77
จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 56 บทที4 ผลการประเมิน การวิเคราะหขอมูลดําเนินตามวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อทราบสภาพการณที่เปนอยู ทั้ง ทางดานปจจัยการดําเนินงาน กระบวนการดําเนินงาน และผลการดําเนินงานตามโครงการการบําบัดรักษา ผูเสพสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสงขลา ซึ่งจัดดําเนินการเมื่อวันที5 กุมภาพันธ 5 มิถุนายน 2545 ซึ่งขอมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดมาจากลักษณะกลุมตัวอยางดังนีผูจัดการโครงการ คณะทํางานโครงการ คณะผูบําบัด เยาวชนผูเขารวมโครงการ ผูปกครองของเยาวชนผูเขารวมโครงการ คณะครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ คณะผูประเมิน รวมทั้งเอกสารและแบบรายงานตางๆที่เกี่ยวของ การวิเคราะหขอมูลไดกระทําเปน 3 ขั้นตอน คือ การประเมินปจจัยการดําเนินงาน การประเมิน กระบวนการดําเนินงาน และการประเมินผลการดําเนินงาน ดังนีตอนที1 การประเมินปจจัยการดําเนินงาน เปนการศึกษาปจจัยการดําเนินโครงการในดานการจัดเตรียมความพรอมในการปฏิบัติงาน ตามโครงการ คุณสมบัติของผูบําบัด การกําหนดบุคลากรและบทบาทหนาที่ในการดําเนินงาน คุณสมบัติ ของเยาวชนผูเขารวมโครงการ คุณสมบัติของครอบครัวของเยาวชนที่เขารวมโครงการ ความเหมาะสม ของสถานที่ดําเนินการ ความเหมาะสมของหองทํากิจกรรม หองน้ําสําหรับเก็บปสสาวะ ความพรอม และความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ เนื้อหากิจกรรมที่นํามาใช ระยะเวลาดําเนินการโครงการ การประชุมวางแผนกอนการดําเนินการ การกําหนดมาตรการตางๆในการดําเนินการ โดยมีแหลงที่มาของ ขอมูลจากการสอบถามจากคณะผูบําบัด คณะทํางานโครงการ เยาวชนและครอบครัวผูเขารวมโครงการ คณะครู -อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ การสังเกตการณของผูประเมิน รวมทั้งการศึกษา เพิ่มเติมจากรายงาน เอกสารตางๆที่เกี่ยวของ เชน แฟมประวัติเยาวชนผูเขารวมโครงการ หลักสูตร การบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) คําสั่งแตงตั้งตางๆ ซึ่งไดผลการประเมิน ดังนี

บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 56

บทที่ 4

ผลการประเมิน

การวิเคราะหขอมูลดําเนินตามวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อทราบสภาพการณที่เปนอยู ทั้งทางดานปจจัยการดําเนินงาน กระบวนการดําเนินงาน และผลการดําเนินงานตามโครงการการบําบัดรักษา ผูเสพสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดสงขลา ซึ่งจัดดําเนินการเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ – 5 มิถุนายน 2545 ซึ่งขอมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไดมาจากลักษณะกลุมตัวอยางดังนี้

ผูจัดการโครงการ คณะทํางานโครงการ คณะผูบําบัด เยาวชนผูเขารวมโครงการ ผูปกครองของเยาวชนผูเขารวมโครงการ คณะครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ คณะผูประเมิน รวมทั้งเอกสารและแบบรายงานตางๆที่เกี่ยวของ

การวิเคราะหขอมูลไดกระทําเปน 3 ขั้นตอน คือ การประเมินปจจัยการดําเนินงาน การประเมินกระบวนการดําเนินงาน และการประเมินผลการดําเนินงาน ดังนี้

ตอนที่ 1 การประเมนิปจจัยการดําเนินงาน

เปนการศึกษาปจจัยการดําเนินโครงการในดานการจัดเตรียมความพรอมในการปฏิบัติงาน ตามโครงการ คุณสมบัติของผูบําบัด การกําหนดบุคลากรและบทบาทหนาที่ในการดําเนินงาน คุณสมบัติของเยาวชนผูเขารวมโครงการ คุณสมบัติของครอบครัวของเยาวชนที่เขารวมโครงการ ความเหมาะสม ของสถานที่ดําเนินการ ความเหมาะสมของหองทํากิจกรรม หองน้ําสําหรับเก็บปสสาวะ ความพรอม และความเหมาะสมของสื่อและอุปกรณ เนื้อหากิจกรรมที่นํามาใช ระยะเวลาดําเนินการโครงการ การประชุมวางแผนกอนการดําเนินการ การกําหนดมาตรการตางๆในการดําเนินการ โดยมีแหลงที่มาของขอมูลจากการสอบถามจากคณะผูบําบัด คณะทํางานโครงการ เยาวชนและครอบครัวผูเขารวมโครงการ คณะครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ การสังเกตการณของผูประเมิน รวมทั้งการศึกษา เพิ่มเติมจากรายงาน เอกสารตางๆที่เกี่ยวของ เชน แฟมประวัติเยาวชนผูเขารวมโครงการ หลักสูตร การบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) คําส่ังแตงตั้งตางๆ ซึ่งไดผลการประเมิน ดังนี้

Page 2: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 57

1.1. การกําหนดบุคลากรและบทบาทหนาที่ในการดําเนินงาน

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากเอกสารคําส่ังแตงตั้งและการกําหนดบทบาทหนาที่ ของคณะทํางาน และจากการสอบถามคณะทํางานโครงการโดยการใชแบบสอบถามเกี่ยวกับการเขารวมโครงการ ซึ่งจากการศึกษาพบวาไมมีคําส่ังแตงตั้งคณะทํางานและการกําหนดบทบาทหนาที่ของแตละบุคคลอยางเปนลายลักษณอักษร ซึ่งสอดคลองกับการตอบแบบสอบถามของคณะทํางานโครงการ ซึ่งทุกคนระบุวาเขารวมโครงการโดยไมมีคําส่ังแตงตั้งหรือการกําหนดบทบาทหนาที่ของบุคลากร อยางเปนลายลักษณอักษร แตพบวาคณะทํางานไดรับคําส่ังจากหัวหนาโครงการในการประชุมชี้แจง บอกกลาวในที่ประชุมครั้งแรกของการดําเนินโครงการ (1 กุมภาพันธ 2545) โดยกําหนดใหมีคณะทํางาน ซึ่งรับผิดชอบเปนผูบําบัดประจําโครงการ 8 คน ซึ่งประกอบดวย

หัวหนาโครงการ จํานวน 1 คน ผูบําบัดประจํากลุมเสพกลุมที่ 1 จํานวน 3 คน (รวมหัวหนาโครงการ) ผูบําบัดประจํากลุมเสพกลุมที่ 2 จํานวน 3 คน ผูบําบัดประจํากลุมเสี่ยง จํานวน 2 คน

สวนตําแหนงและบทบาทหนาที่อื่นๆไมมีการกําหนดแตงตั้งหรือการกลาวถึงในการประชุม คณะทํางานโครงการแตอยางใด เชน

ผูประสานงานโครงการ เจาหนาที่เก็บปสสาวะประจําโครงการ เจาหนาที่ตรวจปสสาวะประจําโครงการ พนักงานขับรถประจําโครงการ เจาหนาที่เวชระเบียนประจําโครงการ

สรุปวา เมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัดนั้น พบวา โครงการนี้ไมมีคําส่ังแตงตั้งคณะทํางานและไมมีการกําหนดบทบาทหนาที่ของคณะทํางานที่ครอบคลุม ชัดเจน และเปนลายลักษณอักษร จึงสรุปไดวาผลการประเมินไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดที่กําหนด

1.2. คุณสมบัติของผูบําบัด

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากแบบสอบถามประสบการณของผูบําบัดในโครงการ แบบวัดความรูของผูบําบัดเกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) การใหคําปรึกษา (Counseling) การบําบัดรักษาผูติดยาเสพติดรูปแบบอื่นๆ และ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับทัศนคติของผูบําบัดตอผูเสพยาเสพติด ซึ่งมีผลการประเมิน ดังนี้

ผูบําบัดที่ไดรับการคัดเลือกเขาเปนคณะผูบําบัดประจําโครงการ มีคุณสมบัติดังรายละเอียด ดังตารางที่ 1 ดังนี้

Page 3: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 58

ตารางที่ 1 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับประสบการณฝกอบรมและการปฏบิตัิงานของผูบําบัด

ขอมูล

จํานวน

รอยละ

การเขาฝกอบรมหลักสูตรการบําบัดรักษารปูแบบจิตสังคมบาํบัด (Matrix Program) - เคยเขาฝกอบรม - ไมเคยเขารับการฝกอบรม การเขาฝกอบรมหลักสูตรการบําบัดรักษาผูตดิยาเสพติดรูปแบบอื่นๆ - เคยเขาฝกอบรม - ไมเคยเขารับการฝกอบรม แตศึกษาจากเอกสารและตํารา การเขาฝกอบรมหลักสูตรการใหคําปรึกษา - เคยเขาฝกอบรม - ไมเคยเขารับการฝกอบรม แตศึกษาจากเอกสารและตํารา การปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษาผูติดสารเสพติดอยางนอย 1 ป - เคยมีประสบการณการปฏิบัติงาน - ไมเคยมีประสบการณการปฏิบัติงาน การปฏิบัติงานดานการใหคําปรึกษาอยางนอย 1 ป - เคยมีประสบการณการปฏิบัติงาน - ไมเคยมีประสบการณการปฏิบัติงาน

8 -

6 2

2 6

8 -

1 7

100.00

-

75.00 25.00

25.00 75.00

100.00

-

12.50 87.50

จากตารางที่ 1 แสดงวาผูบําบัดทุกคน (รอยละ 100) เคยมีประสบการณการเขาฝกอบรมหลักสูตร การบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) สวนประสบการณ การเขาฝกอบรมหลักสูตรการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบอื่นๆนั้น พบวามีผูบําบัดเพียง รอยละ 75 เคยมีประสบการณการเขาฝกอบรมหลักสูตรดังกลาว และพบวามีผูบําบัดถึงรอยละ 75 เชนกัน ที่ไมเคยมีประสบการณการเขารับการฝกอบรมหลักสูตรการใหคําปรึกษา แตศึกษาจากเอกสารและตํารา

ในเรื่องประสบการณการปฏิบัติงาน พบวา ผูบําบัดทุกคน (รอยละ 100) เคยมีประสบการณ การปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดอยางนอย 1 ป และพบวามีผูบําบัดถึงรอยละ 87.50 ไมเคยมีประสบการณการปฏิบัติงานดานการใหคําปรึกษาอยางนอย 1 ป

โดยเมื่อทดสอบความรูในดานการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) ดานการใหคําปรึกษา (Counseling) และดานการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติด รูปแบบอื่นๆ พบวามีรายละเอียดดังตารางที่ 2 ดังนี้

Page 4: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 59

ตารางที่ 2 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระดับความรูดานตางๆของผูบําบัด

รายละเอียด

คะแนน

จํานวน (คน)

รอยละ

ความรูเกี่ยวกับการบําบัดรักษาฯรูปแบบจิตสังคมบําบัด - ควรปรบัปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40 %) - ควรปรบัปรุง (40 - 49%) - ปานกลาง (50 - 69%) - ดี (70 - 79%) - ดีมาก (80% ขึ้นไป)

X= 17.25 (คิดเปน 69 %) ความรูเกี่ยวกับการใหคําปรึกษา - ควรปรบัปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40 %) - ควรปรบัปรุง (40 - 49%) - ปานกลาง (50 - 69%) - ดี (70 - 79%) - ดีมาก (80% ขึ้นไป)

X= 6.00 (คิดเปน 75 %) ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาเสพติด - ควรปรบัปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40 %) - ควรปรบัปรุง (40 - 49%) - ปานกลาง (50 - 69%) - ดี (70 - 79%) - ดีมาก (80% ขึ้นไป)

X= 3.875 (คิดเปน 55.36 %) ความรูรวมทุกดาน - ควรปรบัปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40 %) - ควรปรบัปรุง (40 - 49%) - ปานกลาง (50 - 69%) - ดี (70 - 79%) - ดีมาก (80% ขึ้นไป)

X= 27.125 (คดิเปน 67.81 %)

ต่ํากวา 10 10 - 12 13 - 17 18 - 20 21 - 25

0 - 3 4 5 6

7 – 8

0 – 2 3 4 5

6 – 7

ต่ํากวา 16 16 - 19 20 - 27 28 - 32 33 - 40

- - 4 3 1 - 1 1 3 3

1 2 2 3 -

- - 3 5 -

- -

50.00 37.50 12.50

-

12.50 12.50 37.50 37.50

12.50 25.00 25.00 37.50

- - -

37.50 62.50

-

Page 5: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 60

จากตารางที่ 2 แสดงวาผูบําบัดสวนใหญ (รอยละ 50) มีคะแนนความรูเกี่ยวกับบําบัดรักษา ผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) อยูในชวง 50-69% ซึ่งแสดงวามีความรู อยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเพียง 17.25 คะแนน หรือคิดเปน 69%

สําหรับความรูเกี่ยวกับการใหคําปรึกษา (Counseling) พบวา ผูบําบัดสวนใหญมีคะแนนความรูเกี่ยวกับการใหคําปรึกษาอยูในชวง 70-79% และ 80% เทาๆกัน (กลุมละรอยละ 37.50) ซึ่งแสดงวาผูบําบัด มีความรูการใหคําปรึกษาอยูในระดับดีและดีมาก โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 6 หรือคิดเปน 75% รองลงมา พบวา มีผูบําบัดมีความรูการใหคําปรึกษาอยูในระดับควรปรับปรุงและระดับปานกลางกลุมละรอยละ 12.50 เทากัน

ความรูพื้นฐานในเรื่องการบําบัดรักษาติดยาและสารเสพติด พบวาผูบําบัดสวนใหญ (รอยละ 37.50) มีคะแนนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการบําบัดรักษาฯอยูในชวง 70-79% ซึ่งแสดงวาผูบําบัดมีความรูอยูในระดับดี รองลงมาพบวารอยละ 25 ของผูบําบัดมีคะแนนความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการบําบัดรักษาฯ อยูในชวง 50-69% และ 40-49% เทากัน ซึ่งแสดงวามีความรูอยูในระดับปานกลางและควรปรับปรุง โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 3.875 หรือคิดเปน 55.36%

