิพนธซึ่งเปนงานวิจัยที่มีการวางแผนการทดลองอยางเปนระบบ ผานการกลั่นกรองจากคณาจารยที่รับผิดชอบแลว มีการนํามาใชประโยชนไดนอยมาก ทั้ง ๆ ที่ประเทศไทยสงกุงเปนสินคาออกมีมูลคานับแสนลานบาท จนกระทั่งมีปญหาเรื่องสารตกคาง และประเทศในกลุม สหภาพยุโรป ตรวจพบสารตกคางในกุงไทย และมีการสงคืนกลับกุงแชเยือกแข็ง สรางความเสียหายใหกับผูประกอบการสงออกและเกษตรกรผูเลี้ยงเปนอยางมาก เมื่อเดือนมีนาคม 2545 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ จึงไดจัดสัมมนาเรื่อง แนวทางการวิจัยและมาตรการแกปญหาสารตกคางในกุงไทย เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2545 จากการสัมมนาดังกลาว ผูเขารวมสัมมนามีขอเสนอแนะและแสดงความคิดเห็นถึงสาเหตุของปญหาและแนวทางแกไขสารตกคาง จึงไดมีการประชุมเพื่อจัดทําชุดโครงการวิจัยเพื่อการแกปญหาสารตกคางในวันที่ 14-15 มิถุนายน 2545 และหนึ่งในกลุมงานวิจัยที่ตองทําอยางเรงดวนคือ กลุมรวบรวมสังเคราะห ผลงานวิจัย การใชประโยชน เพื่อเผยแพรใหเกษตรกรทราบ เพราะปญหาสารตกคางเกิดจาก ระบบการเลี้ยง การใชยาปฏิชีวนะไมถูกวิธี เกษตรกรขาดความรูความเขาใจในการใชยา ขาดการจัดการที่เหมาะสม หรือสารตกคางถูกปลอยลงสูแหลงน้ําลําคลอง เปนขอมูลที่ควรเผยแพรใหเกษตรกรรับรูโดยดวน ดังนั้น ผลงานวิจัยซึ่งมีการดําเนินการมาแลวจํานวนมาก จึงควรจะไดมีการรวบรวมมาทําการวิเคราะห สังเคราะหเพื่อนําผลการวิจัยไปใชประโยชนตอการเลี้ยงกุงโดยรวม จึงเกิดโครงการวิจัยเรื่องนี้ขึ้น และไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยประจําปงบประมาณ 2546 ระยะเวลาดําเนินการ 1 ป โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

    1. เพื่อรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวของกับกุงกุลาดําและกุงเลี้ยงชนิดอื่น ๆ ในประเทศไทย 2. วิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยที่รวบรวมไดพรอมขอเสนอแนะ เพื่อใหทราบถึงความกาวหนาและ

    ผลสัมฤทธิ์ของงานวิจัยที่ไดดําเนินการมาแลว 3. จัดทําฐานขอมูลงานวิจัยที่วิเคราะห สังเคราะหแลว นํามาเผยแพรทางอินเตอรเนตบนเวบไซตของ

    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ และจัดพิมพเปนเอกสารฉบับสมบูรณ 4. ใชเปนฐานขอมูลในการกําหนดทิศทางการวิจัยที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงความซ้ําซอน เปนการประหยัด

    งบประมาณ และใชเปนฐานขอมูลกุงของประเทศตอไป

  • Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand

    http://www.nrct.net

    2

    ขอบเขตของโครงการวิจัย

    รวบรวมขอมูลงานวิจัยกุงกุลาดําจากหองสมุดของสถาบันการศึกษา กรม กองที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชนนํามาแยกประเภทงานวิจัย และวิทยานิพนธคัดเลือกเฉพาะที่มีการเขียนครบตามองคประกอบสากล ประกอบดวย ช่ือเรื่อง บทคัดยอ คํานํา อุปกรณและวิธีการ ผลการทดลอง สรุปวิจารณและ/หรือขอเสนอแนะ พรอมเอกสารอางอิง มีการตีพิมพในวารสารตาง ๆ ทั้งที่เปนเอกสารวิชาการของกรมประมง สถาบันการศึกษา การประชุมวิชาการทั้งในและตางประเทศ ต้ังแต พ.ศ. 2530 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2546 นําเอกสารมาคัดแยกตามเนื้อหาของงาน แบงออกเปน 5 กลุมยอย คือ กลุมที่ 1 พันธุกรรม-พอแมพันธุ ชีววิทยาของกุง และพลวัตประชากร กลุมที่ 2 การเพาะเลี้ยง-การจัดการ อาหาร และสิ่งแวดลอม กลุมที่ 3 โรค-ยา-สารเคมี สารตกคาง ฮอรโมน ภูมิคุมกัน-วัคซีน และโปรไบโอติก กลุมที่ 4 วิทยาการหลังการจับและการแปรรูปกุงทะเล กลุมที่ 5 เศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย การคาระหวางประเทศ การตลาด และมาตรฐานการสงออก แตละกลุมงานไดเชิญผูเช่ียวชาญเฉพาะดานทําการวิเคราะหและสังเคราะหดังมีรายนามตอไปนี้ กลุมที่ 1 ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย รศ.ดร.เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ รศ.ดร.อัญชลี ทัศนาขจร ดร.วงศปฐม กมลรัตน ผศ.ดร.บรรจง เทียนสงรัศมี ดร.ศิราวุธ กลิ่นบุหงา ดร.สุภัทรา อุไรวรรณ ดร.พอจํา อรัณยกานนท รศ.ประจวบ หลําอุบล กลุมที่ 2 ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย ดร.กิจจา ใจเย็น ศ.ดร.เวียง เช้ือโพธิ์หัก ศ.ดร.เปยมศักดิ์ เมนะเศวต รศ.ดร.สมเกียรติ ปยะธีระธิติวรกุล รศ.วิมล เหมะจันทร ดร.สรวิศ เผาทองศุข ดร.อรพร หมื่นพล รศ.ประจวบ หลําอุบล กลุมที่ 3 ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย รศ.น.สพ.ดร.จิรศักดิ์ ต้ังตรงไพโรจน รศ.สพ.ญ.ดร.เจนนุช วองธวัชชัย

