450

สารบัญ - enconfund.go.th · 2019-06-22 · สารบัญ หน้า แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

  • Upload
    others

  • View
    14

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

  • สารบัญ หน้า แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 1.1 กลุ่มงานด าเนินงาน 1.1.1 โครงการศึกษาและจัดท าข้อมูลการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 1 1.1.2 โครงการศึกษาจัดท าค่าประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (EI) ในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้า 4 1.1.3 โครงการศึกษาและจัดท าระบบรายงานการจัดการพลังงานทางอิเล็กทรอนิกส์ 7 1.1.4 โครงการปรับปรุงหลังคาอาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ 10 1.2 กลุ่มงานค้นคว้า วิจัย ศึกษาเพื่อการพัฒนาและส่งเสริม 1.2.1 โครงการศึกษาจัดท ามาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานมอเตอร์เหนี่ยวน าเฟสเดียว 11 1.2.2 โครงการออกแบบศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้าเมื่อประยุกต์ใช้

    เทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์ในตู้เย็นตู้แช่สินค้า 13

    1.2.3 โครงการพัฒนาศูนย์ต้นแบบการเรียนรู้อาคารที่ใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ในโรงเรียน 3 จังหวัดชายแดนใต้ (Net Zero Energy Building) (สนับสนุนสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง)

    15

    1.2.4 โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีอนุรักษ์พลังงาน 16 1) โครงการศึกษาศักยภาพการประหยัดพลังงานในตู้แช่เย็นแสดงสินค้า 21 2) โครงการศึกษาแนวทางการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรมแต่ละภูมิภาค 23 3) โครงการระบบโลจิสติกส์เพ่ือการลดพลังงานในกระบวนการผลิตและการกระจายสินค้า

    ของอุตสาหกรรมผลิตน าแข็ง 26

    4) โครงการศึกษาและคาดการณ์โครงสร้างการใช้พลังงานในภาคครัวเรือน 28 5) โครงการการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารของรัฐด้วยการใช้เครื่องปรับอากาศแบบ

    อินเวอร์เตอร์แทนเครื่องปรับอากาศแบบฟิกซ์สปีด 30

    6) โครงการการจัดท าแผนปฏิบัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามมาตรการเพ่ิมประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยผู้ให้บริการไฟฟ้า (Energy Efficiency Resource Standard : EERS)

    33

    7) โครงการศึกษาและพัฒนาแนวทางในการส่งเสริมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles) 35 8) โครงการศึกษาการก าหนดเกณฑ์ประสิทธิภาพพลังงานขั นต่ าในภาคอุตสาหกรรม 38 9) โครงการศึกษาพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบและผลิตแม่พิมพ์เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ

    การใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต 40

    10) โครงการศึกษาการใช้พลังงานในเตาอบเหล็ก (Reheating Furnace) เพ่ือเปรียบเทียบชนิดของเชื อเพลิงและเทคโนโลยีในการอนุรักษ์พลังงานอย่างเหมาะสมส าหรับอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าในประเทศไทย

    42

  • หน้า 11) โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้รถประจ าทางไฟฟ้าส าหรับการขนส่งมวลชนใน

    ระยะไกล 44

    12) โครงการวิจัยและพัฒนาการจัดตั งเครือข่ายผลิตน าเย็น (District Cooling) ส าหรับอาคารในพื นที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ เพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน

    46

    13) โครงการเสริมสร้างศักยภาพด้านการอนุรักษ์พลังงานในกลุ่มผู้ประกอบการ SMEs ภายใต้รูปแบบบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)

    48

    1.3 กลุ่มงานโครงการสาธิตหรือริเริ่ม 1.3.1 โครงการศึกษาและส่งเสริมเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการน าความร้อนทิ งอุณหภูมิต่ าในระบบ

    อุตสาหกรรมกลับมาใช้ใหม่ 50

    1.3.2 โครงการขอรับสิทธิประโยชน์ยกเว้นภาษีเงินได้จากกรมสรรพากร ระยะที่ 4 53 1.3.3 โครงการติดตามการด าเนินงานโครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน 56 1.3.4 โครงการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนหม้อไอน าเครื่องท าน าเย็นและหอผึ่งเย็นประสิทธิภาพสูง

    ในอาคารควบคุมภาครัฐ 59

    1.3.5 งานขึ นทะเบียนและก ากับดูแลการออกใบอนุญาตในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน

    62

    1.3.6 งานก ากับดูแลและส่งเสริมอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายส าหรับโรงงานควบคุม 64 1.3.7 งานก ากับดูแลและส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมายของอาคารควบคุมเอกชน 68 1.3.8 งานก ากับดูแลการปฏิบัติตามกฎหมายของอาคารควบคุมภาครัฐ 72 1.3.9 โครงการบริหารศูนย์ประสานงานการออกแบบอาคารเพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน 75 1.3.10 โครงการส่งเสริมธุรกิจและกระตุ้นตลาดการอนุรักษ์พลังงานโดยกลไกบริษัทจัดการพลังงาน

    (ESCO) 78

    1.3.11 โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและการเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ในสถานประกอบการ 81 1.3.12 โครงการสนับสนุนการลงทุนเพ่ือปรับเปลี่ยนปรับปรุง เครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์เพ่ือการอนุรักษ์

    พลังงาน 84

    1.3.13 โครงการอนุรักษ์พลังงานและพัฒนาพลังานทดแทนในเขตพระราชฐาน 87 1.3.14 โครงการน าร่องการติดฉลากแสดงข้อมูลการใช้พลังงานส าหรับอาคารธุรกิจ 89 1.3.15 โครงการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนด้วยเงินทุนหมุนเวียน

    (Esco Revolving Fund) 92

    1.3.16 โครงการติดตั งระบบไฟฟ้าแสงสว่าง LED ส าหรับอาคารในหน่วยงานราชการ 95 1.3.17 โครงการปรับเปลี่ยนหลอด LED และระบบปรับอากาศในโรงเรียนจิตรลดา 96 1.3.18 โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคารภาครัฐ (กองทัพเรือ) 98 1.3.19 โครงการเงินหมุนเวียนเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงิน 99 1.3.21 โครงการน าร่องเปลี่ยนหลอดประหยัดพลังงานแบบ LED เพ่ือเป็นต้นแบบการอนุรักษ์พลังงาน