สวนคะแนนความรูรวมทุกดานของผูบําบัด พบวา ผูบําบัดสวนใหญ (รอยละ 62.50) มีคะแนนความรูรวมทุกดานอยูในระดับดีและมีผูบําบัดรอยละ 37.50 มีคะแนนความรูรวมทุกดานอยูในระดับ ปานกลาง

แตเมื่อพิจารณาตามเกณฑที่กําหนดตามตัวชีว้ัด พบวามีรายละเอียดดังตอไปน้ี

ตารางที่ 3 แสดงจํานวนผูบําบัดที่มีคะแนนความรูผานเกณฑที่กําหนด จําแนกตามจํานวนรายวิชาที่ผานเกณฑ

จํานวนวิชาทีผ่านเกณฑ

จํานวน (คน)

รอยละ

3 วิชา 2 วิชา 1 วิชา

1 5 2

12.50 62.50 25.00

จากตารางพบวา มีผูบําบัดเพียง 1 คน (คิดเปนรอยละ 12.50) เทานั้น ที่มีคะแนนผานเกณฑ ตัวชี้วัดกําหนดไว

Page 6: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 61

สําหรับผลการประเมินทัศนคติตอผูติดยาและสารเสพติด มีรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 4 แสดงทัศนคติของผูบําบัดตอผูตดิยาและสารเสพติด จําแนกรายขอ

ขอความ

เห็นดวยมากสุด

เห็นดวยมาก

ปานกลาง

เห็นดวยนอย

เห็นดวยนอยที่สุด

(X)

ผลการประเมิน

1. การติดยาเสพติดเปนเรื่องของคนสิ้นคิดหรือคนโง

- -

- -

- -

4 50.00%

4 50.00%

4.50 เหมาะสม อยางยิ่ง

2. ผูติดยาเสพติดควรจะไดรับการดูแลใหสามารถเลิก ยาเสพติดได

1 12.50%

2 25.00%

- -

4 50.00%

1 12.50%

3.25 ปานกลาง

3. คนติดยาเสพติดควรจะถูกนําตัวไปกักกันไวในสถานที่หางไกลจากชมุชน เพือ่ปองกันไมใหสังคมเดือดรอน

- -

- -

- -

6 75.00%

2 25.00%

4.25 เหมาะสม อยางยิ่ง

4. ฉันไมอยากจะพูดคุยหรือเกี่ยวของใดๆกับคนติดยา เสพติด

- -

- -

- -

4 50.00%

4 50.00%

4.50 เหมาะสม อยางยิ่ง

5. คนที่ติดยาเสพติดเปนอาชญากร

- -

- -

- -

8 100.0%

- -

4.00 เหมาะสม

6. คนติดยาเสพติดเปนคนที่นากลัว ควรจะอยูหางๆไวจะเปนการดี

- -

1 12.50%

- -

7 87.50%

- -

3.75 เหมาะสม

7. การบาํบัดรกัษาผูติดยาเสพติดเปนงานที่นาเบื่อหนาย เพราะคนติดยาเสพติดนั้นนาเบื่อ

- -

- -

- -

5 62.50%

3 37.50%

4.38 เหมาะสม อยางยิ่ง

8. ฉันยินดีที่จะไดทํางานชวยเหลือคนติดยาเสพติด

2 25.00%

5 62.50%

- -

1 12.50%

- -

4.00 เหมาะสม

9. การบาํบัดรกัษาผูติดยา เสพติดเปนงานที่ไมเกิดประโยชนอันใด เพราะคนติดยาเสพติดไมมีทางเลิกได

- -

- -

- -

4 50.00%

4 50.00%

4.50 เหมาะสม อยางยิ่ง

Page 7: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 62

ตารางที่ 4 แสดงทัศนคติของผูบําบัดตอผูตดิยาและสารเสพติดจําแนกรายขอ (ตอ)

ขอความ

เห็นดวยมากที่สุด

เห็นดวยมาก

ปานกลาง

เห็นดวยนอย

เห็นดวยนอยที่สุด

(X)

ผลการประเมิน

10. ฉันเต็มใจทีจ่ะใหปรึกษาแกผูปวยยาเสพติดที่ตองการความชวยเหลือ

3 37.50%

4 50.00%

- -

1 12.50%

- -

4.13 เหมาะสม

11. คนติดยาเสพติดเปนคนที่หาเรื่องใสตัว ดังนั้นเขาจึงตองรับผิดชอบปญหาของตนเองตามลําพัง

- -

- -

- -

7 87.50%

1 12.50%

4.13 เหมาะสม

12. คนติดยาคือคนที่หลงผิดไปชวงหนึ่ง ดังนั้นเขาจึงมีโอกาสที่จะกลบัตัวกลับใจได

2 25.00%

4 50.00%

- -

2 25.00%

- -

3.75 เหมาะสม

13. ฉันไมเคยรังเกียจคนติดยาเสพติด

1 12.50%

7 87.50%

- -

- -

- -

4.13 เหมาะสม

14. คนที่อยูระหวางการบําบัดรักษายาเสพติด อาจ จะพลาดกลับไปใชซ้ําบาง แตไมไดหมายความวาเขาจะลมเหลวในการบําบัด

3 37.50%

5 62.50%

- -

- -

- -

4.38 เหมาะสม อยางยิ่ง

15. คนติดยาเสพติดเปนคนที่นาสงสาร เห็นใจ

2 25.00%

4 50.00%

1 12.50%

1 12.50%

- -

3.88 เหมาะสม

16. ถาฉันเปนนายจาง ฉันยินดีรับคนที่เคยติดยาเสพ ติดเขาทํางาน

1 12.50%

6 75.00%

1 12.50%

- -

- -

4.00 เหมาะสม

17. คนติดยาเสพติดเปนผูปวยจึงควรไดรับการบําบัด รักษา

3 37.50%

5 62.50%

- -

- -

- -

4.38 เหมาะสม อยางยิ่ง

รวมทุกประเด็น 4.11 เหมาะสม

หมายเหตุ 1.00 - 1.80 หมายถึง มีทัศนคติไมเหมาะสมอยางยิ่ง 1.81 - 2.60 หมายถึง มีทัศนคติไมคอยเหมาะสม 2.61 - 3.40 หมายถึง มีทัศนคติปานกลาง 3.41- 4.20 หมายถึง มีทัศนคติเหมาะสม 4.21- 5.00 หมายถึง มีทัศนคติเหมาะสมอยางยิ่ง

Page 8: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 63

ตารางที่ 5 แสดงระดับทัศนคติของผูบําบัดตอผูติดยาและสารเสพติด

ระดับทัศนคต ิ

X

จํานวน (คน)

รอยละ

เหมาะสมอยางยิ่ง เหมาะสม ปานกลาง ไมคอยเหมาะสม ไมเหมาะสมอยางยิ่ง

4.21 – 5.00 3.41 - 4.20 2.61 – 3.40 1.81 – 2.60 1.00 – 1.80

2 6 0 0 0

25.00 75.00 0.00 0.00 0.00

คาเฉลี่ยรวมของทัศนคติ = 4.11 (เหมาะสม)

จากตารางที่ 5 พบวาผูบําบัดสวนใหญ (รอยละ 75) มีระดับทัศนคติตอผูติดยาและสารเสพติด ในระดับที่เหมาะสม และรอยละ 25 มีระดับทัศนคติตอผูติดยาและสารเสพติดในระดับท่ีเหมาะสมอยางยิ่ง

จากผลการประเมินทั้งหมด เมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัด พบวา ผูบําบัดทุกคนมีประสบการณในการเขาฝกอบรมหลักสูตรการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) และมีประสบการณในการปฏิบัติงานดานการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดอยางนอย 1 ป ซึ่งเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด สวนประสบการณการปฏิบัติงานดานการใหคําปรึกษา (Counseling) อยางนอย 1 ป นั้นพบวา มีผูบําบัดถึงรอยละ 87.50 ไมเคยมีประสบการณดังกลาว จึงทําใหผลการประเมินไมเปนไปตามเกณฑ ตัวชี้วัดกําหนด

ในสวนของความรูของผูบําบัด พบวามีผูบําบัดถึงรอยละ 50 มีความรูเกี่ยวกับเร่ืองการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) ไมเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ต่ํากวา 70%) มีผูบําบัดรอยละ 25 มีความรูเกี่ยวกับการใหคําปรึกษา (Counseling) ไมเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ต่ํากวา 70%) และมี ผูบําบัดถึงรอยละ 37.50 มีความรูเกี่ยวกับการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบอื่นๆไมเปนไปตามเกณฑที่กําหนด (ต่ํากวา 50%) และเมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัดในเรื่องประเด็นความรูของผูบําบัด พบวามีผูบําบัดเพียงรอยละ 12.50 เทานั้น ที่มีความรูตามเกณฑที่ตัวชี้วัดกําหนด ซึ่งสรุปไดวาผลการประเมินไมเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สวนในเรื่องทัศนคติของผูบําบัดตอผูติดยาและสารเสพติด พบวา ผูบําบัดรอยละ 25 มีทัศนคติ ที่เหมาะสมอยางยิ่ง และผูบําบัดรอยละ 75 มีทัศนคติที่เหมาะสม ซึ่งสรุปไดวาผลการประเมินเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

จากทั้งหมดที่กลาวมา สรุปไดวาผลการประเมินประเด็นคุณสมบัติของผูบําบัดนั้นเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประเด็นเทานั้น

Page 9: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 64

1.3. คุณสมบัติของเยาวชนผูเขารวมโครงการ

ประเด็นประเมินนี้ ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดขอมลูเกี่ยวกับประวตัิของนักเรียนจาก โรงเรียน ซึ่งผลการศึกษา พบวามีรายละเอียด ดังนี้

ตารางที่ 6 แสดงรายละเดียดขอมูลของนักเรียนที่ไดรับการคัดเลือกใหเขารวมโครงการ

ขอมูล

จํานวน

รอยละ

เพศ - ชาย - หญิง ระดับการศึกษา - มัธยมศึกษาตอนตน - มัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทของกลุม - กลุมเสพ - กลุมเสี่ยง ประวัติการใชยา - ยาบา - ยาแกไอ - บุหรี่

23 5

12 16

27 1

25 2 1

82.14 17.86

42.86 57.14

96.43 3.57

89.29 7.14 3.57

จากตาราง พบวา เยาวชนที่ไดรับเลือกเขารวมโครงการสวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 82.14 สวนใหญกําลังศึกษาอยูในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คิดเปนรอยละ 57.14 เมื่อจําแนก ประเภทกลุม พบวาเยาวชนเขารวมโครงการรอยละ 3.57 เปนกลุมเส่ียง และรอยละ 96.43 เปนกลุมเสพ โดยเยาวชนสวนใหญมีประวัติใชยาบา รอยละ 89.29 รองลงมาเปนยาแกไอ รอยละ 7.14 ซึ่งสรุปไดวา ผลการประเมินเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

1.4. คุณสมบัติของครอบครัวของเยาวชนที่เขารวมโครงการ

ประเด็นประเมินนี้ ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดขอมูลจากโรงเรียน สําเนาจดหมายแจงเวียนผูปกครองของทางโรงเรียน ซึ่งพบวา มีผูปกครองเขารวมโครงการทั้งหมด 29 ครอบครัว ซึ่งเทากับจํานวนเยาวชนที่เขารวมโครงการ โดยพบวาผูปกครองที่เขารวมโครงการนั้นมีความสัมพันธกับเยาวชน คือ เปนพอ-แม คิดเปนรอยละ 92.86 (26 คน) มีความสัมพันธเปนพี่และนา จํานวนเทากัน นั่นคือ คิดเปนรอยละ 3.57 (อยางละ 1 คน) ซึ่งจากผลการประเมินนี้สรุปไดเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 10: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 65

1.5. ความเหมาะสมของสถานที่ดําเนินการ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามจากหัวหนาโครงการ คณะครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ และจากการสังเกตจากสถานที่จริงของผูประเมิน พบวา ในการดําเนินโครงการ ไดเลือกดําเนินการภายในโรงเรียนที่เยาวชนในโครงการศึกษาอยู ซึ่งสถานที่มีลักษณะเปนเอกเทศ ตั้งอยูใกลกับสถานที่ราชการสําคัญๆหลายแหง เชน ที่วาการอําเภอ ศาลากลางจังหวัด โรงเรียนมัธยมประจําจังหวัดโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สํานักงานที่ดินจังหวัด แขวงการทางจังหวัด ฯลฯ และยังตั้งอยูใกลแหลงชุมชนที่มีการคมนาคมสะดวก เนื่องจากตั้งอยูบนถนนสายหลัก มีรถประจําทางบริการตลอดเวลา แตการจราจรไมคับคั่งนัก จึงทําใหไมมีเสียงรบกวนจากภายนอก นอกจากนี้ยังมี ยามรักษาการณและอาจารยเวรประจําวันคอยดูแลการเขา-ออกในบริเวณโรงเรียน รวมทั้งรักษาความปลอดภัยอื่นๆตลอดเวลา และดวยสถานที่ที่เลือกเปนโรงเรียน ซึ่งมีหองเรียนหลายหองที่วาง จึงทําใหมีหองเหลือเพียงพอที่จะเลือกใชเปนหองทํากิจกรรม ซึ่งจากผลการประเมินนี้จึงสรุปไดวาเปนไปตามเกณฑ ตัวชี้วัดกําหนด

1.6. ความเหมาะสมของหองทํากิจกรรม

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามจากหัวหนาโครงการ คณะครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ และจากการสังเกตจากสถานที่จริงของผูประเมิน พบวา ไมมีการ ตกลงวาจะเลือกใชหองใดเปนหองทํากิจกรรมโดยเฉพาะ ซึ่งทําใหไมสามารถระบุไดวาผลการประเมินเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดหรือไม เนื่องจากไมมีการเตรียมการ

1.7. ความเหมาะสมของหองน้ําสําหรับเก็บปสสาวะ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามจากหัวหนาโครงการ คณะครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ และจากการสังเกตจากสถานที่จริงของผูประเมิน พบวา ไมมีการกําหนดหรือตกลงวาจะเลือกหองน้ําบริเวณใดของโรงเรียนเปนหองเฉพาะสําหรับเก็บปสสาวะเยาวชน ในโครงการ ซึ่งทําใหไมสามารถระบุไดวาผลการประเมินเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดหรือไม เนื่องจากไมมีการเตรียมการ

1.8. ความพรอมและความเหมาะสมของเอกสาร สื่อ วัสดุ อุปกรณ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากแบบตรวจสอบรายการกอนเริ่มโครงการ พบวา มีรายละเอียด ดังนี้