    รศ.สพ.ญ.ดร.นันทริกา ชันซื่อ รศ.น.สพ.ดร.ธงชัย เฉลิมชัยกิจ อ.สพ.ญ.ดร.นารีรัตน วิเศษกุล ผศ.สพ.ญ.ดร.มีนา สาริกะภูติ

    กลุมที่ 4 ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย ผศ.มยุรี จัยวัฒน ผศ.ดร.พงษเทพ วิไลพันธ

    รศ.ดร.นงนุช รักสกุลไทย รศ.ดร.วรรณวิบูลย กาญจนกุญชร กลุมที่ 5 ผูทรงคุณวุฒิประกอบดวย รศ. สมคิด ทักษิณาวิสุทธิ์ ผศ.นงนุช อังยุรีกุล

    ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

    ขอมูลงานวิจัยที่รวบรวมได นําขึ้นเผยแพรทางอินเตอรเนต ประกอบดวยบทคัดยอพรอมบรรณานุกรมทั้งภาษาไทย เรื่องเต็ม และบทวิเคราะห สังเคราะห พรอมขอเสนอแนะ จะเปนฐานขอมูลกุงกุลาดําของประเทศ เปนประโยชนอยางยิ่งสําหรับนําไปประกอบการพิจารณา วางแผน กําหนดนโยบายงานวิจัยใหเปนองครวมทั้งระดับชาติ องคกร รวมทั้งผูวิจัยและผูสนใจ โดยเฉพาะเกษตรกรสามารถติดตามขอมูลความรูไดทุกเรื่อง ทั้งทางอินเตอรเนต หรือเอกสารที่ไดจัดพิมพเปนชุดจํานวน 3 เลม

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http://www.nrct.net

    3

    อุปกรณและวิธีการ

    งานวิจัยที่รวบรวมไดนํามาจัดแบงตามกลุม ถายสําเนา 2 ชุด สงใหผูทรงคุณวุฒิเฉพาะทางทําการวิเคราะห สังเคราะหผลงานวิจัย พรอมขอเสนอแนะ และอีกหนึ่งชุดสําหรับเปนตนฉบับในการสรางฐานขอมูล ดวยการจัดพิมพ บทคัดยอพรอมบรรณานุกรม ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (เทาที่ปรากฏในตนฉบับ) เตรียมสําหรับการเผยแพรทางอินเตอรเนตพรอมทั้งไดมีการกําหนดคําสําคัญทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษโดยคณะผูวิจัย คําสําคัญ (Keywords) คือ คํา หรือ กลุมคํา ที่กําหนดหรือไดมาจากเนื้อหา สาระจากงานวิจัยแตละเรื่อง เพื่อนําไปจัดทําดัชนี (Index) โดยมีวัตถุประสงคใหคําสําคัญเปนเครื่องมือที่ใชสืบคนเรื่องที่ตองการจากฐานขอมูล “งานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย” การกําหนดคําสําคัญทั้ง 2 ภาษา คณะผูวิจัยไดมีการประชุมและกําหนดคําสําคัญโดยใชคูมือของ C.A.B.International (1990a; 1990b), คณะกรรมการกลุมวิเคราะหเลขหมูและทําบัตรรายการหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา (2532), ราชบัณฑิตยสถาน (2543; 2546) เพื่อความสะดวกในการสืบคนและจัดทํา Author index ขั้นตอนการดําเนินงาน การกําหนดคําสําคัญ การกําหนดคําสําคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษตามเนื้อหา มอบหมายใหนักวิจัยรับผิดชอบตามกลุมงานที่เกี่ยวของดังนี้ กลุมที่ 1 นายสมบัติ อินทรคง กลุมที่ 2 นางสาวอรพร หมื่นพล กลุมที่ 3 นางการุณ เสนชู กลุมที่ 4 นายสถิตพงศ บุญมีสุวรรณ กลุมที่ 5 นางสาวสมใจ ขุนเจริญ เมื่อทั้ง 5 กลุมดําเนินการเสร็จแลว นําเขาที่ประชุมพิจารณาตรวจสอบความถูกตองตามมาตรฐานสากล โดยนักวิจัยทุกคน เทียบเคียงกับมาตรฐานของคําที่ใช เพื่อเปนตัวชวยในการสืบคนขอมูลตอไป การจัดพิมพบรรณานุกรมพรอมบทคัดยอ แบงความรับผิดชอบตามกลุม ตรวจสอบความถูกตองกับตนฉบับ พรอมทั้งใหคําสําคัญ สําหรับเรื่องที่ยังไมมี และเพิ่มเติมในเรื่องที่มีมากอน เสร็จแลว นางสาวเปลงศรี อิงคนินันท และ นางประจวบ หลําอุบล ตรวจสอบความถูกตองครั้งสุดทายทั้งหมด กอนนําเผยแพรทางอินเตอรเนต การสรางฐานขอมูล (Database) เพื่อใหบริการทางอินเตอรเนต การดําเนินงานดานเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเนต นักวิจัยไดประสานงานกับเจาหนาที่ของสํานักบริการคอมพิวเตอรที่ไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการสํานักบริการคอมพิวเตอรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (รศ.ยืน ภูวรวรรณ) เพื่อ 1) สรางฐานขอมูลเพื่อเก็บขอมูลที่สําคัญตามรายละเอียดของเอกสารงานวิจัย 2) สรางโปรแกรมสําหรับปอนขอมูลงานวิจัยบนเว็บ 3) สรางโปรแกรมแกไขขอมูลบนเว็บ 4) สรางโปรแกรมเพื่อรายงานผลและสืบคนขอมูล จัดทําแบบฟอรม Work sheet การแสดงผลการสืบคนรายละเอียดของขอมูลตัวอยาง home page โดยใชพ้ืนที่ของคณะประมง

  • Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand

    http://www.nrct.net

    4

    และใชช่ือ shrimpbase.fish.ku.ac.th ช่ัวคราว เมื่อเสร็จสมบรูณจะมาสังกัดในพื้นที่ของสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติตอไป (http://www.nrct.net)

    การจัดการโปรแกรมฐานขอมูล

    - เจาหนาที่สํานักบริการคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรจัดสรางโปรแกรมฐานขอมูลเบื้องตน สําหรับใหนักวิจัยปอนขอมูล

    - ขอมูลงานวิจัยที่ตองนําออกเผยแพร ไดแก บรรณานุกรม บทคัดยอ คําสําคัญ บทวิเคราะหและสังเคราะหพรอมขอเสนอแนะ โดยจะปอนขอมูลพรอมกันทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษของแตละเรื่องซึ่งไดใหหมายเลขระเบียนไวแลว

    - วิธีการปอนขอมูล เริ่มตนโดยการเปด home page http://shrimpbase.fish.ku.ac.th/ และไฟลเอกสารของงานวิจัยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากนั้นใสหมายเลขระเบียน คัดลอกบรรณานุกรม ไดแก ช่ือผูวิจัย/ผูวิจัยรวม (Authors/Co-Author) ปที่พิมพ (Year) ช่ือเรื่อง (Title) แหลงตีพิมพ (Source) สถานที่พิมพ (Place of Publication) จํานวนหนา/เลขหนา (Pages), คําสําคัญ (Keywords) และบทคัดยอ (Abstract) จากไฟลเอกสารตนฉบับลงในชองที่กําหนด รวมทั้งใสขอมูลจําเพาะของเอกสารหมายเลขระเบียนนั้นๆ ซึ่งไดแก กลุมงานวิจัย (1/2/3/4/5) ภาษาของเอกสารตนฉบับ (ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษ)

    - การแกไขขอมูลที่ไดบันทึกไวแลวสามารถทําไดโดยเขาไปที่ http://shrimpbase.fish. ku.ac.th/edit.php โดยการใสหมายเลขระเบียนที่ตองการแกไข จากนั้นจะปรากฏหนา webpage เดิมที่ใชในการปอนขอมูล ทําการแกไขขอมูลสวนที่ตองการและเมื่อแกไขเสร็จแลวจึงคลิกที่

    - การสืบคนขอมูลสามารถทําไดโดยการระบุคําคนที่เปนช่ือผูแตง (Author) ช่ือเรื่อง (Title) หรือคําสําคัญ (Keywords) เชน การสืบคนจากคําสําคัญใหใสคําสําคัญที่ตองการลงในชองระบุคําคนแลวคลิก เวบไซตจะแสดงรายการที่ไดระบุคําคนไวพรอมใหเลือกบทคัดยอภาษาไทยหรืออังกฤษและสามารถระบุคําคนไดโดยใชคําเชื่อม (และ/หรือ) เพื่อใหไดเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจง คําสําคัญที่ไดระบุไวจะแสดงดวยตัวอักษรสีแดง

    ตัวอยางการสืบคนจากฐานขอมูลดวยคําสําคัญ

    Home page http://www.nrct.net

    แกไขขอมูล

    คนหา

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http://www.nrct.net

    5

    เลือกใสคําสําคัญ เลือกการสืบคนดวยคําสําคัญจากชองเลือกหัวขอ(สามารถเลือกสืบคนจากชื่อผูแตงและช่ือเรื่องไดจากชองเดียวกัน)

    ใสคําสําคัญ ใสคําสําคัญในชองระบุคําคน ดังลูกศร (ในกรณีที่สืบคนดวยช่ือผูแตงหรือช่ือเรื่องใหใสช่ือผูแตงหรือช่ือเรื่องในชองระบุบคําคนเชนเดียวกัน) จากนั้นเลือกคนหา