    ให้กับประชาชน 101

  • หน้า 1.3.22 โครงการติดตั งชุดโคมไฟถนนแอลอีดี ในหน่วยงานของกองทัพอากาศ 102 1.3.23 โครงการติดตั งระบบผลิตไฟฟ้าแสงสว่างหลอด LED ส าหรบัถนนสาธารณะในโรงเรียนนาย

    ร้อยพระจุลจอมเกล้า 104

    1.3.24 โครงการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมการใช้งานโปรแกรมบริหารจัดการขนส่งเพ่ือการประหยัดพลังงาน ระยะที่ 2

    106

    1.3.25 โครงการสาธิตการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตไอน าของหม้อน าด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ 110 1.3.26 โครงการพัฒนาโคมไฟถนนแอลอีดีที่มีความทนทานต่อกระแสไฟกระชากสูง 114 1.3.27 โครงการส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานระหว่าง

    ประเทศ 116

    1.3.28 โครงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์พลังงาน จังหวัดภูเก็ต 118 1.4 กลุ่มงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ 1.4.1 โครงการ Thailand Energy Awards 2015 122 1.4.2 โครงการบริหารงานเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 124 1.4.3 โครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุเพ่ือการอนุรักษ์พลังงานที่

    ได้รับฉลากประสิทธิภาพสูง 126

    1.4.4 โครงการผลิตและเผยแพร่สารคดีด้านอนุรักษ์พลังงานผ่านสื่อโทรทัศน์ 128 1.4.5 กิจกรรมผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 129 1.4.6 โครงการประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 130 1.4.7 โครงการเผยแพร่การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ 131 1.4.8 โครงการประชาสัมพันธ์นโยบายพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานตามสถานการณ์

    ปี 2558 132

    1.4.9 โครงการสร้างกระบวนความคิดในการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนและพัฒนาวิชาชีพด้านพลังงานแก่ประชาชน (Energy for Life)

    136

    1.4.10 โครงการส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารพลังงานระหว่างประเทศในด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนแก่ประชาชนทุกภาคส่วน

    140

    1.4.11 โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในภาคประชาชน 143 1.5 กลุ่มงานพัฒนาบุคลากร 1.5.1 โครงการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลังงานตามกฎหมาย 145 1.5.2 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านระบบการใช้พลังงานตามประเภทโรงงานและอาคารธุรกิจ 160 1.5.3 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน 161 1.5.4 โครงการส่งเสริมเทคโนโลยีอนุรักษ์พลังงานในอาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ 163 1.5.5 โครงการทีมเทคนิคและอาชีวศึกษาเพ่ือการประหยัดพลังงาน (การประกวดสิ่งประดิษฐ์เพื่อ

    การอนุรักษ์พลังงาน)

    166

  • หน้า 1.5.6 โครงการพัฒนาบุคลากรภาคปฏิบัติด้านการตรวจประเมินสมรรถนะเครื่องจักรอุปกรณ์หลัก

    ภายใต้ระบบการจัดการพลังงานตามกฎหมาย 168

    1.5.7 โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา (ทุนในประเทศและทุนต่างประเทศ) 170 1.5.8 โครงการสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา 172 1.5.9 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน 173 1.5.10 โครงการศูนย์เผยแพร่ความรู้ด้านการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ปี 2558 174 1.5.11 โครงการจัดท าสื่อเพ่ือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านพลังงานในหลักสูตร

    ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 176

    1.5.12 โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการบูรณาการเรื่องพลังงานในหลักสูตรประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

    179

    1.5.13 โครงการลดการใช้พลังงานในภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 181 1.5.14 โครงการจัดประชุม/สัมมนาเชิงวิชาการเพ่ือน าเสนอผลงานวิจัยด้านการอนุรักษ์พลังงานและ

    พลังงานทดแทน 186

    1.5.15 โครงการฝึกอบรมเสริมสร้างจิตส านึกด้านการอนุรักษ์พลังงานและการเผยแพร่เทคโนโลยีพลังงานชุมชน

    188

    1.5.16 โครงการพลังงานสัญจร 191 2. แผนพลังงานทดแทน 2.1 กลุ่มงานด าเนินงาน 2.1.1 โครงการติดตามปรับปรุงการผลิตการใช้ไบโอดีเซลชุมชน 193 2.1.2 โครงการติดตามประเมินผลโครงการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานแก่หน่วยงาน

    ด้านความมั่นคงของประเทศ ระยะที่ 2 195

    2.1.3 โครงการจัดตั งระบบสูบน าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ 197 2.1.4 โครงการจัดตั งศูนย์ปฏิบัติการเชิงรุกเพ่ือสนับสนุนการด าเนินงานตามภารกิจด้านพลังงาน

    ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 198

    2.1.5 โครงการติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามแผนพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 200 2.2 กลุ่มงานค้นคว้า วิจัย ศึกษาเพื่อการพัฒนาและส่งเสริม 2.2.1 งานศึกษาจัดท าแผนหลักการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของโครงการไฟฟ้าพลังน า

    ขนาดเล็ก และศึกษาออกแบบ 2 โครงการ 202

    2.2.2 โครงการศึกษาศักยภาพและแนวทางการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เพ่ือสนับสนุนกิจกรรมศนูย์การศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชด าริ

    204

    2.2.3 โครงการศึกษาการสูบน าด้วยกังหันลมในพื นที่การเกษตร 206 2.2.4 โครงการพัฒนาศูนย์สอบเทียบเครื่องวัดรังสีอาทิตย์ปี 2558 208 2.2.5 โครงการศึกษาส ารวจศักยภาพความเหมาะสมการใช้พลังงานเพื่อสนับสนุนเทคโนโลยีพลังงาน

    ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานส าหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 210

  • หน้า 2.2.6 โครงการศึกษาปรับปรุงรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื องต้น โครงการไฟฟ้าพลังน าขนาด