Page 11: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 66

ตารางที่ 7 แสดงจํานวน ความพอเพียง ความเหมาะสม และความพรอม ของเอกสาร ส่ือ วัสดุ อุปกรณ ที่ใชในกิจกรรมโครงการ

รายการ

จํานวน ความ

พอเพียง ความ

เหมาะสม ความพรอม

- คูมอืผูรับการบําบัด - คูมอืครอบครวัศึกษา - คูมอืผูใหการบําบัด - วิดีโอเรื่องรางกายและสุรา - วิดีโอเรื่องรักเกินรอย - วิดีโอเรื่องตายทั้งเปน - ภาพพลิกเรื่องตัวกระตุนและการอยากยา - ภาพพลิกเรื่องเสนทางการเลิกยา - ภาพพลิกเรื่องปฏิกิริยาครอบครัว - ภาพพลิกเรื่องบทบาทของครอบครัว - แบบฟอรมการประเมินผูปวยตามการบําบัดรักษา ผูปวยจิตสังคมบําบัด 7 แบบฟอรม - แฟมประวัติผูปวย - ใบงานปฏิทินกิจกรรม - ใบงานตารางกิจกรรม - สติกเกอร (ดาว) - ขวดเก็บปสสาวะพรอมฉลากปดขวด - ทะเบียนผูปวยในโครงการ - ตูเย็นสําหรับเก็บปสสาวะ - โทรทัศน - เครื่องเลนวิดีโอ - เอกสารการเซน็ซื่อการเขารวมกิจกรรมประจําวัน - เอกสารกําหนดมาตรการปองกันการหลบหนี และไมเขารวมกิจกรรม - เอกสารกําหนดเกณฑการจบโปรแกรม - เอกสารกําหนดเกณฑการจําหนายนักเรียนออก จากโครงการ - ตารางกําหนดรายละเอียดกิจกรรมโครงการ - รถตูบริการในโครงการ

18 เลม 18 เลม 8 เลม 1 มวน 1 มวน 1 มวน 1 ชุด 1 ชุด 1 ชุด 1 ชุด

18 ชุด

18 แฟม 100 แผน 600 แผน 1500 ดวง 200 ขวด

1 เลม - 1 1 - - - - - -

/ / / / / / / / / / /

X / / X X / X / / X X

X X

X X

/ / / / / / / / / / / / / / / / / - / / - - - - - -

/ / / / / / / / / / / / / / / / / - X X - - - - - -

Page 12: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 67

จากตาราง และผลการประเมินพบวา ส่ือ วัสดุ อุปกรณที่มี มีความเหมาะสมสอดคลองกับกิจกรรม แตจากการตรวจสอบความพรอม พบวา เอกสาร ส่ือ วัสดุ อุปกรณบางรายการอยูในสภาพไมพรอมใชงาน เชน วีดิทัศน เร่ืองรักเกินรอย ซึ่งเปนเชื้อรา โทรทัศน นอกจากนี้พบวา ส่ือ วัสดุ อุปกรณ บางรายการมีจํานวนไมเพียงพอ รวมทั้งไมมีการจัดเตรียมเอกสารบางรายการที่จําเปนตอการใชในกิจกรรม เชน เอกสารการเซ็นชื่อเขารวมกิจกรรมประจําวัน เอกสารกําหนดมาตรการปองกันการหลบหนีและไมเขารวมกิจกรรม เอกสารขอกําหนดเกณฑการจบโปรแกรม เอกสารกําหนดเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการ ตารางกําหนดรายละเอียดกิจกรรมโครงการ การกําหนดใหมีรถตูบริการประจําโครงการ ซึ่งจากผลการประเมินทั้งหมดที่กลาวมานี้ สรุปไดวาเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประการเทานั้น

1.9. เนื้อหากิจกรรมที่นาํมาใช

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดโครงการ หลักสูตรการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด พบวา โครงการนี้ไมไดกําหนดหรือเตรียมตารางกําหนดรายละเอียดกิจกรรมไว แตในโครงการไดกําหนดเนื้อหากิจกรรมไวพอสังเขปวาใหเปนไปตามการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบ จิตสังคมบําบัด (Matrix Program) กําหนด โดยแบงกิจกรรมการบําบัดรักษา คือ

- การใหคําปรึกษารายบุคคล (Individual / Conjoint Session) จํานวน 10 ประเด็น - กลุมฝกทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (Early Recovery Skills Group) จํานวน 8 ประเด็น - กลุมฝกทักษะการปองกันการกลับไปเสพยาซ้ํา (Relapse Prevention Skills Group) จํานวน 32 ประเด็น - กลุมครอบครัวศึกษา (Family Education group) จํานวน 8 ประเด็น - กลุมสนับสนุนทางสังคม (Social Support)

ซึ่งจากผลการประเมินที่กลาวมา พบวา รายละเอียดโครงการกําหนดใหเนื้อหากิจกรรมเปนไปตามการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) ซึ่งรายละเอียดกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษา (Family Education Group) ตามการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) กําหนดใหมีรายละเอียดกิจกรรม 10 ประเด็น ตามประเด็นการเรียนรูในคูมือ แตสําหรับโครงการนี้กําหนดเพียง 8 ประเด็นซึ่งไมระบุวาประกอบดวยรายละเอียดหัวขอการเรียนรูใดบาง เพราะฉะนั้นจึงสรุปไดวาผลการประเมินนี้เปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประเด็นเทานั้น

1.10. ระยะเวลาการดําเนินการ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดโครงการและรายละเอียดหลักสูตรฯ พบวา โครงการนี้มีการกําหนดระยะเวลาดําเนินการสอดคลองกับรูปแบบการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด แตไมไดกําหนดหรือเตรียมตารางกําหนดรายละเอียดกิจกรรมไวชัดเจน เนื่องจากกําหนดระยะเวลาดําเนินการโครงการในชวงเดือนภุมภาพันธ - มิถุนายน 2545 ซึ่งนับเปนเวลา 4 เดือน แตตอนทายของ

Page 13: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 68

โครงการผูรับผิดชอบโครงการไดเพิ่มเติมวาจะติดตามผลโครงการโดยการใชกลุมสนับสนุนทางสังคม (Social Support) อีกเดือนละ 1 ครั้ง นับจากสิ้นสุดโครงการตอไปจนครบเวลา 1 ป

นอกจากนี้จากการศึกษาจากเอกสารอื่นเพิ่มเติม เชน จดหมายเรียนเชิญผูปกครองของเยาวชน ใหมาเขารวมโครงการจากครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ พบวาทางโรงเรียนแจงให เยาวชนมาเขารวมโครงการเปนระยะเวลา 4 เดือน โดยเยาวชนจะตองเขารวมกลุมทุกวันอังคาร เวลา 13.00-16.00 น. และทุกวันพฤหัสบดี เวลา 12.30-16.00 น. ซึ่งกลุมจะเริ่มครั้งแรกในวันที่ 5 กุมภาพันธ 2545 สวนผูปกครอง กําหนดใหมารวมกิจกรรมเปนระยะเวลา 2 เดือน โดยจะเขารวมกลุมทุกวันพฤหัสบดี เวลา 12.30-15.30 น. ซึ่งกลุมจะเริ่มครั้งแรกในวันที่ 14 กุมภาพันธ 2545

จากรายละเอียดดังที่กลาวมา จะเห็นไดวา หัวหนาโครงการ คณะทํางาน และครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการไมชัดเจนในการปฏิบัติงาน จึงสรุปไดวา ผลการประเมินประเด็นระยะเวลาการดําเนินการเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประเด็นเทานั้น

1.11. การประชุมวางแผนกอนการดําเนินงาน

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากวาระการประชุม รายงานการประชุมการวางแผนกอนการดําเนินการ และจากการเขารวมสังเกตการณการประชุมของผูประเมิน พบวา สําหรับการดําเนินโครงการนี้ ไมเคยมีการบันทึกรายงานการประชุมอยางเปนลายลักษณอักษร แตจากการเขารวมสังเกตการณการประชุมของผูประเมินตั้งแตเร่ิมตนแนวคิดการดําเนินโครงการพบวา มีรายละเอียดดังตารางที่ 8

ตารางที่ 8 แสดงผลการประเมินตามเกณฑที่กําหนดของการประชุมวางแผนกอนการดําเนินการ

ผลการประเมนิ

รายการ ผาน ไมผาน จํานวนผูเขารวมประชุม

เนื้อหาการประชุมครอบคลุมตามประเด็น - วัน เวลา ในการดําเนินการ - วัตถุประสงคการดําเนินการ - แผนการดําเนินกิจกรรม - บทบาทหนาที่ของแตละฝาย - การจัดเตรียมสถานที่ หองกิจกรรม ส่ือ อุปกรณ - กฎ ขอบังคับ จําเปนในโครงการ

/ / /

/ (62.5%)

/ / /

จากตารางจะเห็นไดวาการมีการประชุมวางแผนกอนการดําเนินการของคณะทํางานมีเพียง 1 ครั้ง เทานั้น โดยมีผูเขารวมต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว (62.5%) และประเด็นเนื้อหาการประชุมไมครอบคลุมตาม ประเด็นที่ตัวชี้วัดไดกําหนดไวทุกประเด็น ดังนั้นจึงสรุปไดวา ประเด็นการประชุมวางแผนกอนการดําเนินการนี้ ไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

Page 14: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 69

1.12. การกําหนดเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดโครงการ รายงานการประชุม เอกสาร หลักเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการ และจากการสอบถามคณะผูบําบัดเปนรายกลุม โดยใชแบบสอบถาม พบวา ไมมีการกําหนดเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการเปนเอกสาร หรือลายลักษณอักษร รวมท้ังไมมีการระบุหรือกลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองดังกลาวนี้ในรายละเอียด โครงการหรือในการประชุมใดๆ

สวนจากการสอบถามคณะผูบําบัดโดยใชแบบสอบถาม พบวา คณะผูบําบัดแตละกลุมมีความเห็นเกี่ยวกับการเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการที่แตกตางกัน จึงสรุปไดวาโครงการนี้ไมมีการกําหนดเกณฑการจําหนายนักเรียนออกจากโครงการที่ชัดเจน ซึ่งผลการประเมินสรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

1.13. การกําหนดมาตรการเพื่อปองกันการหลบหนีและการไมเขารวมกิจกรรม

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดโครงการ รายงานการประชุม เอกสาร มาตรการเพื่อปองกันการหลบหนีและไมเขารวมกิจกรรม พบวาไมมีการเตรียมเอกสารการเซ็นชื่อในแตละครั้ง และไมมีการกําหนดมาตรการเพื่อปองกันการหลบหนีและการไมเขารวมกิจกรรมเปนเอกสาร หรือลายลักษณอักษร รวมท้ังไมมีการระบุหรือกลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองดังกลาวนี้ในรายละเอียดโครงการหรือการประชุมใดๆ ซึ่งผลการประเมินสรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

1.14. การกําหนดเกณฑการจบโปรแกรมการบําบัดรักษา

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายละเอียดโครงการ รายงานการประชุม เอกสาร การกําหนดเกณฑการจบโปรแกรมการบําบัดรักษา และจากการสอบถามคณะผูบําบัดเปนรายกลุมโดยใชแบบสอบถาม พบวา ไมมีการกําหนดเกณฑการจบโปรแกรมการบําบัดรักษาเปนเอกสารหรือลายลักษณอักษร รวมทั้งไมมีการระบุหรือกลาวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับเร่ืองดังกลาวนี้ในรายละเอียดโครงการหรือการประชุมใดๆ

จากการสอบถามคณะผูบําบัดโดยใชแบบสอบถาม พบวา คณะผูบําบัดแตละกลุมมีความเห็นเกี่ยวกับการเกณฑการจบโปรแกรมการบําบัดรักษาที่แตกตางกัน จึงสรุปไดวาโครงการนี้ไมมีการกําหนดเกณฑการจบโปรแกรมการบําบัดรักษาที่ชัดเจน ซึ่งผลการประเมินสรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตอนที่ 2 การประเมนิกระบวนการดําเนินงาน

การประเมินกระบวนการดําเนินงาน เปนการศึกษาถึงกระบวนการดําเนินงานในประเด็นความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด การมีสวนรวมของผูเขารวมโครงการ (เยาวชนและผูปกครอง) การดําเนินกิจกรรมตามหลักสูตรการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบ จิตสังคมบําบัด (Matrix Program) และหลักสูตรของโครงการ การตรวจปสสาวะ และการแกไขปญหาอุปสรรคการดําเนินโครงการ โดยผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามความคิดเห็นของผูบําบัด เยาวชน

Page 15: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 70

ผูปกครองผูเขารวมโครงการ ผูประเมิน โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็นในประเด็นตางๆ นอกจากนี้ยังไดศึกษาเพิ่มเติมจากรายละเอียดหลักสูตรการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) ทั้งในรายละเอียดคูมือผูบําบัดและคูมือผูรับการบําบัด รวมทั้งรายละเอียดโครงการและรายงานเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน รายงานการประชุม ตารางกิจกรรมประจําวัน สมุดลงทะเบียน รายงานการประชุม เอกสารขอตกลงกอนเขารับบริการ ฯลฯ ซึ่งไดผลการประเมิน ดังนี้

2.1. ความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามความคิดเห็นของเยาวชน ผูปกครองที่เขารวมโครงการและยังไมถูกจําหนายออกจากโครงการ ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2545 (ซึ่งเปนเดือนสุดทายของโครงการ) รวมทั้งสอบถามความคิดเห็นของผูประเมินที่สังเกตการณการดําเนินโครงการตลอดระยะเวลาดําเนินโครงการ โดยใชแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด ซึ่งมีผลการประเมิน ดังนี้

ตารางที่ 9 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด จําแนกตามความคิดเห็นของเยาวชน

เยาวชน (N = 10)

ประเดน็ X SD แปลผล 1. การแสดงความรูสึกเขาอกเขาใจ เอาใจใส 4.20 .79 มาก 2. ความกระตือรือรนในการชวยเหลือและการแกปญหา 4.60 .52 มาก 3. การตรงตอเวลานัดหมาย 4.20 .92 มาก 4. ความพรอมในการดําเนินกิจกรรมแตละครั้ง 4.50 .71 มาก 5. บุคลิกภาพที่เหมาะสม 4.40 .84 มาก 6. ความรูเกี่ยวกับสารเสพติดและการบําบัด 4.40 .84 มาก 7. ความสามารถในการถายทอดเนื้อหาการเรียนรูไดชัดเจน 4.30 .67 มาก 8. ความชัดเจนในการอธิบายแบบแผนการรักษา 4.40 .52 มาก 9. การเปดโอกาสใหซักถาม 4.80 .42 มาก 10. การเปดโอกาสและกระตุนใหแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง 4.50 .71 มาก 11. ความสามารถในการตอบขอซักถามไดชัดเจน 4.30 .67 มาก 12. ความสามารถในการใชส่ืออุปกรณไดเหมาะสม 3.90 .88 คอนขางมาก 13. ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม 3.60 .84 คอนขางมาก รวมทุกประเด็น 4.32 .47 มาก