    แสดงรายการที่ใสคําสําคัญ หนาตางของฐานขอมูลจะแสดงรายการตามคําสําคัญที่เลือก พรอมระบุจํานวนและแสดงสถานะของงานวิจัยคือบทคัดยอ (Abstract)

  • Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand

    http://www.nrct.net

    6

    การจัดทํารายงานฉบับสมบูรณ บทวิเคราะห สังเคราะห และขอเสนอแนะจากผูทรงคุณวุฒินํามารวมเลมโดยคณะผูวิจัยทําหนาที่เปนบรรณาธิการเฉพาะกลุม และคณะบรรณาธิการทั้งเลม

    บทคัดยอที่ตองการ ในกรณีที่เลือกบทคัดยอ จะปรากฏบนหนาตางจากรายการ ดังภาพ

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http://www.nrct.net

    7

    ผล ผลการรวบรวมงานวิจัยต้ังแต พ.ศ. 2530 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2546 ไดจํานวน 993 เรื่อง แบงเปน 5 บท ดังนี้ บทที่หนึ่ง การศึกษาทางดานพันธุกรรมและพอแมพันธุ (25) ปจจัยการผลิตเกี่ยวกับแหลงที่มาของพอแม อาหาร ความเค็ม บอเลี้ยง วิธีการเลี้ยงและการกระตุนใหมีการพัฒนาเซลลสืบพันธุดวยการตัดตาบีบตาและวิธีการอื่นๆ (19) ศึกษาเทคนิคที่ใชในการสืบคนประชากรดวยดีเอ็นเอหรือลักษณะทางพันธุกรรมและนําไปใชในการจําแนกชนิดซึ่งเปนปจจัยหนึ่งในความหลากหลายทางชีวภาพ (30) ใชลักษณะทางพันธุกรรมหายีนที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโต ระบบประสาท ภูมิคุมกันและการสรางฮอรโมน (10) นอกจากนี้มีการศึกษาชีววิทยา แหลงอาศัย ฤดูกาลวางไข และการแพรกระจายของกุงกุลาดําซึ่งเปนเรื่องแรกที่ควรรู (12) นําไปสูการเลี้ยงพอแมพันธุกุงกุลาดําในบอดิน ปจจัยที่กระตุนใหมีการสรางและพัฒนาเซลลสืบพันธุ (15) การผสมพันธุการเจริญเติบโตตองผานกระบวนการลอกคราบ (3) มีชวงระยะเวลาของการลอกคราบแตกตางกันตามขนาด อายุของกุง โดยเฉพาะการผสมพันธุ ตัวเมียตองลอกคราบกอน การลอกคราบยังขึ้นอยูกับอาหาร เกลือแร และความสมบูรณของกุง ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของกุง (13) นอกจากนั้นยังมีรายงานเกี่ยวกับพลวัตประชากรกุงตามธรรมชาติและประสิทธิภาพของเครื่องมือทําการประมงในอาวไทย (17) รวมทั้งหมด 154 เรื่อง บทที่สอง การเพาะเลี้ยงการจัดการ อาหาร และสิ่งแวดลอม 3 องคประกอบหลักของการเลี้ยงกุงจึงมีงานวิจัย จํานวนมากที่สุดถึง 319 เรื่อง มีรายละเอียดหลากหลายแยกไดดังนี้ องคประกอบที่ 1 การเลี้ยงการจัดการ ประกอบดวย การเพาะพันธุ (7) การอนุบาลลูกกุงวัยออนมีปจจัยที่เกี่ยวของ คือ อาหารลูกกุงวัยออน (8) อัตราการปลอยหรือความหนาแนนที่เหมาะสม (6) ทําใหมีการเจริญเติบโตและอัตรารอดสูงทั้งนี้ขึ้นอยูกับปจจัยสภาพแวดลอม (11) การบริหารจัดการฟารมที่มีผลตอปจจัยการเลี้ยงกุงในบอดิน (17) ซึ่งมีรูปแบบและพื้นที่การเลี้ยงที่แตกตางกันทั้งในเขตน้ํากรอย (25) ในเขตความเค็มต่ําหรือเขตน้ําจืด (9) การเลี้ยงกุงในกระชัง (6) ผลผลิตที่ไดจากการเลี้ยงมีอัตรารอดและอัตราการเจริญเติบโตไมแนนอนจึงไดมีการพัฒนาวิธีการเลี้ยงการจัดการเพื่อปรับคุณภาพน้ําดวยวัสดุปูน (13) การใชโอโซนควบคุมคุณภาพน้ําและกําจัดแบคทีเรีย (32) ศึกษาผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (2) และหาแนวทางในการจัดการการเลี้ยงที่ยั่งยืน (2) องคประกอบที่ 2 เรื่องของอาหารเปนปจจัยการผลิตที่สําคัญและจําเปนสําหรับการดํารงชีพ อาหารที่ดีประกอบดวยสารอาหารที่มีคุณภาพครบถวนเพียงพอกับความตองการของกุงดูจาก FCR นาจะอยูที่ 1 หรือนอยกวา 1 จึงจะดี ทั้งนี้ขึ้นอยูกับนิสัยการกิน ความเหมาะสม ขนาดของอาหาร อายุของกุง มีการทดสอบอาหารสําเร็จรูปและอาหารมีชีวิตสําหรับลูกกุงวัยออน (24) อาหารเสริม เชน วิตามินซี แอสตาแซนทีน สารสกัดจากฝรั่ง ดอกดาวเรือง และพันธุไมอื่นๆ (36) และศึกษาประสิทธิภาพ คุณภาพ และวิธีการใหอาหาร (6) ซึ่งอาหารมีตนทุนการผลิตสูงถึง 50 หรือมากกวา 50 % ของตนทุนการผลิตทั้งหมด แตมีการศึกษาเพียง 66 เรื่อง องคประกอบที่ 3 สิ่งแวดลอมเปนปจจัยหนึ่งที่จะทําใหการเลี้ยงกุงมีผลผลิตสูงหรือตํ่าหรือไมไดเลย เปนปจจัยที่มีความสําคัญอยางยิ่ง ผูสนใจทําการศึกษาวิจัยจํานวน 158 เรื่อง ประกอบดวย การสํารวจคุณภาพน้ําจากแหลงธรรมชาติ (16) เพื่อนํามาใชเปนฐานขอมูลในการจัดการการเลี้ยง (4) การจัดการคุณภาพน้ําเลี้ยง (9) การสํารวจคุณภาพดินและน้ําในพื้นที่ความเค็มต่ํา (9) การบําบัดน้ําทิ้งซึ่งแบงเปนการสํารวจ (9) การบําบัด (18) การสํารวจคุณภาพดินและการบําบัด (22) คุณภาพน้ําและแพลงกตอนพืช(12) โลหะหนัก(12) การใชประโยชนจากจุลินทรีย (18) การใชยาและสารเคมี (18) การเปลี่ยนแปลงทางสรีระของกุง (9) ทั้งหมดเปนปจจัยการผลิตที่เกี่ยวของกับการเลี้ยงกุง คนไตหวันพูดวา “การเลี้ยงกุงคือการเลี้ยงน้ํา สามารถจัดการกับน้ําไดสําเร็จไปแลวครึ่งหนึ่ง” ตัวเลขในวงเล็บ ( ) คือจํานวนเรื่อง

  • Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand

    http://www.nrct.net

    8

    บทที่สาม โรค-ยา-สารเคมี สารตกคาง ฮอรโมน ภูมิคุมกัน และโปรไบโอติก เปนผลที่เกิดจากการเรงผลผลิตดวยปจจัยการผลิตที่มากเกินพอดี เพื่อสนองความตองการผูบริโภคและภาคการสงออก จนทําใหสภาพแวดลอมทางน้ําเสื่อมโทรมลงกุงมีสภาพออนแอติดเชื้อไดงาย จึงไดมีการนํายาและสารเคมีมาใชเพื่อปรับคุณภาพน้ํารักษาโรค มีงานวิจัยที่เกี่ยวของกับยาและการรักษา ทดลองในหองปฏิบัติการเปนสวนมาก จํานวนรวมทั้งสิ้น 274 เรื่อง แยกไดดังนี้ ชนิดของเช้ือแบคทีเรียที่ทําใหเกิดโรคในกุงกุลาดําและการรักษา รวมทั้งชนิดของแบคทีเรียที่พบในตัวกุงและสิ่งแวดลอม (9) แบคทีเรียบางชนิดทําใหเกิดโรคเรืองแสงหรือโรคเพชรพลอย ทําความเสียหายใหกับการอนุบาลลูกกุงวัยออนอยางรุนแรงและในบอดิน จึงมีการทดสอบการดื้อยาของเช้ือแบคทีเรียและการเลือกใชยาที่เหมาะสมในการควบคุมเชื้อ รวมทั้งการตรวจสอบสารตกคาง (14) ตอมามีการระบาดของโรครุนแรงขึ้น สาเหตุมาจากไวรัสหัวเหลือง (21) ไวรัสตัวแดงดวงขาว (15) ทําใหตองศึกษาเกี่ยวกับยาหรือผลของสารเคมีตอสุขภาพกุง (3) การใชยาตานจุลชีพในการอนุบาลกุงวัยออน (4) การใชยาตานจุลชีพกับกุงในบอดิน (4) การศึกษาประสิทธิภาพของยาตานจุลชีพในหองปฏิบัติการ (6) การใชสารเคมีในการปองกันหรือรักษาโรคกุง (5) ผลของสารเคมี เชน Povidone Iodine (8) ฟอรมาลิน (2) Antiectoparasite (4) สารเคมีที่ปนเปอนในน้ํา (NH3, NO2, NO3, unionized NH3) (3) โลหะหนัก สารสกัดคราบน้ํามัน (3) ยาฆาแมลงและวัชพืช (7) นําไปสูปญหาและการเฝาระวังยาตานจุลชีพที่ตกคางในกุงกุลาดําซึ่งถูกหยิบยกมาใชเปนมาตรการกีดกันทางการคาของประเทศคูคา ไมวาจะเปนสหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน แคนาดา และหรือประเทศอื่นๆในอนาคต รัฐบาลโดยกรมประมงจึงมีนโยบายในการเฝาระวังสารตกคางของยา 3 ชนิด (Oxytetracyclin, Oxolinic acid และ Chloramphenical ในการเฝาระวังสารตกคางของยา 3 ชนิด และกําหนดวิธีการตรวจสอบที่ยอมรับไดของประเทศตางๆคือ วิธี Microbial Inhibition Disk Assay (MIDA) และวิธี High Performance Liquid Chromatography (HPLC) (8) ปจจัยที่เกี่ยวของกับปญหายาตานจุลชีพตกคางในเนื้อกุง (13) การตกคางของยาตานจุลชีพในตะกอนดินพื้นบอและบริเวณใกลเคียง (4) ปญหาความเปนพิษของสารเคมี และสารพิษจากเชื้อราในกุงกุลาดํา โดยเฉพาะการใชคลอรีน ฟอรมาลินและยาฆาแมลง (9) การเจริญเติบโตของกุงเกิดขึ้นไดตองผานขบวนการลอกคราบถอดเปลือกเกาออกสรางเปลือกใหมใหใหญขึ้นครั้งแลวครั้งเลาหลายสิบครั้งกวาจะจับขายหรือเลี้ยงใหเปนพอแมพันธุไดใหม การลอกคราบเปนกระบวนการที่วิกฤตที่สุดของชีวิตเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง มีฮอรโมนเขามาเกี่ยวของทั้งกระตุนและยับยั้งการลอกคราบ (6) ฮอรโมนที่เกี่ยวของกับเพศตั้งแตกอนวัยเจริญพันธุถึงพอแมพันธุ (7) จึงมีการศึกษาองคประกอบของฮอรโมน (7) นอกจากนี้ยังมีการศึกษาระบบภูมิคุมกันโรคในกุงและชีววิทยาพื้นฐาน (8) การประยุกตใชสารเพื่อกระตุนภูมิคุมกันดวยสารสกัดจากธรรมชาติ สมุนไพร ผสมอาหารและใชฉีดเขากลามเนื้อ (21) แตยังไมสามารถรักษาโรคระบาดที่เกิดขึ้นได ผลที่ไดเพียงลดความรุนแรงลงหรือระงับไดบางชวงเทานั้น จึงมีการคิดคนหาวัคซีนเพื่อปองกันโรคในกุง (3) การศึกษาเกี่ยวกับเรื่องโรค ภูมิคุมกัน และการวินิจฉัยโรคดวยเทคโนโลยีดานโปรตีนและสารพันธุกรรมดีเอ็นเอ (6) ทําใหเกิดการพัฒนาการตรวจวินิจฉัยดวยดีเอ็นเอเทคโนโลยี (5) บทที่สี่ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับวิทยาการหลังการจับและการแปรรูปกุงทะเลของไทย จัดเปนขั้นตอนสุดทายที่จะทําใหผูบริโภคพึงพอใจทั้งในและตางประเทศ มีผลทําใหปริมาณการสงออกนอยลงหรือมากขึ้น มีการศึกษาวิจัยถึงการแปรรูปและการเก็บรักษา (9) การทําผลิตภัณฑแชเยือกแข็ง (4) ผลิตภัณฑกุงกระปอง (2) ผลิตภัณฑกุงแหง (6) การใชประโยชนจากเศษกุง (1) การทดลองคนควาและผลิตไคทิน-ไคโตแซน (9) ผลิตภัณฑแปรรูปอื่นๆ (2) นอกจากนี้มีการศึกษาวิจัยถึงความปลอดภัยในกุงและผลิตภัณฑที่ไดจากกุง (2) การควบคุมหรือลดจํานวนแบคทีเรียที่ปนเปอนในผลิตภัณฑกุง (2) การปรับปรุงคุณภาพไคทิน-ไคโตแซน (3) การใชประโยชนจากไคทิน-ไคโตแซน (16) และงานวิจัยอื่นๆ (51) รวมทั้งสิ้น 119 เรื่อง

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http://www.nrct.net

    9

    บทที่หา เปนงานวิจัยที่เกี่ยวของกับเศรษฐกิจ-สังคม กฎหมาย การคาระหวางประเทศ การตลาด และมาตรฐานการสงออก เรียงลําดับตามความเชื่อมโยงของระบบธุรกิจทางการเกษตร มีจํานวน 127 เรื่อง นับตั้งแตปจจัยการผลิต การผลิต การแปรรูป การตลาด และนโยบายการสงออก ประกอบดวยเรื่องตางๆดังนี้ ปจจัยที่ใชในการเลี้ยง (12) การเลี้ยงกุงกับทางเลือกในการประกอบอาชีพหลังเลิกเลี้ยงกุงกุลาดํา (6) ตนทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยง (26) อุปทานกุงกุลาดํา (3) ผลกระทบอันเกิดจากการเลี้ยง (19) ความคิดเห็นของเกษตรกรตอการเลี้ยง (18) การแปรรูป การบรรจุกระปอง หองเย็น การแชแข็ง (7) การตลาดในประเทศ (6) ตลาดสดซื้อ-ขายลวงหนา (5) ตลาดตางประเทศ (9) การสงออกในสภาพสดแชเยือกแข็ง (7) สวนแบงการตลาด (4) และการวิเคราะหความสามารถในการแขงขัน (5) ผลการวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยมีหลายลักษณะและมีรูปแบบแตกตางกัน คณะผูวิจัยจึงทําหนาที่เปนกองบรรณาธิการจัดทํา เรียบเรียง และจัดรูปแบบใหเหมือนกัน โดยคงเนื้อหาสาระตามที่ผูทรงคุณวุฒิไดทําการวิเคราะห มีจํานวน 5 บท พรอมทั้งจัดทําขอสรุป และขอเสนอแนะ นอกจากนี้ไดมีการรวบรวมรายช่ือนักวิจัยไวในภาคผนวก