    เล็กห้วยแม่ป่าไผ่ 213

    2.2.7 โครงการศึกษาศักยภาพและความเหมาะสมการส่งเสริมการใช้น าร้อนแสงอาทิตย์ส าหรับภาคครัวเรือน

    215

    2.2.8 โครงการต้นแบบการใช้พลังงานทดแทนแบบผสมผสานและอนุรักษ์พลังงานในโรงสีข้าวแบบครบวงจรในพื นที่มูลนิธิชัยพัฒนา

    217

    2.2.9 โครงการส ารวจศักยภาพการใช้พลังงานทดแทนในพื นที่มูลนิธิชัยพัฒนา 219 2.2.10 โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ส่งเสริมชุมชนอนุรักษ์พลังงานตามแนว

    พระราชด าริ (อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร) 220

    2.2.11 โครงการจัดท าแผนแม่บทเชิงรุกเพ่ือสนับสนุนการด าเนินงานตามภารกิจด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

    223

    2.2.12 โครงการศึกษาวิจัยน าร่องโรงไฟฟ้าแบบผสมผสานเชิงปฏิบัติการ 225 2.2.13 โครงการศึกษาวิจัยน าร่องโรงไฟฟ้าแบบไฮบริดเชิงปฏิบัติการส าหรับ 3 จังหวัดชายแดนใต้ 227 2.2.14 โครงการวิจัยพัฒนาพลังน าขนาดเล็กส าหรับชุมชนในท้องถิ่นสู่การพ่ึงพาตนเองได้ : โครงการ

    ต้นแบบหมู่บ้านปิยะมิตร 229

    2.2.15 โครงการศึกษาพัฒนาระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจกส าหรับอบแห้งสมุนไพร

    231

    2.2.16 โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจัย พัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน 232 1) โครงการการแปรรูปชีวมวลไม่เชิงพาณิชย์ประเภทยอดและใบอ้อยเป็นไบโอออยล์โดย

    การไพโรไลซิสเพ่ือการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพในอุตสาหกรรม 234

    2) โครงการพัฒนามาตรฐานโครงข่ายระบบท่อก๊าซชีวภาพและศึกษาศักยภาพการน าไปใช้ในชุมชน/นิคมอุตสาหกรรม (Local Gas Grid)

    237

    3) โครงการพัฒนาแนวทางการผลิตและประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพจากวัสดุการเกษตรเพ่ือเป็นเชื อเพลิงร่วมกับถ่านหิน

    240

    4) โครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพที่แหล่งก าเนิด 244 5) โครงการลดแอมโมเนียในมูลไก่ด้วยเทคนิคการไล่แบบสุญญากาศ เพ่ือการเพ่ิมศักยภาพ

    การผลิตก๊าซชีวภาพ 247

    6) โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีการก าจัดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ในน าเสียชนิดซัลเฟตสูงเพ่ือปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ

    250

    7) โครงการระบบผลิตไบโอดีเซลจากกรดไขปาล์มแบบต่อเนื่องด้วยเครื่องปฏิกรณ์ท่อผสมแบบสถิตร่วมกับคลื่นเสียงอัลตราโซนิก

    253

    8) โครงการการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลฝอยและน าชะขยะมูลฝอยด้วยถังหมักไร้อากาศร่วมกับถังปฏิกรณ์ชีวภาพเมมเบรนแบบไร้อากาศ

    257

  • หน้า 9) โครงการศึกษาและพัฒนาต้นแบบระบบผลิตพลังงานจากฟางข้าวแบบ Cyclone

    Gasifier ขนาด 10 kWe 261

    10) โครงการวิจัยและพัฒนาถังปฏิกรณ์ไฮโดรไดนามิคคาวิเทชั่นส าหรับระบบผลิตไบโอดีเซลแบบต่อเนื่องระยะที่ 2

    264

    2.2.17 โครงการศึกษาศักยภาพและความคุ้มค่าด้านการลงทุนด้านการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานทดแทนบนเกาะหรือพื นที่สาธารณะประโยชน์ในพื นท่ี จ.ภูเก็ต

    267

    2.3 กลุ่มงานโครงการสาธิตหรือริเริ่ม 2.3.1 โครงการสนับสนุนเพื่อจัดตั งสถานีผลิตพลังงานสีเขียว (DGG) วิสาหกิจพลังงานทดแทนชุมชน

    ผลิตเชื อเพลิงชีวมวล 269

    2.3.2 โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะอินทรีย์ในหน่วยทหารและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม

    271

    2.3.3 โครงการส่งเสริมการใช้น าร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ด้วยระบบผสมผสานปี 2558 273 2.3.4 โครงการสนับสนุนการลงทุนติดตั งใช้งานระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ปี 2558 276 2.3.5 โครงการพัฒนาผลิตไฟฟ้าแบบผสมผสานในพื นที่ขาดแคลนไฟฟ้าเฉพาะแหล่ง 278 2.3.6 โครงการพัฒนาศักยภาพและการใช้พลังงานเพ่ือสนับสนุนเทคโนโลยีพลังงานที่เหมาะสม

    ให้กับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริฯ (ศูนย์พัฒนาโครงการหลวง) 280

    2.3.7 โครงการพัฒนาพลังงานชีวมวลยั่งยืนส าหรับพื นที่ต้นแบบเกาะพลังงานสะอาด (พะลวยกรีนไอแลนด์)

    282

    2.3.8 โครงการพัฒนาประสิทธิภาพศูนย์ต้นแบบการเรียนรู้ด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 285 2.3.9 โครงการติดตั งชุดโคมไฟถนนแอลอีดีพลังงานแสงอาทิตย์ในหน่วยงานของกองทัพอากาศ 287 2.3.10 โครงการติดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 เมกกะวัตต์ในหน่วยงานของ

    กองทัพอากาศ 288

    2.3.11 โครงการติดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ส าหรับระบบเครื่องช่วยเดินอากาศ (TACAN) ในหน่วยงานของกองทัพอากาศ

    290

    2.3.12 โครงการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ส าหรับฐานปฏิบัติการทางทหารปี 2558 292 2.3.13 โครงการผลิตพลังงานด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพ่ือใช้ในการเรียนการสอนทางไกลของ