หมายเหต ุ 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก, คอนขางดี 4.20-5.00 หมายถึง มาก, ด ี

Page 16: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 71

จากตาราง แสดงวาเยาวชนที่เขารวมโครงการมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัดโดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับดี (X = 4.32) โดยมีความคิดเห็นวาผูบําบัดทําไดดีเกือบทุกประเด็น (X = 4.20 – X = 4.8) ยกเวนเพียง 2 ประเด็นที่เยาวชนมีความคิดเห็นวา ผูบําบัดทําไดในระดับคอนขางดี คือ ประเด็นที่ (11) “ความสามารถในการตอบขอซักถามไดชัดเจน” (X = 3.90) และประเด็นที่ (13) “ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม” (X = 3.60) ซึ่งถือวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตารางที่ 10 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด จําแนกตามความคิดเห็นของผูปกครอง

ผูปกครอง (N = 10)

ประเดน็ X SD แปลผล 1. การแสดงความรูสึกเขาอกเขาใจ เอาใจใส 4.10 .88 คอนขางมาก 2. ความกระตือรือรนในการชวยเหลือและการแกปญหา 4.30 .95 มาก 3. การตรงตอเวลานัดหมาย 3.90 .74 คอนขางมาก 4. ความพรอมในการดําเนินกิจกรรมแตละครั้ง 4.00 .82 คอนขางมาก 5. บุคลิกภาพที่เหมาะสม 3.80 1.03 คอนขางมาก 6. ความรูเกี่ยวกับสารเสพติดและการบําบัด 4.10 .88 คอนขาง.67มาก 7. ความสามารถในการถายทอดเนื้อหาการเรียนรูไดชัดเจน 4.30 .88 คอนขางมาก 8. ความชัดเจนในการอธิบายแบบแผนการรักษา 4.20 1.10 คอนขางมาก 9. การเปดโอกาสใหซักถาม 3.80 .67 มาก 10. การเปดโอกาสและกระตุนใหแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง 3.60 .92 มาก 11. ความสามารถในการตอบขอซักถามไดชัดเจน 3.20 .79 คอนขางมาก 12. ความสามารถในการใชส่ืออุปกรณไดเหมาะสม 3.60 .97 คอนขางมาก 13. ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม 3.20 .79 ปานกลาง รวมทุกประเด็น 3.95 .65 คอนขางมาก

หมายเหต ุ 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก, คอนขางดี 4.20-5.00 หมายถึง มาก, ด ี

จากตาราง แสดงวาผูปกครองมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัดโดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับคอนขางดี (X = 3.95) โดยมี 3 ประเด็นที่ไดคะแนนความคิดเห็นในระดับดี คือ ประเด็นที่ (2) “ความกระตือรือรนในการชวยเหลือและแกไขปญหา” (X = 4.30) ประเด็นที่ (9) “การเปดโอกาสใหซักถาม” (X = 4.30) และประเด็นที่ (10) “การเปดโอกาสและกระตุนใหแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง” (X = 4.30) แตมี 1 ประเด็นที่ผูปกครองมีความคิดเห็นวามีความเหมาะสม

Page 17: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 72

ในระดับปานกลาง (X=3.20) เทานั้น คือ ประเด็นที่ (13) “ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม” ซึ่งถือวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตารางที่ 11 แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัด จําแนกตามความคิดเห็นของผูประเมิน

ผูประเมิน (N = 3)

ประเดน็ X SD แปลผล 1. การแสดงความรูสึกเขาอกเขาใจ เอาใจใส 2.00 .00 คอนขางนอย 2. ความกระตือรือรนในการชวยเหลือและการแกปญหา 1.67 .58 นอย 3. การตรงตอเวลานัดหมาย 2.00 1.00 คอนขางนอย 4. ความพรอมในการดําเนินกิจกรรมแตละครั้ง 2.00 .00 คอนขางนอย 5. บุคลิกภาพที่เหมาะสม 2.33 .58 คอนขางนอย 6. ความรูเกี่ยวกับสารเสพติดและการบําบัด 2.33 .58 คอนขางนอย 7. ความสามารถในการถายทอดเนื้อหาการเรียนรูไดชัดเจน 2.00 .00 คอนขางนอย 8. ความชัดเจนในการอธิบายแบบแผนการรักษา 1.00 .00 นอย 9. การเปดโอกาสใหซักถาม 2.00 .00 คอนขางนอย 10. การเปดโอกาสและกระตุนใหแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง 1.67 .58 นอย 11. ความสามารถในการตอบขอซักถามไดชัดเจน 1.67 .58 นอย 12. ความสามารถในการใชส่ืออุปกรณไดเหมาะสม 2.33 1.15 คอนขางนอย 13. ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม 1.00 1.15 นอย รวมทุกประเด็น 1.85 .15 คอนขางนอย

หมายเหต ุ 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก, คอนขางดี 4.20-5.00 หมายถึง มาก, ด ี

จากตาราง แสดงวา ผูประเมินมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความสามารถและความพรอมในการดําเนินกิจกรรมของผูบําบัดโดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับคอนขางนอย (X=1.85) โดยประเด็นที่มีคะแนนนอยที่สุด คือ ประเด็นที่ (8) “ความชัดเจนในการอธิบายแผนการรักษา” (X=1.00) และประเด็นที่ (13) “ความเหมาะสมในการใชเวลาทํากิจกรรมแตละกิจกรรม” (X=1.00) เทากัน ตอมามี 3 ประเด็นที่มีคะแนนนอยเชนกันและมีคะแนนเทากัน คือ X=1.67 คือ ประเด็นที่ (2) “ความกระตือรือรนในการชวยเหลือและแกไขปญหา” ประเด็นที่ (10) “การเปดโอกาสและกระตุนใหแสดงความคิดเห็นอยางทั่วถึง” และประเด็นที่ (12) “ความสามารถในการใชส่ืออุปกรณไดเหมาะสม” ซึ่งถือวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

จากผลการประเมินทั้งหมดที่กลาวมา สรุปไดวาเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประเด็นเทานั้น

Page 18: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 73

2.2. การมีสวนรวมของเยาวชนและผูปกครอง

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากการสอบถามความคิดเห็นของผูบําบัดและผูประเมิน โดยการใชแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมในประเด็นตางๆของเยาวชนและผูปกครอง และจากการศึกษาเพิ่มเติมจากสมุดลงทะเบียน เอกสารการเซ็นชื่อเขารวมกิจกรรมประจําวัน ซึ่งมีผลการประเมินดังนี้

ตารางที่ 12 แสดงจํานวนวันการมาเขารวมกิจกรรมของเยาวชน

ลําดับสมาชิก จํานวนวันที่เขารวมโครงการ

(วัน) รอยละ

(ของเวลาทั้งหมด) คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8 คนที่ 9 คนที่ 10 คนที่ 11 คนที่ 12 คนที่ 13 คนที่ 14 คนที่ 15 คนที่ 16 คนที่ 17 คนที่ 18

26 24 23 2 3 5 6 20 24 2 0 12 1 13 10 4 0 0

81.25 75.00 71.88 6.25 9.38 15.63 18.75 62.50 75.00 6.25 0.00 37.50 3.13 40.63 31.25 12.50 0.00 0.00

จากตาราง แสดงวามีเยาวชนเพียง 4 คน หรือคิดเปนรอยละ 22.22 เทานั้น ที่มาเขารวมโครงการมากกวา 70% ของระยะเวลาดําเนินกิจกรรมทั้งหมด และมีเยาวชนถึง 3 คน หรือคิดเปนรอยละ 16.67 ที่ไมเคยมาเขารวมกิจกรรมเลย ผลการประเมินจึงไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 19: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 74

ตารางที่ 13 แสดงจํานวนวันการมาเขารวมกิจกรรมของผูปกครอง

ลําดับสมาชิก จํานวนวันที่เขารวมโครงการ

(วัน) รอยละ

(ของเวลาทั้งหมด) คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8 คนที่ 9 คนที่ 10 คนที่ 11 คนที่ 12 คนที่ 13 คนที่ 14 คนที่ 15 คนที่ 16 คนที่ 17 คนที่ 18

10 6 4 0 0 1 1 6 2 2 0 5 1 7 0 4 0 1

100.00 60.00 40.00 0.00 0.00 10.00 10.00 60.00 20.00 20.00 0.00 50.00 10.00 70.00 0.00 40.00 0.00 10.00

จากตาราง แสดงวามีผูปกครองเพียง 2 คน หรือคิดเปนรอยละ 11.11 เทานั้น ที่มาเขารวมโครงการ ไมต่ํากวา 70% ของระยะเวลาดําเนินกิจกรรมทั้งหมด และมีผูปกครองถึง 5 คน หรือคิดเปนรอยละ 27.78 ที่ไมเคยมาเขารวมกิจกรรมเลยสักครั้ง ผลการประเมินจึงไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

นอกจากนี้เมื่อพิจารณาในประเด็นชี้วัดที่กําหนดวาเยาวชนมีผูปกครองเขารวมโครงการอยางนอย 1 คน นั้น พบวา มีผูปกครองถึง 3 คน หรือคิดเปนรอยละ 16.67 ที่ไมเขารวมกิจกรรมแตก็มีเยาวชนมาเขารวมเพียงลําพัง ประเด็นนี้จึงไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเชนกัน

Page 20: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 75

ตารางที่ 14 แสดงความคิดเห็นของผูบําบัดเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของผูเขารวม โครงการ (เยาวชนและผูปกครอง) จําแนกเปนประเด็นตางๆ

ผูบําบัด (N = 8)

ประเดน็ X SD แปลผล 1. การเขารวมกิจกรรมทั้งหลักสูตร 3.25 .46 ปานกลาง 2. การตรงตอเวลาในการเขารวมกิจกรรม 2.38 .52 ปานกลาง 3. การอยูรวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละครั้ง 3.63 1.06 คอนขางบอย 4. การซักถามขอสงสัย 2.50 .53 คอนขางนอย 5. การแสดงความคิดเห็น 2.75 .89 ปานกลาง 6. ความรวมมือในการปฏิบัติตามกิจกรรมที่กําหนด 2.88 1.13 ปานกลาง 7. การพูดคุยนอกประเด็นขณะทํากิจกรรม 3.50 .76 คอนขางนอย 8. การทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจากกิจกรรมที่กําหนด 4.38 .52 นอย 9. หลับขณะดําเนินกิจกรรม 5.00 .00 นอย รวมทุกประเด็น 3.36 .46 ปานกลาง

หมายเหต ุ ดานบวก ดานลบ 1.00-1.79 หมายถึง ไมเคยเลย, แย 1.00-1.79 หมายถึง ทุกครั้ง, ดี 1.80-2.59 หมายถึง เปนบางครั้ง, คอนขางนอย 1.80-2.59 หมายถึง เกือบทุกครั้ง, คอนขางดี 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง เกือบทุกครั้ง, คอนขางดี 3.40-4.19 หมายถึง เปนบางครั้ง, คอนขางนอย 4.20-5.00 หมายถึง ทุกครั้ง ดี 4.20-5.00 หมายถึง ไมเคยเลย, แย

จากตาราง แสดงวา ผูบําบัดมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของผูเขารวมโครงการรวม (เยาวชนและผูปกครอง) โดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับปานกลาง (X = 3.36) โดยมีประเด็นที่มีคะแนนสูงสุด คือ ประเด็นที่ (9) “หลับขณะดําเนินกิจกรรม” (X =5.00) แสดงวาผูบําบัด มีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการไมเคยหลับขณะดําเนินกิจกรรมเลย รองลงมาเปนประเด็นที่ (8) “การทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจากกิจกรรมที่กําหนด” (X = 4.38) ซึ่งแสดงวาผูบําบัดมีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการไมเคยทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจากกิจกรรมที่กําหนดเลย และอันดับ 3 คือ ประเด็นที่ (3) “การอย ู รวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละคร้ัง” (X = 3.63) แสดงวาผูบําบัดมีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการอยูรวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละครั้งเกือบทุกครั้ง จากผลการประเมิน เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 21: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 76

ตารางที่ 15 แสดงความคิดเห็นของผูประเมินเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของผูเขารวมโครงการ (เยาวชนและผูปกครอง) จําแนกเปนประเด็นตางๆ

ผูประเมิน (N = 3)

ประเดน็ X SD แปลผล 1. การเขารวมกิจกรรมทั้งหลักสูตร 2.67 .58 ปานกลาง 2. การตรงตอเวลาในการเขารวมกิจกรรม 2.67 .58 ปานกลาง 3. การอยูรวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละครั้ง 3.67 .58 คอนขางบอย 4. การซักถามขอสงสัย 2.00 .00 คอนขางนอย 5. การแสดงความคิดเห็น 2.00 .00 คอนขางนอย 6. ความรวมมือในการปฏิบัติตามกิจกรรมที่กําหนด 2.67 .58 ปานกลาง 7. การพูดคุยนอกประเด็นขณะทํากิจกรรม 3.67 .58 คอนขางนอย 8. การทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจากกิจกรรมที่กําหนด 3.67 .58 คอนขางนอย 9. หลับขณะดําเนินกิจกรรม 4.00 .00 คอนขางนอย รวมทุกประเด็น 3.00 .38 ปานกลาง

หมายเหต ุ ดานบวก ดานลบ 1.00-1.79 หมายถึง ไมเคยเลย, แย 1.00-1.79 หมายถึง ทุกครั้ง, ดี 1.80-2.59 หมายถึง เปนบางครั้ง, คอนขางนอย 1.80-2.59 หมายถึง เกือบทุกครั้ง, คอนขางดี 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง เกือบทุกครั้ง, คอนขางดี 3.40-4.19 หมายถึง เปนบางครั้ง, คอนขางนอย 4.20-5.00 หมายถึง ทุกครั้ง ดี 4.20-5.00 หมายถึง ไมเคยเลย, แย