  • Analysis and Synthesizing of Marine Shrimp Research in Thailand

    http://www.nrct.net

    10

    สรุปและขอเสนอแนะ

    สรุป

    การเลี้ยงกุงกุลาดําในระบบธุรกิจการเกษตรมีเปาหมายหลักเพื่อการสงออกมากกวาการบริโภคภายในประเทศ มีความเช่ือมโยงของหลายธุรกิจอยางกวางขวาง มีผูคนเขามาเกี่ยวของจํานวนมาก ทั้งแรงงานในฟารม นักวิชาการหลายสาขาที่มีสวนทําใหอาชีพการขายตรงเฟองฟูมีคาตอบแทนจากการขายสูงมากจนเปนแรงจูงใจใหทุกฝาย ถนนทุกเสนมุงหนาสูนากุง ซึ่งเดิมตั้งอยูตามบริเวณชายฝงทะเล เริ่มจากบริเวณจังหวัด 3 สมุทร กนอาวไทย ขยายออกไปทั้งฝงตะวันออกและตะวันตก มุงหนาลงสูภาคใต ขยายพื้นที่เลี้ยงในเขตปาชายเลนทั้งที่เปนเขตเศรษฐกิจ ก, ข หรือเขตอนุรักษ เรียกวาเปนการบุกรุกปาชายเลนอยางตอเนื่องไมเปนระบบ เมื่อมีปญหาการผลิตในพื้นที่เลี้ยงเดิม ก็โยกยายหาพื้นที่ใหม ไมวาจะเปนพื้นที่นาหลังปาชายเลน ซึ่งนาจะเหมาะสมมากที่สุด เทานั้นยังมีการรุกไลขึ้นมาในภาคกลางจนถึงพื้นที่นาขาวในเขตพื้นที่น้ําจืด ซึ่งเดิมเคยไดสมยานามวาอูขาวอูน้ําของประเทศ มีผูไดรับผลประโยชนจํานวนมาก เพราะการเลี้ยงกุงกุลาดําเปนธุรกิจที่ตอเนื่อง เช่ือมโยงหลายขั้นตอนตั้งแตชาวประมงจับพอแมพันธุกุงจากทะเล ลําเลียงสูแพปลา พอคาคนกลางที่ทําหนาที่คัดเลือกจัดสงพอแมพันธุที่มีความพรอมสงใหฝายเพาะพันธุขายลูกกุงแรกเกิดหรือมีอายุเพียง 2 วันใหเกษตรกรนําไปอนุบาลตอเนื่องจนพนระยะวัยออนมีรูปรางเหมือนกุงใหญแตมีขนาดเล็ก ใชเวลา 22-28 วัน แตละรอบการเลี้ยง ขายตอใหเกษตรกรอีกกลุมนําไปเลี้ยงในบอดิน 4-5 เดือน ใหไดขนาดตามตลาดตองการ ซึ่งผูเลี้ยงสามารถกําหนดไดเมื่อ 10 ปที่ผานมา แตปจจุบันนี้ผูเลี้ยงไมสามารถเลี้ยงกําหนดขนาดตามตองการได แตขึ้นอยูกับจะเลี้ยงไดนานแคไหน สวนขนาดแคไหนกําหนดยากมาก ขายผลผลิตใหคนกลางหรือแพปลาหรือหองเย็นนําไปแชแข็ง เพื่อสงออกในสภาพสดแชแข็ง และตอมามีการคิดคนการแปรรูปเพื่อสรางมูลคาเพิ่มของสินคา และพัฒนาวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว เศษเหลือเชนเปลือกและหัวปริมาณมากถูกนํามาแปรรูปเปนสวนผสมของอาหารวาง “รสกุง” อาหารสัตว และปจจุบันพัฒนาผลิตภัณฑเพิ่มขึ้นหลายรูปแบบ มีทั้งผลิตเปนแคปซูลมีคุณสมบัติดูดซับไขมันลดน้ําหนัก เปนสวนผสมของโลชั่นและเครื่องสําอางประเทืองผิว เปนสวนผสมของสะแนก สกัดไคติน-ไคโตแซนสําหรับเคลือบผิวสม สวนผสมของแผนฟลมและอีกหลายรูปแบบ เรียกวาใชประโยชนไดตลอดตัว รวมทั้งน้ําที่เหลือจากการตมกุงทํากุงแหงสามารถนํามาสกัดไดไคติน-ไคโตแซน และสารอื่น ๆ ไดอีก กุงจึงเปนสินคาสงออกที่มีมูลคาเกินแสนลานบาทตอป ชวยนําเงินตราเขาประเทศโดยเฉพาะ เมื่อประเทศชาติมีปญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอย จนตองพึ่งพา IMF เมื่อ 4-5 ปที่ผานมา กุงกุลาดําก็นําช่ือเสียงมาสูประเทศ ชาวโลกรูจักตมยํากุงหรือตมยํากุงไครซิส และลุกลามเพื่อนบานจนฟนไมจริงอยูในขณะนี้ ดวยคุณคาของกุงกุลาดําที่มีมูลคาสูงเปนที่เยายวนใจของนักธุรกิจและเกษตรกร จึงมีความพยายามเพิ่มปจจัยการผลิตโดยความคิดความตองการของตนเอง ลืมนึกถึงความตองการของกุง และมากเกินกวาสิ่งแวดลอมจะรับได ทําใหการเลี้ยงกุงกุลาดํามีปญหามากมาย ทั้งเรื่องของปจจัยการผลิต การผลิต การแปรรูป การตลาด และนโยบายกีดกันทางการคาที่มีสิ่งแวดลอมเปนตัวหลัก ปญหาที่เกิดขึ้นจากการเลี้ยงกุงกุลาดําผันแปรตามปจจัยการผลิต พ้ืนที่ทําการเกษตร (กุง) เพื่อแกปญหาที่เกิดขึ้นในขณะนั้น จึงมีงานวิจัยตามหลังปญหา และบางครั้งเมื่องานวิจัยออกมาปญหาก็เปลี่ยนไป มีนักวิจัยทั้งที่เปนมือสมัครเลน นิสิตปริญญาโท-เอก ดําเนินการเพื่อความสมบูรณแหงปริญญาเสร็จแลวก็มิไดอยูในวงการกุง เรียกวารูปญหาพบแนวทางแกไขแตไมไดใชจํานวนมากถึง 279 เรื่อง มีงานวิจัยและตีพิมพในวารสารประมงและเปนเอกสารวิชาการของกรมประมง 283 เรื่อง งานวิจัยของคณาจารย นักวิชาการ จากหลายสถาบันมากกวา 350 เรื่อง ตีพิมพในวารสารของสถาบันการศึกษา การประชุมวิชาการ เปนภาษาไทย 249 เรื่อง ภาษาอังกฤษ 97 เรื่อง รวมประมาณ 1,000 เรื่อง และ