    โรงเรียนเครือข่ายโรงเรียนวังไกลกังวล 293

    2.3.14 โครงการปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ่ด้วยระบบการท าความเย็นแบบดูดซึมโดยอาศัยพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์

    295

    2.3.15 โครงการสนับสนุนการลงทุนเทคโนโลยีพลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรม 297 2.3.16 โครงการสถานีผลิตพลังงานในหน่วยงานสถานศึกษาและโรงพยาบาลของรัฐ (Campus Power) 300 2.3.17 โครงการต้นแบบระบบกรองน าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในเขตพื นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 301 2.3.18 โครงการสนับสนุนการติดตั งโคมไฟฟ้าส่องสว่างระบบโซล่าเซลล์ ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

    เพ่ือความมั่นคงในพื นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 302

  • หน้า 2.3.19 โครงการติดตั งระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับโครงการอัน

    เนื่องมาจากพระราชด าริ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 303

    2.3.20 โครงการสูบน าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพ่ือการเกษตรกรรมระดับชุมชนและสหกรณ์การเกษตร

    304

    2.3.21 โครงการน าร่องเพ่ือผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลในระดับชุมชน (ระยะที่ 2) 305 2.3.22 โครงการศึกษาออกแบบระบบบริหารจัดการขยะเพ่ือผลิตเป็นพลังงานทดแทนระดับจังหวัด 307 2.3.23 โครงการส่งเสริมการผลิตแก๊สชีวภาพระดับครัวเรือนเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ

    ชนมพรรษา 88 พรรษา 311

    2.3.24 โครงการน าร่องการจัดการขยะชุมชนแบบครบวงจรแบบกระจายศูนย์ (Decentralized-Integrated Solid Waste Management System)

    315

    2.3.25 โครงการสาธิตการใช้ประโยชน์จากก๊าซไบโอมีเทนด้วยระบบท่อส่งก๊าซ (City Gas Grid) เพ่ือทดแทนก๊าซหุงต้มในภาคครัวเรือน

    320

    2.3.26 โครงการสาธิตการใช้เชื อเพลิงแก๊สจากชีวมวลส าหรับอุตสาหกรรมเผาอุณหภูมิสูง (เซรามิก) 323 2.3.27 โครงการติดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระผสมผสานแบบเชื่อมต่อระบบ

    จ าหน่าย (Grid Back up System) ขนาดไม่น้อยกว่า 30 กิโลวัตต ์ 326

    2.3.28 โครงการติดตั งระบบไฟฟ้าส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์เพ่ือความมั่นคงในหน่วยทหาร 328 2.3.29 โครงการจัดสร้างระบบผลิตไฟฟ้าและสูบน าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเคลื่อนที่ขนาดไม่น้อยกว่า

    1200 วัตต์ เพื่อสนับสนุนภารกิจทางทหาร 330

    2.3.30 โครงการจัดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ส าหรับใช้งานภายในกองพลทหารปืนใหญ่ 332 2.3.31 โครงการติดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) ในพื นที่กองทัพเรือ เพ่ือ

    เสริมความม่ันคงด้านพลังงาน 334

    2.3.32 โครงการจัดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ส าหรับใช้งานภายในค่ายสิรินธร กอ.รมน. ภาค 4 ส่วนหน้า

    337

    2.3.33 โครงการพลังงานทดแทน ส าหรับศูนย์ศิลปาชีพหมู่บ้านพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื นที่ชายแดน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ

    339

    2.3.34 โครงการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และใช้ในหน่วยงานต ารวจภูธรภาค 2 341 2.3.35 โครงการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และใช้ในหน่วยงานศูนย์ฝึกอบรม

    ต ารวจภูธรภาค 3 342

    2.3.36 โครงการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์และใช้ในหน่วยงานต ารวจตระเวนชายแดน

    344

    2.3.37 โครงการจัดตั งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ภายในค่ายมหาจักรีสิรินธร 346 2.3.38 โครงการติดตั งโคมไฟถนน LED ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อความมั่นคงในพื นที่ 3 จังหวัด

    ชายแดนภาคใต้ 348

    2.3.39 โครงการจัดตั งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ภายในค่ายนวมินทราชินี 351

  • หน้า 2.3.40 โครงการจัดตั งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ 353 2.3.41 โครงการศูนย์สาธิตเทคโนโลยีพลังงานครบวงจรในหน่วยงานภาครัฐ 354 2.3.42 โครงการส่งเสริมการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพ่ือผลิตไฟฟ้าให้แก่ชุมชนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้ ชุมชน

    ต าบลบึงนคร อ าเภอหัวหิน (มีพลังงาน มีความสุข ณ บึงนคร) 356

    2.3.43 โครงการเกษตรผสมผสานด้านพลังงานทดแทนตามแนวพระราชด าริ 358 2.3.44 โครงการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ร่วมกับระบบไฟฟ้าหลักและระบบส ารองฉุกเฉิน

    ส าหรับโรงพยาบาลประจ าอ าเภอ จังหวัดนราธิวาส 360

    2.3.45 โครงการติดตั งเสาไฟพร้อมโคมส่องสว่างโซล่าเซลล์ในศาสนสถานและสถานที่ฝังศพ เผาศพ (กุโบร์/สุสานจีน/ฌาปนสถาน) ในพื นที่หมู่บ้านเร่งรัดการพัฒนาและหมู่บ้านเสริมสร้างการพัฒนาในจังหวัดชายแดนภาคใต้

    362

    2.3.46 โครงการศึกษาความเป็นไปได้การสร้างต้นแบบการผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์จากเหง้ามันส าปะหลัง ในพื นที่จังหวัดนครราชสีมา

    365

    2.3.47 โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการลดปัญหาหมอกควันจากการเผาไหม้วัสดุเหลือทิ งทางการเกษตรในพื นที่ภาคเหนือด้วยการแปรรูปเป็นพลังงาน (กรณีศึกษาพื นที่จังหวัดเชียงใหม่ หรือจังหวัดล าพูน)

    368

    2.3.48 โครงการพลังงานชุมชนเพื่อชุมชนจัดการตนเองด้านพลังงาน 371 2.4 กลุ่มงานโฆษณาประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ 2.4.1 โครงการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 374 2.4.2 โครงการส่งเสริมการใช้เชื อเพลิงชีวภาพ 377 2.4.3 โครงการจัดท าศูนย์แสดงนิทรรศการด้านพลังงานของประเทศ 379 2.4.4 โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โครงการด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานแก่

    หน่วยงานด้านความม่ันคงของประเทศ 380

    2.4.5 โครงการประชาสัมพันธ์รณรงค์ปลูกจิตส านึกสร้างมูลค่าเพ่ิมให้ขยะเพ่ือส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน

    382

    2.4.6 โครงการเทิดพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนไทยใต้ร่มพระบารมี

    383

    2.4.7 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาเพ่ือบริหารกลยุทธ์การสื่อสารการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานพลังงานทดแทน ปี 2558

    386

    2.4.8 โครงการสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงานทดแทนผ่านสื่อนิทรรศการในส่วนกลาง และท้องถิ่น ปี 2558

    390

    2.4.9 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาเพ่ือจัดตั งศูนย์ข้อมูลพลังงานทดแทนและพลังงานอื่นๆ ของประเทศไทยเพ่ือการประชาสัมพันธ์

    392

  • หน้า 2.5 กลุ่มงานพัฒนาบุคลากร 2.5.1 โครงการพัฒนาบุคลากรด้านพลังงานทดแทนในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ 394 2.5.2 โครงการส่งเสริมเพ่ิมศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชนต้นแบบเกาะพลังงานสะอาด 396 2.5.3 โครงการถ่ายทอดเผยแพร่ความปลอดภัยจากการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน 398 2.5.4 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้เพ่ือยกระดับชีดความสามารถบุคลากรกรมพัฒนาพลังงาน

    ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (ด้านไฟฟ้าพลังน า) 401

    2.5.5 โครงการรณรงค์ส่งเสริมการผลิตพลังงานจากขยะ 403 2.5.6 โครงการสนับสนุนทุนการศึกษา (ทุนในประเทศและทุนต่างประเทศ) 405 2.5.7 โครงการสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา 407 2.5.8 โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านพลังงานทดแทน 408 2.5.9 โครงการเสวนาเชิงวิชาการด้านพลังงานของประเทศไทย (Energy Colloquium 2015) 409 2.5.10 โครงการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครพลังงาน (อส.พน.) ในการพัฒนาพลังงาน

    ทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน 411

    2.5.11 การสร้างความเข้าใจเพ่ือการพัฒนาทัศนคติท่ีมีต่อการสนับสนุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทางเลือกให้เจ้าหน้าที่อปท.

    414

    2.5.12 โครงการว่าจ้างที่ปรึกษาศึกษาความเหมาะสมและจัดท าแผนกลยุทธ์การสร้างเครือข่ายการเผยแพร่องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาพลังงานของประเทศไทย

    416

    2.5.13 โครงการอบรมครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์พลังงานในระดับการศึกษาขั นพื นฐาน เรื่องเชื อเพลิงเพ่ือการคมนาคมและพลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์

    419

    3. แผนบริหารทางกลยุทธ์

    3.1 กลุ่มงานค้นคว้า วิจัย ศึกษาเพื่อการก าหนดนโยบายและวางแผนพลังงาน 3.1.1 โครงการพัฒนาแผนการขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านสมาร์ทกริดของประเทศไทย 422 3.1.2 โครงการวิจัยน าร่องการด าเนินงานด้านการจัดการก าลังไฟฟ้าสูงสุดในภาคประชาชน 425 3.1.3 โครงการทบทวนนโยบายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 430 3.1.4 โครงการจัดท าระบบตรวจสอบเชื อเพลิงชีวภาพส าหรับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 433 3.1.5 โครงการศึกษาและทบทวนนโยบายและกลไกทางด้านราคาค่าไฟฟ้าเพ่ือส่งเสริมการใช้ไฟฟ้า

    อย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาว 437

    3.1.6 โครงการศึกษาชนิดของเชื อเพลิงชีวภาพที่เหมาะสมส าหรับภาคการขนส่ง 440

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2558 1 /440

    1.1 กลุม่งานด าเนินงาน

    (1) ด าเนินการโดย : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 7,787,000.00 บาท ประกอบดว้ย - ค่าบริหารโครงการ 278,400.00 บาท - ค่าว่าจา้งทีป่รึกษา 7,508,600.00 บาท

    (3) วัตถุประสงคโ์ครงการ : (3.1) เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีข้อมูลกรณีศึกษาด้านการด าเนินโครงการด้านพลังงานทดแทนที่

    ประสบความส าเร็จ ข้อมูลศักยภาพพลังงานทดแทนแต่ละประเภทประกอบการตัดสินใจจัดท านโยบายและลงทุนที่เหมาะสมกับแต่ละประเภทพลังงานและแต่พื้นที่

    (3.2) เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีข้อมูลกรณีศึกษาด้านการด าเนินโครงการและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับแต่ละระบบหรือเครื่องจักรอุปกรณ์ประกอบการตัดสินใจจัดท านโยบายและการลงทุนที่เหมาะสมกับแต่ละประเภทอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ

    (3.3) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพศูนย์องค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานให้มีข้อมูลการด าเนินงานด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานที่ครบถ้วน ทันสมัยสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้จริง