จากตาราง แสดงวา ผูประเมินมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรม ของผูเขารวมโครงการ (เยาวชนและผูปกครอง) โดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับปานกลาง (X = 3.00) โดยมีประเด็นที่มีคะแนนสูงสุด คือ ประเด็นที่ (9) หลับขณะดําเนินกิจกรรม (X = 4.00) แสดงวาผูประเมิน มีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการหลับขณะดําเนินกิจกรรมเปนบางครั้ง รองลงมามี 3 ประเด็น ที่มีคะแนนเทากัน คือ (X = 3.67) คือ ประเด็นที่ (3) “การอยูรวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละครั้ง” แสดงวาผูประเมิน มีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการอยูรวมกิจกรรมจนจบกิจกรรมแตละครั้งเกือบทุกครั้ง ประเด็นที่ (7) “การพูดคุยนอกประเด็นขณะทํากิจกรรม” ซึ่งแสดงวาผูประเมินมีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการมีการพูดคุยนอกประเด็นขณะทํากิจกรรมเปนบางครั้ง และประเด็นที่ (8) “การทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจากกิจกรรมที่กําหนด” แสดงวาผูประเมินมีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการทํากิจกรรมอื่นนอกเหนือจาก กิจกรรมที่กําหนดเปนบางครั้ง สวนประเด็นที่ไดคะแนนนอยที่สุด (X = 2.00) มี 2 ประเด็น ซึ่งไดคะแนนเทากันนั่นคือประเด็นที่ (4) “การซักถามขอสงสัย” แสดงวาผูประเมินมีความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการ มีการซักถามขอสงสัยคอนขางนอย และประเด็นที่ (5) “การแสดงความคิดเห็น” ซึ่งแสดงวาผูประเมินมี

Page 22: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 77

ความคิดเห็นวาผูเขารวมโครงการมีการแสดงความคิดเห็นคอนขางนอย ผลการประเมินจึงพบวาไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สรุปไดวา จากผลการประเมินทั้งหมดที่กลาวมา เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัดแลวพบวาการประเมินการมีสวนรวมของเยาวชนและผูปกครองไมเปนตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

2.3 การแกไขปญหาและอุปสรรคในการดําเนินโครงการ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากรายงานการประชุมในระหวางการดําเนินโครงการ และจากการเขารวมสังเกตการณในกระบวนการทํางานของผูประเมิน ซึ่งพบวา สําหรับการดําเนินการโครงการครั้งนี้ไมมีการประชุมการวางแผนแกไขปญหาอุปสรรคในการดําเนินการอยางเปนทางการ รวมทั้งไมมีการจดบันทึกรายงานการประชุมอยางเปนลายลักษณอักษรหรือการสรุปผลการประชุมใหผูเกี่ยวของทราบแตอยางใด และจากการสังเกตการณของผูประเมินพอจะสรุปไดวา ตั้งแตเร่ิมโครงการ (5 กุมภาพันธ 2545) จนสิ้นสุดการดําเนินโครงการ (20 มิถุนายน 2545) พบวา คณะทํางานโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือกันอยางไมเปนทางการเกี่ยวกับการแกไขปญหาและอุปสรรคในการดําเนินโครงการ ทั้งหมด 5 ครั้ง ดังนี้

ครั้งที่ 1 วันที่ 1 เมษายน 2545

เปนการประชุมของคณะกรรมการ Matrix Program ของศูนยบําบัดรักษายาเสพติด สงขลาซึ่งมีคณะทํางานโครงการฯบางคนเปนคณะกรรมการของศูนยฯดวย และในที่นี้จึงขอกลาวเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินโครงการนี้เทานั้น

ผูเขารวมประชุมประกอบดวย

ผูอํานวยการศูนยบําบัดรักษายาเสพติดสงขลา หัวหนาโครงการ คณะทํางานโครงการ 5 คน

วาระการประชุม

รายงานผลการดําเนินการโครงการและปรึกษาหารือ

ผลการประชุม

หัวหนาโครงการรายงานผลการดําเนินการโครงการใหผูอํานวยการศูนยบําบัดรักษายาเสพติดสงขลาทราบวาไดจัดแบงกลุมเยาวชนที่เขารวมโครงการเปนกลุม คือ

Page 23: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 78

กลุมที่ 1 (เยาวชนกลุมเสพ-ติด) ซึ่งมีรายชื่อตองเขารวมกิจกรรมของโครงการจํานวน 9 คน แตนับถึงขณะนี้ พบวามีเยาวชนเขารวมโครงการสม่ําเสมอตอเนื่อง เพียง 2 คน

กลุมที่ 2 (เยาวชนกลุมเสพ-ติด) ซึ่งมีรายชื่อตองเขารวมกิจกรรมของโครงการ จํานวน 9 คน แตนับถึงขณะนี้พบวามีเยาวชนเขารวมโครงการสม่ําเสมอตอเนื่อง เพียง 1 คน

กลุมที่ 3 (เยาวชนกลุมเสี่ยง) ซึ่งมีรายชื่อตองเขารวมกิจกรรมของโครงการจํานวน 10 คน แตนับถึงขณะนี้ พบวามีเยาวชนเขารวมโครงการสม่ําเสมอตอเนื่อง เพียง 3-4 คน

ในสวนวาระการปรึกษาหารือ ผูเขารวมประชุมไดนําเสนอประเด็นปญหา ดังนี้ 1. เยาวชนไมสมัครใจและไมเขารวมกิจกรรมโครงการ 2. เยาวชนปฏิเสธการเขารวมกลุมกับผูปกครอง

ลักษณะในการประชุมไมมีการระดมสมองในการแกไขปญหาผูอํานวยการศูนยฯ จึงไดเสนอแนวทางการดําเนินการดังนี้

สําหรับประเด็นปญหาที่ 1 ใหคณะทํางานโครงการประสานงานกับคณะครู- อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการในเรื่องประเด็นปญหาดังกลาว

หัวหนาโครงการจึงดําเนินการโดยกําหนดใหมีการกําหนดบทบาทผูประสานงานโครงการของศูนยฯ เพื่อใหทําหนาที่ประสานงานกับครู-อาจารยผูประสานและรับผิดชอบโครงการแทนตน

สําหรับประเด็นปญหาที่ 2 ผูอํานวยการศูนยฯไดเสนอใหคณะผูบําบัดทํา Family Therapy รวมทั้งใหมีการประชุมวางแผนการดําเนินเปนระยะๆ รวมทั้งมีการทํา Case Conference

หมายเหตุ สําหรับการประชุมครั้งนี้ไมมีการบันทึกรายงานการประชุมแตอยางใด เนื่องจากไมมีการแตงตั้งเลขานุการในการจดบันทึกรายงานการประชุม

ครั้งที่ 2 วันที่ 5 เมษายน 2545

ผูเขารวมประชุม ประกอบดวย

ผูชวยผูอํานวยการโรงเรียน 1 คน คณะครูอาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ 1 คน คณะทํางานโครงการ 3 คน

Page 24: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 79

วาระการประชุม ปรึกษาหารือ

ผลการประชุม

1. คณะทํางานโครงการปรึกษาหารือประเด็นเวลาการเขารวมกลุมกิจกรรมของเยาวชนผูเขารวมโครงการวาจะเริ่มเวลาใด ซึ่งประเด็นนี้ ผูชวยอํานวยการโรงเรียนเสนอใหเปนไปตามที่กําหนดเดิม (ในรายละเอียดโครงการกําหนดใหเยาวชนเขารวมกิจกรรมทุกวันอังคาร เวลา 13.00-16.00น.และทุกวันพฤหัสบดี เวลา 12.30-16.00น)

2. คณะทํางานโครงการปรึกษาหารือประเด็นการจําหนายเยาวชนออกจาก โครงการซึ่งประเด็นนี้ผูชวยผูอํานวยการโรงเรียนแจงวาใหเปนไปตามหลักการปฏิบัติ หรือมาตรการการจําหนายตามรูปแบบการบําบัดรักษาแบบจิตสังคมบําบัดกําหนด หรือตามที่โครงการกําหนด (ซึ่งพบวา โครงการนี้ไมมีการกําหนดเกณฑการจําหนาย นักเรียนออกจากโครงการอยางเปนลายลักษณอักษร)

3. คณะทํางานโครงการปรึกษาหารือประเด็นการไมมาเขารวมกลุมกิจกรรมของเยาวชน ซึ่งประเด็นนี้ผูชวยผูอํานวยการโรงเรียนเสนอใหคณะทํางานโครงการแจงรายชื่อของเยาวชนที่ไมเขารวมโครงการใหทางโรงเรียนทราบ แลวทางโรงเรียนจะติดตามเยาวชนดังกลาวให

4. คณะทํางานโครงการปรึกษาหารือประเด็นการจัดเตรียมสถานที่ ส่ืออุปกรณ เชน เครื่องเลนวิดีโอเทป โทรทัศน ซึ่งประเด็นนี้ผูชวยผูอํานวยการเสนอใหคณะทํางานโครงการแจงใหทางโรงเรียนทราบลวงหนาเกี่ยวกับส่ืออุปกรณที่ใช สวนหองทํากิจกรรมนั้นในชวงปดภาคเรียนใหดําเนินการกิจกรรมที่หองพักหมวดพลานามัย

หมายเหตุ สําหรับการประชุมครั้งนี้ไมมีการบันทึกรายงานการประชุมแตอยางใด เนื่องจากไมมีการแตงตั้งเลขานุการในการจดบันทึกรายงานการประชุม

ครั้งที่ 3 วันที่ 18 เมษายน 2545

ผูเขารวมประชุมประกอบดวย

หัวหนาโครงการ คณะทํางานโครงการ 4 คน

วาระการประชุม

แจงใหทราบและปรึกษาหารือ

Page 25: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 80

ผลการประชุม

หัวหนาโครงการไดแจงใหคณะทํางานโครงการทราบ ดังนี้ 1. ใหผูบําบัดประจํากลุมจัดเตรียมตระกราสําหรับใสของและจัดเตรียมแฟม

เอกสารสําหรับใสปฏิทินกิจกรรมของเยาวชน 2. ใหผูบําบัดประจํากลุมตรวจสอบรายชื่อเยาวชนและครอบครัวลงในตาราง

รายชื่อที่ผูจัดการโครงการเตรียมไวให 3. ใหมีการประชุมหลังเสร็จส้ินการดําเนินการกิจกรรมกลุมทุกครั้ง

ในสวนประเด็นการปรึกษาหารือ ผูเขารวมประชุมไดเสนอประเด็นปญหาปรึกษาหารือดังนี้

1. หองสําหรับทํากิจกรรมกลุมที่แนนอน 2. รถรับสงคณะทํางานโครงการที่ตองมาปฏิบัติงานตลอดระยะเวลาดําเนินการ 3. เยาวชนและผูปกครองไมมารวมกิจกรรม

สําหรับประเด็นปรึกษาหารือที่ 1 นั้น หัวหนาโครงการแจงวาจะนําเรื่องดังกลาวปรึกษาหารือกับคณะครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการของโรงเรียน อีกครั้งหลังการประชุมในวันนี้ (ซึ่งเมื่อจบการประชุมในวันนี้ปรากฏวาคณะครู-อาจารยติดราชการไมสามารถเขารวมปรึกษาหารือกับผูจัดการโครงการได และทางคณะครู-อาจารยฯแจงนัดการปะชุมอีกครั้งในวันที่ 23 เมษายน 2545 ทวาเมื่อถึงวันที่ 23 เมษายน 2545 แลว ก็ยังไมมีการประชุมปรึกษาหารือแตอยางใด)

สวนประเด็นปรึกษาหารือที่ 2 หัวหนาโครงการแจงวาประเด็นนี้ตนไมสามารถควบคุมได เนื่องจากขึ้นอยูกับการฝายอํานวยการของศูนยฯ

ประเด็นที่ 3 หัวหนาโครงการแจงวาการกระตุนใหเยาวชนมาเขารวมกลุมนั้น เปนหนาที่ความรับผิดชอบของคณะครูฯไมใชหนาที่ของคณะผูบําบัด

หมายเหตุ สําหรับการประชุมครั้งนี้ไมมีการบันทึกรายงานการประชุมแตอยางใด เนื่องจากไมมีการแตงตั้งเลขานุการในการจดบันทึกรายงานการประชุม

ครั้งที่ 4 วันที่ 23 เมษายน 2545

ผูเขารวมประชุม

หัวหนาโครงการ คณะทํางานโครงการ 3 คน

Page 26: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 81

วาระการประชุม

แจงใหทราบและปรึกษาหารือ

ผลการประชุม

1. ผูจัดการโครงการแจงวาวันนี้ไดสอนซอมเสริมเยาวชนเกี่ยวกับกลุมเลิกยาระยะเริ่มตน 2 หัวขอการเรียนรู

2. นับจากนี้ไปรถรับสงคณะทํางานโครงการที่ตองมาปฏิบัติงานจะออกจากศูนยฯในวันอังคาร เวลา 13.00 น. และวันพฤหัสบดี เวลา 12.30 (ซึ่งเวลาที่กําหนด การเริ่มกลุมที่แจงกับเยาวชนและผูปกครองไวเดิม คือ วันอังคารกลุมจะเริ่มในเวลา 13.00 น. และวันพฤหัสบดีกลุมเร่ิมเวลา 12.30 น. และทราบมาวาคณะทํางานไมไดแจงเปล่ียนแปลงเวลาใหเยาวชนและครอบครัวทราบ)

สวนประเด็นปรึกษาหารือ ผูเขารวมประชุมเสนอประเด็นวามีแนวทางในการปฏิบัติอยางไร กรณีเยาวชนและครอบครัวไมมาเขารวมกลุมกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษาพรอมกัน ซึ่งประเด็นนี้หัวหนาโครงการแจงใหสอนซอมเสริมเฉพาะผูไมมาเขารวมกลุม เชน ถาเยาวชนไมมารวมกลุม แตครอบครัวมา ก็ใหซอมเสริมหัวขอการเรียนรูดังกลาวเฉพาะเยาวชน

หมายเหตุ สําหรับการประชุมครั้งนี้ไมมีการบันทึกรายงานการประชุมแตอยางใด เนื่องจากไมมีการแตงตั้งเลขานุการในการจดบันทึกรายงานการประชุม

ครั้งที่ 5 วันที่ 17 พฤษภาคม 2545

เปนการประชุมของคณะกรรมการ Matrix Program ของศูนยบําบัดรักษายาเสพติดสงขลา ซึ่งมีคณะทํางานโครงการฯบางคนเปนคณะกรรมการของศูนยฯดวย และในที่นี้จึงขอกลาวเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวของกับการดําเนินโครงการนี้เทานั้น)