  • การรวบรวมวิเคราะหและสังเคราะหงานวิจัยกุงทะเลของประเทศไทย

    http://www.nrct.net

    11

    อาจจะมีอีกหลายเรื่องที่ยังไมรวมในรายงานฉบับนี้ที่ไดรับงบประมาณงานวิจัยใหดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 1 ป นับตั้งแตวันที่ 9 มกราคม 2546 ถึง 9 มกราคม 2547 สรุปไดวาภาพรวมของงานวิจัยที่เกี่ยงของกับกุงกุลาดํา ครอบคลุมอยางกวางขวางมีทั้งกรอบนอกและลงลึกเฉพาะเรื่อง แตเมื่อพิจารณางานวิจัยทั้งหมดที่มีอยู มีความตอเนื่องเชื่อมโยงอยางเปนระบบนอยมาก ถาเทียบกับระบบธุรกิจการเกษตร/กุงกุลาดํา มีมูลคานับแสนลานบาทติดตอกัน เกิดจากการขยายตัวอยางรวดเร็วของภาคเอกชนที่ภาครัฐตามไมทัน ไมมีการวางแผนการผลิตลวงหนา เปนลักษณะของมือใครยาวสาวไดสาวเอา ใชทรัพยากรธรรมชาติทางน้ําโดยขาดความระมัดระวัง ทําลาย/บุกรุกปาชายเลนจนเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และยอนกลับมาเกิดปญหาตอการเลี้ยงกุง ทําใหผลิตต่ําเกิดโรคระบาด เริ่มจากโรคเรืองแสงเพราะแพลงกตอนเกิดขึ้นปริมาณมากเกินไป บางชนิด ทําใหเกิดเหงือกอักเสบ เหงือกบวม เนา มีการใชยาและสารเคมี ตอมาเกิดโรคเสี้ยนดํา เนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย และการทดลองยาหลาย ๆ ชนิดนําไปสูการดื้อยาตานจุลชีพนานาชนิด ที่นํามาใชโดยไมมีการศึกษาประสิทธิภาพของยาตานจุลชีพใหครบถวนกอนที่จะแนะนําใหเกษตรกรใช ทําเฉพาะในหองปฏิบัติการ โดยทดลองในพื้นที่จริงนอยมาก ตอมาโรคที่เกิดขึ้นเปลี่ยนไปเมื่อมีการนํากุงขาวจีน (Penaeus chinensis) เขามาในประเทศไทย (โดยใครก็ตามที่ขาดความรับผิดชอบตอสังคมหวังเพียงผลประโยชนทางการคาของตัวเอง) ในป พ.ศ. 2537 พบวามีโรคตัวแดงดวงขาวเกิดขึ้นจากไวรัส และทําใหกุงแชบวยและกุงกุลาดําตายภายในเวลา 5, 7 วัน และไวรัสที่ทําใหเกิดโรคหัวเหลือง ระบาดอยางตอเนื่อง รุนแรง จนปจจุบันยังไมสามารถระงับไดจริง เพียงลดความรุนแรงลงและพรอมที่จะเกิดขึ้นไดอีก ทําความเสียหายใหกับธุรกิจกุงกุลาดํา และเกษตรกรรายยอย-รายใหญอยางมากมาย คงจะมีแคบริษัทที่ขายยาและสารเคมีที่ไดรับประโยชนเมื่อมีการนํามาใชกันมากเกินพอดี ดูเสมือนวาทั้งยา สารเคมี โรค จะปนเปอนอยูในแหลงน้