    (4) ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน

    (5) ความเป็นมา/วิธีการด าเนินงาน : (5.1) ความเป็นมา

    ตามยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2554 - 2558) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ ก าหนดให้ พพ. ต้องสร้างการยอมรับอย่างมีส่วนร่วมของภาคประชาชนต่อการพัฒนาพลังงานทางเลือก และตามวิสัยทัศน์ของ พพ. คือ “เป็นองค์กรฐานความรู้ (Knowledge Base) และศูนย์กลางในการผลักดันพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน” และพันธกิจที่ส าคัญของ พพ. คือ การด าเนินงานด้านพัฒนาพลังงานทดแทนทุกชนิดที่มีศักยภาพควบคู่ไปกับการอนุรักษ์พลังงาน จากปัจจัยดังกล่าวข้างต้น ศูนย์สารสนเทศข้อมูลด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน (ศสข.) ซึ่งมีหน้าที่ในการจัดท าระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลการด าเนินการด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน จึงด าเนินการพัฒนาและจัดท าศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน (Knowledge Center) ขึ้น และท าการรวบรวมข้อมูลการด าเนินโครงการด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานของทุกหน่วยงานในประเทศ น าเสนอในศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ฯ ดังกล่าว เพื่อเผยแพร่ให้กับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องใช้ประกอบการตัดสินใจจัดท านโยบาย นักลงทุนใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นส าหรับประกอบการตัดสินใจลงทุนและผู้สนใจทั่วไป น าไปใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ต่อไป

    นอกจากการน าเสนอข้อมูลผลการด าเนินงานด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน ในศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ฯ ยังได้มีการน าเสนอข้อมูลศักยภาพพลังงานทดแทนต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศ เช่น ศักยภาพชีวมวล ศักยภาพก๊าซชีวภาพ ศักยภาพขยะ ศักยภาพแสงอาทิตย์ ศักยภาพลม เป็นต้น เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐ นักลงทุนใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาตัดสินใจจัดท านโยบายหรือลงทุนในเบื้องต้น

    อย่างไรก็ดี จากผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานของนักลงทุนที่ผ่านมา พบว่า นอกจากข้อมูลองค์ความรู้จากการด าเนินโครงการที่ผ่านมาและข้อมูลศักยภาพพลังงานทดแทนแต่ละชนิดที่มีความส าคัญและเป็นประโยชน์ต่อการก าหนดนโยบายของภาครัฐและการตัดสินใจลงทุนของ

    1.1.1 โครงการศึกษาและจัดท าข้อมูลการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2558 2 /440

    นักลงทุนแล้ว ยังมีข้อมูลที่ส าคัญและมีความจ าเป็นอื่นๆ อีกจ านวนมากที่ภาครัฐต้องทราบเพื่อประกอบการพิจารณาจัดท านโยบายหรือนักลงทุนต้องทราบ เพื่อให้การพิจารณาตัดสินใจลงทุนเป็นไปอย่างเหมาะสม ป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการด าเนินโครงการ เช่น ปัญหาขาดแคลนวัตถุดิบ ปัญหาไม่สามารถขายไฟเข้าระบบได้ เป็นต้น ซึ่งจะท าให้โครงการด้านพลังงานทดแทนไม่มีความต่อเนื่องยั่งยืน ในด้านการอนุรักษ์พลังงานก็มีลักษณะเช่นเดียวกันคือภาครัฐและนักลงทุนต้องมีข้อมูลด้านเทคนิคการอนุรักษ์พลังงาน เทคโนโลยีอุปกรณ์อนุรักษ์พลังงาน เป็นต้น

    ศสข. จึงมีความประสงค์จะพัฒนาศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงาน หรือ KC ขึ้น โดยจัดท าฐานข้อมูลที่จ าเป็นต้องใช้ในการตัดสินใจด้านพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานของภาครัฐในการจัดท านโยบายและการตัดสินใจลงทุนของนักลงทุน

    (5.2) วิธีการด าเนินงาน (5.2.1) ทบทวน รวบรวมข้อมูล เทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่มีการใช้งานอยู่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

    รวมทั้งทบทวน รวบรวม เทคโนโลยีพลังงานทดแทนทุกชนิดที่มีการด าเนินการอยู่ในประเทศไทย (5.2.2) ศึกษา รวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินโครงการด้านพลังงานทดแทนที่ประสบความส าเร็จตาม

    วัตถุประสงค์ ทั้งทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม การยอมรับของทุกภาคส่วนของสังคมและอื่นๆ (ถ้ามี) (5.2.3) คัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุดทุกเทคโนโลยีพลังงานทดแทน น ามาเรียบเรียง ข้อมูลผลการ

    ด าเนินโครงการตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงการผลิตพลังงานทดแทนเข้าสู่ระบบ และจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมสามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่

    (5.2.4) ศึกษาข้อมูลศักยภาพ พื้นที่การตลาด สภาพเศรษฐกิจและสังคมในการส่งเสริมการใช้งานเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสมเรียงตามล าดับในแต่ละจังหวัดของทุกภูมิภาค

    (5.2.5) จัดท าผลการศึกษา ความเป็นไปได้ (Feasibility) ของการลงทุนด้านพลังงานทดแทนแต่ละประเภทที่เหมาะสมที่สุดใน 6 ภูมิภาค โดยในแต่ละภูมิภาคต้องมีข้อมูลความเป็นไปได้ (อย่างน้อย 1 จังหวัด 1 ประเภทพลังงานทดแทน และจัดเตรียมข้อมูลให้สามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่

    (5.2.6) วิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินการด้านพลังงานทดแทนที่เหมาะสมที่สุด ทั้งศักยภาพความเหมาะสมของพื้นที่สภาพการตลาด การยอมรับของแต่ละภาคส่วนในแต่ละภูมิภาค พร้อมจัดท ายุทธศาสตร์และแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนที่เหมาะสมอย่างน้อย 1 ภูมิภาค และเรียบเรียงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่

    (5.2.7) ทบทวน ศึกษารวบรวมข้อมูล เทคโนโลยีของการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ โดยแยกออกเป็นระบบที่ใช้พลังงานไฟฟ้าและระบบที่ใช้เชื้อเพลิงส าหรับผลิตความร้อน วิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงานที่ประสบความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ ทั้งด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และอื่นๆ

    (5.2.8) คัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุดทุกเทคโนโลยีพลังงานทดแทน น ามาเรียบเรียง ข้อมูลผลการด าเนินโครงการตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงผลการอนุรักษ์พลังงานที่ได้ และจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถน าเข้าฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู ่

    (5.2.9) ศึกษารวบรวมข้อมูลความเป็นไปได้ (Feasibility) ของการลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงานในแต่ละระบบ น าไปจัดท านโยบายหรือนักลงทุนสามารถน าไปใช้พิจารณาตัดสินใจลงทุนได้อย่างเหมาะสม และจัดเตรียมข้อมูลให้สามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่