ผูเขารวมประชุมประกอบดวย

ผูอํานวยการศูนยบําบัดรักษายาเสพติดสงขลา ผูจัดการโครงการ คณะทํางานโครงการ 5 คน

วาระการประชุม

รายงานผลการดําเนินการและปรึกษาหารือ

Page 27: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 82

ผลการประชุม ผูจัดการโครงการนําเสนอผลการดําเนินการตอผูอํานวยการศูนยฯ แลวให

คณะทํางานเสนอประเด็นปญหาในการดําเนินการ ซึ่งประเด็นปรึกษาหารือ มีดังนี้ 1. ทางโรงเรียนรับทราบนโยบายการดําเนินการโครงการแตครูอาจารยบางคนไม

ปฏิบัติตามนโยบาย 2. เยาวชนไมมาเขารวมกลุมกิจกรรม ผูบําบัดขาดกําลังใจ

ลักษณะการประชุมไมมีการระดมสมองในการแกไขปญหาผูอํานวยการศูนยฯ จึงไดเสนอแนวทางการดําเนินการดังนี้

สําหรับประเด็นที่ 1 ผูอํานวยการฯไดเสนอใหทําหนังสือแจงใหผูอํานวยการ โรงเรียนทราบและปรึกษากับทางโรงเรียนในเรื่องประเด็นปญหาดังกลาว

ประเด็นปญหาที่ 2 ผูอํานวยการเสนอใหประชุมเพื่อหาวิธีการที่จะทําใหเยาวชนเห็นความสําคัญของการเขารวมกิจกรรม

หมายเหตุ สําหรับการประชุมครั้งนี้ไมมีการบันทึกรายงานการประชุมแตอยางใด เนื่องจากไมมีการแตงตั้งเลขานุการในการจดบันทึกรายงานการประชุม

จากการเขารวมสังเกตการณในการดําเนินกิจกรรมตลอดระยะเวลาดําเนินการนั้นพบวา ตลอดระยะเวลาการดําเนินการในชวงกระบวนการนั้นมีการประชุมปรึกษาหารืออยางไมเปนทางการของคณะทํางาน 4 ครั้ง (ซึ่งตามเกณฑที่กําหนด ไมควรนอยกวา 8 คร้ัง) และการประชุมระหวางคณะทํางาน กับครู-อาจารย ผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ 1 ครั้ง (ซึ่งตามเกณฑที่กําหนด ไมควรนอยกวา 4 ครั้ง) รวมทั้งการเขารวมการประชุมแตละครั้งก็มีคณะทํางานเขารวมการประชุมนอยกวา 80% นั่นคือ นอยกวา 7 คน และการประชุมสวนใหญผูเขารวมประชุมไมไดรวมกันแสดงความคิดเห็นหรือคิดแกปญหา ที่แทจริงอยางจริงจัง ไมมีการติดตามผลหลังการประชุม รวมทั้งขาดการจดบันทึกการประชุม ทําใหไมไดนําผลการประชุมไปปฏิบัติหรือดําเนินการอยางตอเนื่อง ทําใหปญหาที่เกิดขึ้นเปนปญหาที่ซ้ําซอน และไมไดรับการแกไขใหตรงประเด็น โดยมีปญหาที่ไดรับการแกไขไดสําเร็จเพียง 1 ปญหา จากจํานวนปญหาทั้งหมด 5 ปญหา (คิดเปนรอยละ 20) ซึ่งจากทั้งหมดที่กลาวมาจึงสรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

2.4 การดําเนินกิจกรรมตามหลักสูตรการบําบัดรักษาผูติดยาและสารเสพติดรูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program)

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากโครงสรางหลักสูตรการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) และจากการสังเกตการณการดําเนินกิจกรรมในแตละครั้งของผูประเมิน ซึ่งพบวามีผลการประเมินดังนี้

ผลการดําเนินกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน มีดังนี้

Page 28: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 83

ตารางที่ 16 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) ของกลุมที่ 1

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม ER

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุวัตถุ ประสงค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

12 ก.พ. 45 5 มี.ค. 45 7 มี.ค. 45

12 มี.ค. 45 14 มี.ค. 45 21 มี.ค. 45 26 มี.ค. 45 2 เม.ย. 45

23 เม.ย. 45 23 เม.ย. 45 25 เม.ย. 45 16 พ.ค. 45 16 พ.ค. 45 30 พ.ค. 45 12 มิ.ย. 45

ER 1 ER 2 ER 3 ER 4

ER 5 (ซอม) ER 6 ER 7

ER 8 (ซอม) ER 6 (ซอม) ER 8 (ซอม) ER 5 (ซอม) ER 5 (ซอม)

ER 7 ER 2 (ซอม) ER 8 (ซอม)

13.55-14.45 13.30-14.30 14.00-14.40 13.30-14.40 14.10-14.50 14.55-15.25 14.00-15.00 14.15-15.15 13.30-14.15 14.50-15.15 14.38-14.45 13.30-14.10 13.30-14.10 14.20-14.30 14.25-14.45

50 60 40 70 40 30 60 60 45 25 7 40 40 10 20

/ / / / / /

/ / / / / / / / /

Page 29: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 84

ตารางที่ 17 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) ของกลุมที่ 2

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม ER

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุวัตถุ ประสงค

1 2 3 4 5

6 7 8 9 10 11 12 13

12 ก.พ. 45

12 มี.ค. 45 14 มี.ค. 45

28 มี.ค. 45 5 มี.ค. 45

7 มี.ค. 45

25 เม.ย. 45 7 พ.ค. 45 7 พ.ค. 45

ER 1 ER 2 ER 3 ER 4 ER 5 ER 6 ER 7 ER 8

ER 1(ซอม) ER 1 ER 2 ER 3 ER 5 ER 2 ER 8

13.55-15.55

13.30-15.0

14.20-14.50

14.30-15.10 13.35-14.40

14.55-15.30

14.40-14.45 13.55-14.10 14.15-14.30

40 40 40 70 30

40 65

45

5 15 15

/ - - / /

/ / / / / / / / / /

จากตารางที่ 16 และ 17 พบวา ผูบําบัดไมไดจัดกิจกรรมทุกวันอังคารและพฤหัสบดี จึงทําใหกิจกรรมกลุมทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) ซึ่งควรจะจบลงในวันที่ 12 มีนาคม 2545 มาจบในวันที่ 2 เมษายน 2545 (กลุมที่ 1) สวนในกลุมที่ 2 นั้นดําเนินกิจกรรมกลุมทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) ไมครบ 8 ประเด็นอีกดวย สําหรับเวลาเริ่มกิจกรรม ในวันอังคารเวลา 13.00น. (คลาดเคลื่อนไมเกิน 15 นาที) นั้น ไมเคยมีการดําเนินกิจกรรมกลุมตามเวลาดังกลาวเลย (รอยละ 0) และในวันพฤหัสบดีมีการเริ่มดําเนินกิจกรรมตามกําหนดเวลา คือ 13.40 น. (คลาดเคลื่อนไมเกิน 15 นาที) เพียง 1 ครั้งจากทั้งหมด 28 ครั้ง คิดเปนรอยละ 3.57 เทานั้น จึงถือวาผลการประเมินไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับการใชเวลาในการดําเนินกิจกรรมแตละกิจกรรมเปนเวลาไมนอยกวา 45 นาทีนั้นพบวามีเพียง 8 ครั้ง จากการทํากิจกรรมกลุมทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) ทั้งหมด 28 ครั้ง คิดเปนรอยละ28.57 ซึ่งไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับความครอบคลุมของเนื้อหากิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกยาระยะเริ่มตน (ER) พบวา กลุมที่ 1 ไดดําเนินกิจกรรมกลุมฯครอบคลุม 8 ประเด็นการเรียนรู แตกลุมที่ 2 นั้นขาดประเด็นการเรียนรู ไป 2 ประเด็น คือ ER 6 “ปญหาตางๆ ในการเลิกยาระยะเริ่มตน” และ ER 7 “ความคิด ความรูสึกและพฤติกรรมตางๆ” ดังนั้น จึงถือวาการดําเนินกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกเสพยาระยะเริ่มตน (ER) นี้มีเนื้อหาไมครอบคลุม 8 ประเด็นการเรียนรูตามเกณฑที่ตัวชี้วัดกําหนดไว

Page 30: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 85

เมื่อพิจารณาถึงการบรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูในแตละบท พบวา มีการดําเนินกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกเสพยาระยะเริ่มตน (ER) รวม 28 คร้ัง มีจํานวน 9 คร้ัง ที่ดําเนินการไดบรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูในแตละบท (คิดเปนรอยละ 32.14) ซึ่งไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

จึงสรุปกลาวไดวาการดําเนินกิจกรรมกลุมฝกทักษะการเลิกระยะเริ่มตนไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดไว

ผลการดําเนินกิจกรรมกลุมการปองกันการกลับไปติดยาซ้ํา มีดังนี้

ตารางที่ 18 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปเสพซ้ํา (RP) ของกลุมที่ 1

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม RP

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุวัตถุประสงค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

18 19

12 ก.พ. 45 5 มี.ค. 45

7 มี.ค. 12 มี.ค. 45 14 มี.ค. 45 21 มี.ค. 45 26 มี.ค. 45 9 เม.ย. 45 2 เม.ย. 45 4 เม.ย. 45 11 เม.ย.45 18 เม.ย. 45 23 เม.ย. 45 25 เม.ย. 45 30 เม.ย. 45 2 พ.ค. 45 7 พ.ค. 45

- 14 พ.ค. 45 16 พ.ค. 45

- - -

RP 1 RP 2 RP 3 RP4 RP 5 RP 6 RP 7 RP 8 RP 9

RP 10 RP 11 RP 12 RP 13 RP 14 RP 15 RP 16 RP 17 RP 18 RP 20 RP 19 RP 21 RP 22 RP 23

15.00-15.45 14.45-15.10 14.55-15.15 15.00-15.15 14.55-15.20 15.30-15.50 15.25-15.40 14.50-15.00 13.00-14.00 14.45-15.00 14.15-14.50 14.30-15.15 14.28-14.38 14.15-14.35 13.30-14.30 14.30-15.15 13.30-13.45

- 14.10-14.25 13.45-14.05

- - -

45 25 20 15 25 20 15 10 60 15 35 45 10 20 60 45 15

15 20 - - -

/ / / / / / / / - - -

/ / / / / / / / / / / - - -

Page 31: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 86

ตารางที่ 18 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปเสพซ้ํา (RP) ของกลุมที่ 1 (ตอ)

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม RP

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุ วัตถุประสงค

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34

- - - - - - -

4 มิ.ย. 45 30 พ.ค. 45 9 เม.ย. 45 9 เม.ย. 45 7 พ.ค. 45 7 พ.ค. 45 7 พ.ค. 45 4 มิ.ย. 45 4 มิ.ย. 45 4 มิ.ย. 45

30 พ.ค. 45 12 มิ.ย. 45 12 มิ.ย. 45 12 มิ.ย. 45 12 มิ.ย. 45

RP 24 RP 25 RP 26 RP 27 RP 28 RP 29 RP 30 RP31 RP 32 RP 10 RP 9 RP 1 RP 5 RP 6

RP 32 RP 7

RP 17 RP 13 RP 12 RP 14 RP 16 RP 15

- - - - - - -

13.15-14.00 13.15-14.20 14.25-14.45 13.30-14.05 14.30-14.55 13.47-14.05 14.12-14.25 14.15-14.30 14.30-14.40 14.40-14.50 14.40- 15.00 13.20-13.25 13.25-13.30 13.30-13.40 13.40-13.50

- - - - - - -

45 65 20 35 25 18 13 15 10 10 20 5 5 10 10

- - - - - - - / / /

- - - - - - - / / / / / / / / / / / /

Page 32: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 87

ตารางที่ 19 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปเสพซ้ํา (RP) ของกลุมที่ 2

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม RP

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุ วัตถุประสงค

1 2 3

4 5 6

7 8 9 10 11 12 13 14 15

16 17 18 19 20 21 22 23

5 มี.ค. 45 7 มี.ค. 45

12 มี.ค. 45 -

14 มี.ค. 45 4 มิ.ย. 45 4 มิ.ย. 45

- 9 เม.ย. 45 4 เม.ย. 45

11 เม.ย. 45 18 เม.ย.45 23 เม.ย. 45 25 เม.ย. 45 30 เม.ย. 45 2 พ.ค. 45 7 พ.ค. 45

- 16 พ.ค. 45 21 พ.ค. 45 21 พ.ค. 45 28 พ.ค. 45 28 พ.ค. 45 4 มิ.ย. 45 4 มิ.ย. 45 4 มิ.ย. 45

- - - -

RP 1 RP 2 RP 3 RP4 RP 5 RP 6 RP 7 RP 8 RP 9

RP 10 RP 11 RP 12 RP 13 RP 14 RP 15 RP 16 RP 17 RP 18 RP 19 RP 20 RP 21 RP 22 RP 23 RP 24 RP 25 RP 26 RP 27 RP 28 RP 29 RP 30

15.00-15.25 15.35-15.45 15.25-15.50

- 14.55-15.20 13.15-13.35 14.40-14.55

- 13.30-14.05 14.47-15.00 14.15-14.50 14.30-15.15 14.28-14.38 14.15-14.35 13.30-14.00 14.30-14.55 13.30-13.45

- 13.45-14.05 13.40-14.00 13.10-14.35 13.45-14.10 14.20-14.40 13.35-14.00 14.05-14.20 14.20-14.40

- - - -

20 10 25 -

25 20 15 -

35 13 35 45 10 20 30 25 15 -

20 20 85 25 20 25 15 20 - - - -

/ - / - / / / - - - -

/ / - / / / - / / / / / / / / - / / / / / - - - -

Page 33: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 88

ตารางที่ 19 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปเสพซ้ํา (RP) ของกลุมที่ 2 (ตอ)

ครั้งที ่

วันที ่

กิจกรรม RP

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุ วัตถุประสงค

24 25

4 มิ.ย. 45 9 เม.ย. 45

RP31 RP 32 RP 5

RP 10

- -

15.00-15.10 14.25-14.40

- -

10 15

- -

/ /

จากตารางแสดงการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปติดยาซ้ํา พบวามีการจัดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปติดยาซ้ํา (RP) ในกลุมที่ 1 เปนเวลา 18 สัปดาห โดยไมติดตอกัน และมีการจัดกิจกรรมในวันพุธ 1 ครั้ง สวนกลุมที่ 2 ใชเวลา 14 สัปดาหไมติดตอกัน สําหรับกําหนดการเริ่มกิจกรรมในทุกวันอังคาร เวลา 14.00 น. และวันพฤหัสบดีเวลา 14.40 น. นั้น พบวามีการเริ่มกิจกรรมในวันและเวลาดังกลาว (คลาดเคลื่อนไมเกิน 15 นาที) จํานวน 13 ครั้ง จากการดําเนินกิจกรรมทั้งสิ้น 59 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 22.03) ดังนั้น จึงถือวาไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับการใชระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมแตละกิจกรรม พบวามีเพียง 1 คร้ัง ที่ใชระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมเปนเวลา 85 นาที ซึ่ง (คิดเปนรอยละ 1.81)แสดงวาไมเปนตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไว

สําหรับความครอบคลุมของเนื้อหาการเรียนรูกลุมปองกันการกลับไปติดยาซ้ํา นั้น พบวา มีการดําเนินกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปใชยาซ้ําไมครอบคลุม 32 ประเด็น คือ ขาดกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปติดยาซ้ํา ดังนี้

กลุม 1 1) RP 18 2) RP 21 3) RP 22 4) RP 23 5) RP 24 6) RP 25 7) RP 26 8) RP 27 9) RP 28 10) RP 29 11) RP 30 กลุม 2 1) RP 4 2) RP 8 3) RP 18 4) RP 27 5) RP 28 6) RP 29 7) RP 30 8) RP 31 9) RP 32

ดังนั้นจึงถือวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดไว

เมื่อพิจารณาถึงการบรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูในแตละบท พบวา โดยรวมมีการดําเนินการกิจกรรมกลุมที่บรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูรวม 17 ครั้ง จากการทํากิจกรรมทั้งหมดที่ประเมินได 54 ครั้ง คิดเปนรอยละ 31.48 เทานั้น แสดงวาไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไว สรุปไดวาการดําเนินกิจกรรมกลุมปองกันการกลับไปติดยาซ้ําไมมีประเด็นใดเปนไปตามตัวชี้วัดกําหนด

Page 34: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 89

ผลการดําเนินกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษา มีดังนี้

ตารางที่ 20 แสดงการจัดกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษา

ครั้งท ี

วันที ่

กิจกรรม FE

เวลาเริ่ม-เวลาจบ เวลาที่ใช (นาที)

บรรลุวัตถุ ประสงค

ไมบรรลุวัตถุประสงค

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

14 ก.พ. 45 14 มี.ค. 45 18 เม.ย. 45 21 มี.ค. 45 28 มี.ค. 45 11 เม.ย. 45 4 เม.ย. 45 25 เม.ย.45 2 พ.ค. 45

16 พ.ค. 45 7 มี.ค. 45

25 เม.ย. 45 30 พ.ค. 45 23 พ.ค. 45 23 พ.ค. 45 6 มิ.ย. 45

13 มิ.ย. 45 13 มิ.ย. 45

FE 1 FE 2 FE 3 FE 4 FE 5 FE 6 FE 7 FE 8 FE 9

FE 10 FE 1 FE 1 FE 8 FE 1 FE 2 FE 5 FE 3 FE 5

13.40-14.50 13.25-14.15 13.30-14.05 13.45-14.45 13.30-14.10 13.10-13.50 14.05-14.35 13.45-14.00 13.40-14.20 14.20-15.00 13.45-14.30 13.15-13.40 12.00-12.45 12.30-12.50 13.45-14.30 12.45-13.20 12.50-13.50 14.05-14.30

70 50 35 60 40 40 30 15 40 40 45 25 45 20 45 35 60 25

/

/ / / / / / / / / / / / / / / / /

จากตารางพบวา มีการดําเนินกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษาทั้งสิ้น 18 ครั้ง ในวันพฤหัสบดี เปน เวลา 15 สัปดาห ไมติดตอกัน และไดเร่ิมกิจกรรมกลุมเมื่อเวลา 12.30 น. (คลาดเคลื่อนไมเกิน 15 นาที) เพียง 2 ครั้ง (คิดเปนรอยละ 11.11) จึงไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับการใชระยะเวลาในการดําเนินกรรมแตละกิจกรรม พบวา มีเพียง 4 คร้ัง ที่ใชระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมเปนเวลา 60 นาที คิดเปนรอยละ 22.22 เทานั้น จึงไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับความครอบคลุมเนื้อหาการเรียนรูกลุมครอบครัวศึกษา พบวา มีเนื้อหาครอบคลุม10 ประเด็นการเรียนรูตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

เมื่อพิจารณาถึงการบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรูในแตละบท พบวา มีการดําเนินการกลุมครอบครัวไดบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรู 1 คร้ัง จากการดําเนินกิจกรรมกลุมฯ 18 คร้ัง คิดเปนรอยละ 5.88

Page 35: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 90

จึงสรุปไดวาการดําเนินกิจกรรมกลุมครอบครัวศึกษาเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไวเพียงประเด็นเดียว คือ มีความครอบคลุมเนื้อหาครอบคลุม 10 ประเด็นการเรียนรูตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไว

ผลการดําเนินกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล / ครอบครัว มีดังนี้

ตารางที่ 21 แสดงการจัดกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล / ครอบครัว

ครั้งที่

วันที ่

กิจกรรม IC

สมาชิก

เวลาเริ่ม- เวลาจบ

เวลาที่ใช

(นาที)

บรรล ุวัตถุประสงค

ไมบรรลุวัตถุประสงค

หมายเหต ุ

1

5 ก.พ. 45

IC1 ขอตกลง

P 1 P 2 P 9 P 3 P 8 P 6 P 7 P 5 P 4

14.00-14.50

50

/

ไมถือวา ใชเวลา 50 นาที เพราะดําเนินการเปนกลุม

2 5 ก.พ. 45 IC1 (เยาวชน)

P 10 P 12 P 13 P 14 P 15 P 16

14.00-15.30

90 / ไมถือวา ใชเวลา 90 นาที เพราะดําเนินการเปนกลุม

3 14 ก.พ. 45 IC1 ความคาดหวังและขอตกลงของผูปกครอง

PP 2 PP 9

13.30- 13.40

10 / ทําเฉพาะครอบครัว ไมมีเยาวชน

4 14 ก.พ. 45 IC 1 PP 18

13.40-14.50

70 / มีเฉพาะผูปกครอง

5 7 มี.ค. 45 IC 1 PP16 14.25-14.40

15 / มีเฉพาะผูปกครอง

Page 36: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 91

ตารางที่ 21 แสดงการจัดกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล / ครอบครัว (ตอ)

ครั้งที่

วันที ่

กิจกรรม IC

สมาชิก

เวลาเริ่ม- เวลาจบ

เวลาที่ใช

(นาที)

บรรลุวัตถ ุ

ประสงค

ไมบรรลุวัตถุ

ประสงค

หมายเหต ุ

6

19 มี.ค. 45

IC 2

P 1

14.15-14.50

35

/

7 30 พ.ค. 45 IC 10 P 1

12.00-12.45

45 ประเมิน ไมได

8 4 มิ.ย. 45 IC 6 P 1

14.30-14.50

20 /

9 4 มิ.ย. 45 IC 2 P2

14.30-14.40

10 /

10 4 มิ.ย. 45 IC 3 P2

14.40-14.50

10 /

11 4 มิ.ย. 45 IC 4 P2

14.50-15.00

10 /

12 4 มิ.ย. 45 IC 4 P8 14.30-14.40

10 /

13 4 มิ.ย. 45 IC 5 P8 14.40-14.50

10 /

14 6 ม.ิย. 45 IC 9 P1 13.00-13.30

30 /

15 11 ม.ิย. 45 IC 4 P9 14.05-14.15

10 /

16 11 ม.ิย. 45 IC 5 P9 14.15-14.30

15 /

17 11 ม.ิย. 45 IC 6 P9 14.35-14.50

15 /

18 11 ม.ิย. 45 IC 7 P9 14.50-15.05

15 /

Page 37: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 92

ตารางที่ 21 แสดงการจัดกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล / ครอบครัว (ตอ)

ครั้งที่

วันที ่

กิจกรรม IC

สมาชิก

เวลาเริ่ม- เวลาจบ

เวลาที่ใช

(นาที)

บรรลุวัตถุประสงค

ไมบรรลุวัตถุประสงค

หมายเหต ุ

19 11 มิ.ย. 45 IC 8 P9 15.05-15.15

15 /

20 11 มิ.ย. 45 IC 9 P3 14.00- ? - ประเมินไมได

21 20 มิ.ย. 45 IC เสริม PP8 12.10-13.00

40 /

22 20 มิ.ย. 45 IC 5 P8 13.00-13.15

/ (ซ้ํา)

23 20 มิ.ย. 45 IC เสริม PP3 13.15-14.00

45 /

หมายเหตุ P หมายถึง เยาวชน PP1 หมายถึง ผูปกครอง P1 หมายถึง เยาวชนหมายเลข 1 PP1 หมายถึง ผูปกครองของเยาวชนหมายเลข 1

ตารางที่ 22 แสดงการจัดกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคลและครอบครัวในแตละเดือน จําแนกตามประเด็นการเรียนรู

เดือน

IC 1 IC 2

IC 3

IC 4

IC 5

IC 6

IC 7

IC 8

IC 9

IC 10

เสริม

ก.พ. P1,P2,P3,P4,P5,P6,P7,P8,P9, P10,P12,P13P14,P15,P16,PP2, PP9, PP6, PP18

P2

มี.ค. PP16 P1 เม.ย. พ.ค. P1 มิ.ย. P2 P2 P8,

P9 P8 P9

P1 P9

P9 P9 P1, P3

Pp8, PP3

Page 38: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 93

จากตารางผลการดําเนินกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล/ครอบครัว พบวา ในเดือนที่ 1 (กุมภาพันธ) นั้นมีการดําเนินกิจกรรมฯ ครั้งที่ 1 เพียง กิจกรรมเดียวเทานั้น (อีกทั้งไมไดจัดใหกับเยาวชน ทุกคน)

ในเดือนที่ 2 (มีนาคม) มีการดําเนินกิจกรรมฯ เพียง 2 คร้ัง / 2 ราย เทานั้น เดือนที่ 3 (เมษายน) ไมไดมีการดําเนินกิจกรรมฯ แมแตคร้ังเดียว เดือนที่ 4 (พฤษภาคม) มีการดําเนินกิจกรรมฯ เพียง 1 คร้ัง /1 ราย เทานั้น เดือนที่ 5 (มิถุนายน) มีการดําเนินกิจกรรม 9 ครั้ง คือ กิจกรรมฯ ครั้งที่ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9

รวมจํานวน 12 ครั้ง / ราย และกิจกรรมฯเสริมสําหรับผูปกครอง 2 คร้ัง ซึ่งไมเปนไปตามชวงเวลาการดําเนินกิจกรรมตามที่หลักสูตรฯกําหนดจึงถือไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

เมื่อพิจารณาถึงการดําเนินการเรื่องการวิเคราะหการกลับไปติดยาซ้ํา (IC10) พบวามีรายละเอียดดังตารางดังนี้ ตารางที่ 23 แสดงผลการตรวจปสสาวะและการใหคําปรึกษารายบุคคลในเรื่องการวิเคราะหการกลับไป ติดยาซ้ํา (IC10) ของเยาวชน

ผลปสสาวะ

สัปดาห

จํานวนเยาวชนที่ไดรับการตรวจปสสาวะ(ราย) Negative (ราย) Positive (ราย)

จํานวนเยาวชนที่ไดรับการใหคําปรึกษา

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

14 4

10 6 2 2 1 6 4 2 3 3 8 7 5 6

14 4 8 6 2 1 1 6 4 2 1 3 8 7 5 5

0 0 2 0 0 1 0 0 0 0 2 0 0 0 0 1

0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

1 (50%) 0 0 0 0 0

83 77 6 1 (16.66%)

Page 39: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 94

จากตารางพบวาเมื่อเยาวชนกลับไปเสพซ้ําไดมีการดําเนินการเรื่องการวิเคราะหการกลับไปติดยาซ้ํา (IC10) เพียง 1 ครั้งเทานั้น (คิดเปนรอยละ 16.66) จึงไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดไว

จากตารางที่ 21 พบวามีการใชระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมแตละครั้งประมาณ 40-50 นาที เพียง 4 ครั้ง จากการดําเนินกิจกรรมทั้งหมด 23 คร้ัง (คิดเปนรอยละ 17.39) จึงถือวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดไว

สําหรับความครอบคลุมเนื้อหากิจกรรมการเรียนรู จากตารางที่ 21 พบวาการดําเนินกิจกรรมฯ ไมไดมีเนื้อหาครอบคลุม 10 ประเด็นการเรียนรูตามท่ีกําหนดไวสําหรับเยาวชนทุกคน จึงถือวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดไว

เมื่อพิจารณาถึงการบรรลุวัตถุประสงคการเรียนรูในแตละบท พบวาดําเนินการไดบรรลุวัตถุประสงคของการเรียนรูในแตละบทเพียง 3 คร้ัง จากการดําเนินการทั้งหมด 23 คร้ัง (คิดเปนรอยละ 13.04) จึงถือวาไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไว

สรุปไดวา การดําเนินกิจกรรมการใหคําปรึกษารายบุคคล/ครอบครัวนี้ไมมีประเด็นใดเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

การดําเนินกิจกรรมกลุมสนับสนุนทางสังคม (Social Support)

จากบันทึกการสังเกตการณของผูประเมินพบวา ผูบําบัดไดดําเนินการติดตามผลเพียง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เมื่อเดือนสิงหาคม 2545 และครั้งที่ 2 เมื่อเดือนมีนาคม 2546 แตไมไดทํากิจกรรมกลุมสนับสนุนทางสังคม (Social Support) ตามที่ระบุไว ซึ่งแสดงวาตลอดระยะเวลาการดําเนินการไมมีการทํากิจกรรมกลุมสนับสนุนทางสังคม (Social Support) เลย จึงสรุปไดวาไมผานตามที่ตัวชี้วัดกําหนดไว

2.5 การตรวจปสสาวะ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากสมุดลงทะเบียนการเขารวมกิจกรรมและการตรวจปสสาวะ และแบบบันทึกการสังเกตการณการดําเนินกิจกรรมของผูประเมิน ซึ่งพบวามีผลการประเมินดังนี้

ตารางที่ 24 แสดงจํานวนเยาวชนที่มาเขารวมกิจกรรมในแตละสัปดาห และไดรับการตรวจปสสาวะ อยางนอยสัปดาหละ 1 ครั้ง

เยาวชนที่มาเขารวมกิจกรรม (คน)