    (5.2.10) ศึกษาข้อมูลด้านศักยภาพพื้นที่ด้านการตลาด สภาพเศรษฐกิจและสังคมในการส่งเสริมการใช้งานเทคโนโลยีด้านการอนุรักษ์พลังงานที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสมเรียงตามล าดับในแต่ละระบบที่มีการใช้งานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจอย่างแพร่หลาย

    (5.2.11) วิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินการด้านการอนุรักษ์พลังงานที่เหมาะสมที่สุดทั้งทางด้านศักยภาพ ความเหมาะสมของการด าเนินการ สภาพการตลาด การยอมรับของแต่ละภาคส่วนในแต่ละระบบ พร้อมทั้งจัดท า

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2558 3 /440

    ยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนาพลังงานทดแทนที่เหมาะสมอย่างน้อย 1 ระบบ และเรียบเรียงจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่

    (5.2.12) ออกแบบและพัฒนาการน าเข้าข้อมูลการด าเนินการ ลงในเว็บไซต์ศูนย์องค์ความรู้ด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์พลังงานที่ พพ. มีอยู่ จัดท าคู่มือการใช้งานระบบฐานข้อมูล และคู่มือการดูแลระบบฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินการ ทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์

    (5.2.13) จัดฝึกอบรมการจัดท าฐานข้อมูลและการใช้งานระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และวิเคราะห์จัดท าสรุปผลการน าเสนอปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งจัดท าข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไข

    (6) ผลการด าเนินโครงการ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ : (6.1) ผลการด าเนินโครงการ

    อยู่ระหว่างด าเนินโครงการ ที่ปรึกษาฯ ส่งรายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 2 มีการด าเนินงานดังนี้ - รวบรวมข้อมูลเทคโนโลยี พลังงานทดแทนที่มีการใช้งานอยู่ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การด าเนิน

    โครงการด้านพลังงานทดแทนที่ประสบความส าเร็จตามวัตถุประสงค์ ทั้งทางด้านวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม การยอมรับของทุกภาคส่วนของสังคม

    - คัดเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุดทุกเทคโนโลยีพลังงานทดแทน น ามาเรียบเรียง ข้อมูลผลการด าเนินโครงการตั้งแต่เร่ิมต้น จนถึงการผลิตพลังงานทดแทนเข้าสู่ระบบ และจัดเตรียมข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เหมาะสมสามารถน าเข้าข้อมูลลงในฐานข้อมูลศูนย์องค์ความรู้ฯ ที่ พพ. มีอยู่ เพื่อเผยแพร่ห

    - ศึกษาความเป็นไปได้ของการลงทุนด้านพลังงานทดแทนแต่ละประเภทในแต่ละภาค และวิเคราะห์ข้อมูลการด าเนินการด้านพลังงานทดแทนที่เหมาะสมที่สุดในแต่ละภาค

    - จัดท ายุทธศาสตร์และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนที่เหมาะสม

    (6.2) ผลที่คาดว่าจะได้รับ ข้อมูลการลงทุนด้านพลังงานทดแทนและการอนุรักษ์ พลังงานส าหรับใช้ ในการเผยแพร่และ

    ประชาสัมพันธ์ กับผู้สนใจลงทุนด้านพลังงานทดแทนทั้งในและต่างประเทศ ให้มีความรู้ความเข้าใจฐานข้อมูลด้านพลังงานที่ พพ. มีอยู่

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2558 4 /440

    (1) ด าเนินการโดย : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

    (2) งบประมาณโครงการ : 6,852,500.00 บาท ประกอบดว้ย - ค่าบริหารโครงการ 248,000.00 บาท - ค่าว่าจา้งทีป่รึกษา 6,604,500.00 บาท

    (3) วัตถุประสงค์โครงการ : (3.1) เพื่อรวบรวมและศึกษาข้อมูลในภาคอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ รวม 6 ประเภท ส าหรับใช้เป็นแนวทาง

    ในการน าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการประเมินปัจจัยที่มีผลต่อการใช้พลังงานของประเทศไทย (3.2) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหวา่งปริมาณการใช้พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจกับปัจจัยตา่งๆ

    ที่เก่ียวข้องกับค่าความเข้มการใช้พลังงาน (3.3) เพื่อประเมินและศึกษาความสัมพันธ์ของการใช้พลังงานในอุปกรณ์ที่มีนัยส าคัญของภาคอุตสาหกรรมและ

    ธุรกิจการค้า และก าหนดเป็นแนวทางในการวิเคราะห์แบบมาตรฐาน (3.4) เพื่อจัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากดัชนีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานและ

    สอดคล้องกับการขับเคลื่อนตามแผนอนุรักษ์พลังงานของประเทศ

    (4) ระยะเวลาโครงการ : 12 เดือน

    (5) ความเป็นมา/วิธีการด าเนินงาน : (5.1) ความเป็นมา

    ตามที่ พพ. กระทรวงพลังงาน มีภารกิจหลักในการก ากับดูแลการด าเนินงานอนุรักษ์พลังงานของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม และสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานและอาคารนอกข่ายควบคุม ตาม พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 รวมถึงแผนอนุรักษ์พลังงานของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2573) ได้ก าหนดตัวชี้วัดคือ ค่าความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity, EI) หรือพลังงานที่ใช้ต่อหน่วยผลผลิตมวลรวม (GDP) ลงร้อยละ 25 ในปี พ.ศ. 2573 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ. 2553 โดยที่หากประเทศไทยมุ่งมั่นที่จะประหยัดพลังงานตามเจตนารมณ์ดังกล่าว จะต้องลดการใช้พลังงานลงร้อยละ 20 ในปี พ.ศ. 2573 จากความต้องการพลังงานกรณีปกติ (Business as Usual, BAU)

    การด าเนินการจัดท าและติดตามตัวชี้วัดดังกล่าวข้างต้นนี้ พพ. โดยศูนย์สารสนเทศข้อมูลพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน เป็นหน่วยงานที่จัดท าอย่างต่อเนื่อง และพบว่า ตัวชี้วัดดังกล่าวมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการใช้พลังงานในแต่ละภาคเศรษฐกิจที่หลากหลาย และแตกต่างกันไปตามภาคเศรษฐกิจต่างๆ ปัจจัยต่างๆ นี้ ล้วนส่งผลถึงการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย ซึ่งจะส่งผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมต่อค่าตัวชี้วัดคือ ค่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในแต่ละภาคเศรษฐกิจ จากเหตุผลดังกล่าว การศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อค่าดัชนีในภาคเศรษฐกิจที่ส าคัญโดยเฉพาะในส่วนภาคที่มีการใช้พลังงานอย่างเข้มข้น (Energy Intensity Sector) และด าเนินการจัดท าความสัมพันธ์ต่างๆ รูปของค่าปัจจัยทางคณิตศาสตร์และสถิติย่อมจะท าให้ทราบถึงสิ่งที่ประเทศจะต้องพิจารณาในการก าหนดเป้าหมายและมาตรการอนุรักษ์พลังงานด้านต่างๆ และสามารถเตรียมความพร้อมอันจะส่งผลให้การขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานด้านต่างๆ เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็นไปได้ตามแผนหลักที่ได้ก าหนดไว้

    ดังนั้น จึงมีความจ าเป็นที่ต้องศึกษา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องที่มีผลต่อการใช้พลังงานในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้าที่ส าคัญตามแนวทางดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อช่วยให้การด าเนินการติดตามผลค่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานเป็นไปอย่างถูกต้อง สะท้อนผลกระทบด้านอนุรักษ์พลังงานอย่างแท้จริง และจะสามารถตอบสนองต่อการวิเคราะห์และการติดตามของแผนอนุรักษ์พลังงานได้

    1.1.2 โครงการศึกษาจัดท าค่าประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (EI) ในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้า

  • แผนเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

    รายงานผลการด าเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2558 5 /440

    (5.2) วิธีการด าเนินงาน (5.2.1) ศึกษา รวบรวม ข้อมูลหรืองานการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับค่าความเข้มการใช้พลังงาน (Energy

    Intensity) ทั้งของไทยและต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว และก าลังพัฒนาที่มีลักษณะการใช้พลังงานที่เปรียบเทียบกับประเทศไทยได้ รวมอย่างน้อย 3 ประเทศ

    (5.2.2) จัดท าเกณฑ์การคัดเลือก แยกเป็นเกณฑ์ในส่วนโรงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้า และคัดเลือกประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจการค้า ที่จะด าเนินการศึกษาแยกเป็นอุตสาหกรรมรายสาขาอย่างน้อย 4 ประเภท และอาคารธุรกิจการค้ารายสาขาอย่างน้อย 2 ประเภท

    (5.2.3) ส ารวจการใช้พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจการค้ารายสาขาดังกล่าว ที่ได้คัดเลือก ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจการค้าจะต้องสามารถเป็นตัวแทนของสาขานั้นๆ ได้ โดยที่ปรึกษาจะต้องด าเนินการส ารวจในโรงงานและอาคารธุรกิจการค้าที่เข้าร่วมรวมทุกสาขารวมกันไม่น้อยกว่า 30 แห่ง หรืออยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้าง

    (5.2.4) ศึกษาข้อมูลพลังงานถึงลักษณะการใช้พลังงาน รวมถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงานของโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจดังกล่าว เพื่อให้เห็นถึงทิศทางการจัดการใช้พลังงานในแต่ละอุปกรณ์ส าคัญ และจัดท ารายงานการวิเคราะห์การใช้พลังงานรายแห่งของโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจที่ได้ด าเนินการส ารวจ

    (5.2.5) วิเคราะห์รายกลุ่มจากข้อมูลรายงานการจัดการพลังงานและการส ารวจ โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังงานในกลุ่มอุตสาหกรรมสาขาที่คัดเลือกกับการผลิตผลิตภัณฑ์ รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน

    (5.2.6) วิเคราะห์รายกลุ่ม จากข้อมูลรายงานการจัดการพลังงานและการส ารวจ โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้พลังงานในกลุ่มอาคารธุรกิจสาขาที่คัดเลือกกับพื้นที่ที่ใช้พลังงาน รวมถึงปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน

    (5.2.7) สรุปผลการวิเคราะห์ทั้งในด้านภาคโรงงานอุตสาหกรรมและภาคอาคารธุรกิจการค้าที่เข้าส ารวจ รวมถึงประมาณการผลที่ได้ให้ออกมาในระดับสาขา และขยายผลถึงการใช้พลังงานที่เกี่ยวข้องในระดับประเทศทั้งในปัจจุบันและอนาคต

    (5.2.8) วิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยการด าเนินการอนุรักษ์พลังงานในแต่ละภาคส่วน ทั้งทางด้านค่าใช้จ่าย และความเปน็ได้ของผลประหยดัที่จะเกิดขึ้นในกรณีต่างๆ จัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงานของประเทศที่มผีลจากปัจจัยตา่งๆ ที่ศึกษา และจัดสัมมนาเผยแพร่ผลการด าเนินการ

    (6) ผลการด าเนินโครงการ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ : (6.1) ผลการด าเนินโครงการ

    อยู่ระหว่างด าเนินโครงการ ที่ปรึกษาฯ ส่งรายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 1 มีการด าเนินงานดังนี้ - ศึกษา รวบรวม ข้อมูลหรืองานการศึกษาที่เก่ียวข้องกับค่าความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity)

    ทั้งของไทยและต่างประเทศที่พัฒนาแล้ว และก าลังพัฒนาที่มีลักษณะการใช้พลังงานที่เปรียบเทียบกับประเทศไทยได้ รวมอย่างน้อย 3 ประเทศ

    - จัดท าเกณฑ์การคัดเลือก แยกเป็นเกณฑ์ในส่วนโรงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจการค้า และคัดเลือกประเภทโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจการค้า ที่จะด าเนินการศึกษาแยกเป็นอุตสาหกรรมรายสาขาอย่างน้อย 4 ประเภท