จํานวนเยาวชนที่ไดรับ การตรวจปสสาวะฯ

จํานวนเยาวชนที่ไมไดรับการตรวจปสสาวะฯ

15

5 (33.33%)

10 (66.67%)

Page 40: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 95

จากตาราง พบวา มีเยาวชนที่มาเขารวมกิจกรรมในแตละสัปดาหและไดรับการตรวจปสสาวะ ในสัปดาหนั้นๆอยางนอย 1 ครั้ง มีจํานวนเพียง 5 คน คิดเปนรอยละ 33.33 ซึ่งเมื่อพิจารณาตามตัวชี้วัด แลวพบวาไมเปนตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

ตารางที่ 25 แสดงผลการตรวจปสสาวะและการใหคําปรึกษารายบุคคลในเรื่องการวิเคราะหการกลับไปเสพซ้ํา (IC10) ของเยาวชนกลุมที่ 1

ผลปสสาวะ

สัปดาหที่

เยาวชนที่ไดรบั การตรวจปสสาวะ (ราย) Negative (ราย) Positive (ราย)

จํานวนเยาวชนที่ไดรับ การใหคําปรึกษา (รอยละ)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

9 4 8 6 2 1 1 3 2 2 2 2 5 5 5 5

9 4 8 6 2 1 1 3 2 2 - 2 5 5 5 5

- - - - - - - - - - 2 - - - - -

- - - - - - - - - -

1 (50) - - - - -

รวม 62 60 1 (50)

จากตาราง พบวา ในกลุมที่ 1 นี้ มีการตรวจปสสาวะ 16 คร้ัง จํานวน 62 ราย พบผลปสสาวะเปนบวก (Positive) 1 ครั้ง / 2 ราย แตไดมีการใหคําปรึกษารายบุคคลในเรื่องการวิเคราะหการกลับไปเสพซ้ํา (IC10) แกเยาวชนที่มีผลปสสาวะเปนบวก เพียง 1 คร้ัง / 1 ราย คิดเปนรอยละ 50

ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัด พบวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 41: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 96

ตารางที่ 26 แสดงผลการตรวจปสสาวะและการใหคําปรึกษารายบุคคลในเรื่องการวิเคราะหการกลับไปเสพซ้ํา (IC10) ของเยาวชนกลุมที่ 2

ผลปสสาวะ

สัปดาหที่

เยาวชนที่ไดรบั การตรวจปสสาวะ (ราย)

Negative (ราย)

Positive (ราย)

จํานวนเยาวชนที่ไดรับ การใหคําปรึกษา (รอยละ)

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

5 - 2 - - 1 - 3 2 - 1 1 3 2 - 1

5 - - - - - - 3 2 - 1 1 3 2 - -

- - 2 - - 1 - - - - - - - - - 1

- - 0 - - 0 - - - - - - - - -

0

รวม

21

17

-

จากตาราง พบวา ในกลุมที่ 2 นี้ มีการตรวจปสสาวะ 10 คร้ัง จํานวน 21 ราย พบผลปสสาวะเปนบวก (Positive) 3 ครั้ง / 4 ราย แตไมมีการใหคําปรึกษารายบุคคลในเรื่องการวิเคราะหการกลับไปเสพซ้ํา (IC10) แกเยาวชนที่มีผลปสสาวะเปนบวกเลยแมแตคร้ังเดียว (คิดเปนรอยละ 0)

ดังนั้นเมื่อพิจารณาตามเกณฑตัวชี้วัด พบวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 42: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 97

ตอนที่ 3 การประเมินผลการดําเนินการ

เปนการศึกษาถึงผลการดําเนินการโครงการในดานการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธผิลของ โครงการดังรายละเอียดดังนี้

ตอนที่ 3.1. การประเมินผลการดําเนินงานดานประสทิธิภาพ

เปนการศึกษาถึงผลการดําเนินการโครงการในประเด็นความพึงพอใจตอคุณภาพและรูปแบบบริการดานตางๆของโครงการตามความคิดเห็นของเยาวชนและผูปกครอง ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโครงการของผูบําบัด การอยูรวมโครงการของเยาวชนและผูปกครอง ความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยา การปองกันการกลับไปเสพซ้ํา และครอบครัวศึกษา การนําความรูดังกลาวไปใชในชีวิตประจําวัน เพื่อปองกันการกลับไปเสพยาซ้ํา การประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนเปรียบเทียบกับกอนเขารวมโครงการ โดยมีที่มาของขอมูลจากการสอบถามจากเยาวชน ผูปกครอง และผูบําบัด โดยใชแบบสอบถามความพึงพอใจตอคุณภาพและรูปแบบบริการ แบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผูบําบัด แบบวัดความรูของเยาวชนและผูปกครอง แบบประเมินองคประกอบในชีวิตดานตางๆของเยาวชน รวมทั้งเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน สมุดลงทะเบียน แบบบันทึกการสังเกตการณประจําวันของ ผูประเมิน สมุดระเบียนการตรวจปสสาวะ ซึ่งจากการศึกษาไดผลการประเมินดังนี้

3.1.1 ความพึงพอใจตอคุณภาพและรูปแบบบริการดานตางๆ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจ ตอคุณภาพและรูปแบบบริการดานตางๆที่เยาวชนและผูปกครองไดรับ ซึ่งพบวามีผลการประเมินดังนี้

ตาราง ที่ 27 แสดงความคิดเห็นของเยาวชนและผูปกครองที่เขารวมโครงการเกี่ยวกับความพึงพอใจ ตอคุณภาพและรูปแบบบริการดานตางๆที่ไดรับ จําแนกรายขอ

ระดับความพึงพอใจ (N = 14) ประเด็น นอย คอนขาง

นอย ปานกลาง

คอนขางมาก

มาก

X

ผลการประเมิน

1. รูปแบบการบําบัดรักษา (Matrix Program) สอดคลอง กบัความตองการ

1 7.14%

5 35.72%

7 50.00%

1 7.14%

3.57 คอนขางมาก

2. รูปแบบกจิกรรมที่ไดรับ (เชน กจิกรรมกลุมตางๆ) สอดคลอง กบัความตองการ

1 7.14%

3 21.43%

9 64.29%

1 7.14%

3.71 คอนขางมาก

3. เนื้อหาและรูปแบบของคูมือ ทีใ่ชในการทํากลุมมีความ เหมาะสม

5 35.72%

7 50.00%

2 14.29%

3.79 คอนขางมาก

Page 43: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 98

ตาราง ที่ 27 แสดงความคิดเห็นของเยาวชนและผูปกครองที่เขารวมโครงการเกี่ยวกับความพึงพอใจ ตอคุณภาพและรูปแบบบริการดานตางๆที่ไดรับ จําแนกรายขอ (ตอ)

ระดับความพึงพอใจ (N = 14) ประเด็น นอย คอนขาง

นอย ปานกลาง

คอนขางมาก

มาก

X

ผลการประเมิน

4. ส่ือ (วิดีทัศน ภาพพลิก) ที่ใช ในการทํากิจกรรมแตละ กจิกรรมมีความเหมาะสม

4 28.57%

8 57.14%

2 14.29%

3.86 คอนขางมาก

5. ระยะเวลาการรักษาตลอด โครงการมีความเหมาะสม

3 21.43%

3 21.43%

8 57.14%

3.36 ปานกลาง

6. หองที่ใชทํากิจกรรมกลุม มีความเหมาะสม

1 7.14%

1 7.14%

3 21.43%

6 42.86%

3 21.43%

3.64 คอนขางมาก

7. มีการจัดหองน้ําไวบริการ อยางเหมาะสม

3 21.43%

6 42.86%

4 28.57%

1 7.14%

3.21 ปานกลาง

8. การเดินทางมารวมกจิกรรม มีความสะดวก

3 21.43%

4 28.57%

4 28.57%

3 21.43%

3.50 คอนขางมาก

9. วิธีการแจงขาวสารตลอด ระยะเวลาดําเนินการมีความ เหมาะสม

1 7.14%

1 7.14%

2 14.29%

6 42.86%

4 28.57%

3.79 คอนขางมาก

10. คุณภาพบริการที่ไดรับ 1 7.14%

2 14.29%

8 57.14%

3 21.43%

3.93 คอนขางดี

11. การเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ดีขึ้นของเยาวชนภายหลัง เขารวมโครงการ

3 21.43%

6 42.86%

5 35.72%

4.14 คอนขางมาก

รวมทุกประเด็น 3.68 คอนขาง

มาก

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก, คอนขางดี 4.20-5.00 หมายถึง มาก, ดี

จากตาราง พบวา เยาวชนและผูปกครองที่อยูรวมโครงการในวันสิ้นสุดโครงการมีระดับ ความพึงพอใจโดยรวมทุกประเด็นในระดับคอนขางมาก (X=3.68) โดยเมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น พบวา เยาวชนและผูปกครองมีความพึงพอใจในประเด็นที่ (11) “การเปล่ียนแปลงในทางที่ดีขึ้นของเยาวชนภายหลังเขารวมโครงการ” ในระดับสูงสุด (X=4.14) รองลงมาเปนความพึงพอใจในประเด็นที่ (10)

Page 44: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 99

“คุณภาพบริการที่ไดรับ” (X=3.93) ประเด็นที่ (4) “ความเหมาะสมของสื่อ (วิดีทัศน ภาพพลิก) ที่ใชในการทํากิจกรรมแตละกิจกรรม” (X=3.86) ประเด็นที่ (9) “ความเหมาะสมของวิธีการแจงขาวสารตลอดระยะเวลาดําเนินการ” (X=3.79) ประเด็นที่ (2) “รูปแบบกิจกรรมที่ไดรับ (เชน กิจกรรมกลุมตางๆ)สอดคลองกับความตองการ” (X=3.71) ประเด็นที่ (7) “ความเหมาะสมของหองที่ใชทํากิจกรรมกลุม” (X=3.64) ประเด็นที่ (1) “รูปแบบการบําบัดรักษา (Matrix Program) สอดคลองกับความตองการ” (X=3.57) และประเด็นที่ (8) “ความสะดวกในการเดินทางมารวมกิจกรรม” (X = 3.50) สวนประเด็น ที่เยาวชนและผูปกครองมีระดับความพึงพอใจในระดับปานกลาง คือ ประเด็นที่ (5) “ระยะเวลาของการรักษาตลอดโครงการมีความเหมาะสม และประเด็นที่ (7) “มีการจัดหองน้ําไวบริการอยางเหมาะสม” (X=3.36 และ 3.21 ตามลําดับ)

เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวา สองประเด็นหลังนี้ไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัด จึงสรุปผล การประเมินไดวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนดเพียงบางประเด็นเทานั้น

3.1.2 ความพึงพอใจการปฏิบัติงานของผูบําบัด

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากแบบสอบถามความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของ คณะผูบําบัด ซึ่งพบวามีผลการประเมิน ดังนี้

ตารางที่ 28 แสดงความคิดเห็นของหัวหนาโครงการเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ

ประเด็น

X

ผลการประเมิน

1. หัวหนาโครงการใหกําลังใจ เปนพี่เล้ียงใหทานแกไขปญหาดวยตนเอง 4.00 คอนขางมาก 2. ทานไดรับขาวสารอยางชัดเจนจากหัวหนาโครงการ 2.00 คอนขางนอย 3. หัวหนาโครงการมีเทคนิคการเปนผูนําที่ชักจูงใหทีมงานปฏิบัติงานอยางมี ประสิทธิภาพ

4.00 คอนขางมาก

4. ทานไดรับการสนับสนุนใหแสดงความสามารถในทางสรางสรรคอยางเต็มที่ 4.00 คอนขางมาก 5. การมอบหมายงานในโครงการนี้มีระบบ แบบแผน และขัน้ตอนการปฏิบตัิงาน ที่เหมาะสม

4.00 คอนขางมาก

6. ทานเขาใจแผนการดําเนินงานเปนอยางดี 4.00 คอนขางมาก 7. การบริหารงานในโครงการนี้มีการจัดสรรเครื่องมือเครื่องใช การอํานวย ความสะดวกในการปฏิบัติงานอยางเพียงพอ

4.00 คอนขางมาก

8. ผูรวมงานไมสนับสนุนและไมใหความรวมมือในการปฏิบตัิงาน 4.00 คอนขางนอย 9. ทานมีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ 4.00 คอนขางมาก 10. ทีมงานทุกคนเปนผูที่มีความรูความสามารถอยางเพียงพอในการปฏิบตัิงาน 4.00 คอนขางมาก

Page 45: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 100

ตารางที่ 28 แสดงความคิดเห็นของหัวหนาโครงการเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ (ตอ)

ประเด็น

X

ผลการประเมิน

11. ทานไมมีปญหาใดๆในการติดตอส่ือสารกับผูรวมงาน 5.00 มาก 12. ทานไมลําบากใจที่จะใหความชวยเหลือในการปฏบิัตงิานกับผูรวมงาน 5.00 มาก 13. ทานมีความภาคภูมใิจที่ไดรวมปฏิบัติงานในโครงการ 4.00 คอนขางมาก 14. งานที่ไดรับมอบหมายมีความเหมาะสมกบัความรูความสามารถของทาน 4.00 คอนขางมาก 15. ปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความพอดีกับกําลังความสามารถของทาน 4.00 คอนขางมาก 16. ทานมีอิสระพอสมควรในการตัดสินใจและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน 5.00 มาก 17. บรรยากาศในการปฏิบัติงานเปนบรรยากาศที่ดีทําใหมีความสุขและสบายใจ 4.00 คอนขางมาก 18. ทานพึงพอใจในผลงานของทาน 4.00 คอนขางมาก 19. การปฏิบัตงิานในโครงการนี้มีการแกไข ปญหาบนพื้นฐานของความถกูตอง เสมอ

4.00 คอนขางมาก

20. ผูปฏิบัติงานในโครงการทุกคนพยายามใชขอมูลเปนพื้นฐานของการตดัสินใจ 4.00 คอนขางมาก 21. ประสานงานระหวางทีมงานและหนวยงานอื่นเปนไปอยางราบรื่น 4.00 คอนขางมาก 22. ทีมงานของทานพยายามตอบสนองความตองการของผูปวยและญาต ิ 4.00 คอนขางมาก 23. มาตรฐานเทคนิคบริการของทีมงานอยูในระดับดี 4.00 คอนขางมาก

รวมทุกดาน 4.04 คอนขางมาก

หมายเหตุ (ดานบวก) 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก

4.20-5.00 หมายถึง มาก (ดานลบ) 1.00-1.79 หมายถึง มาก 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางมาก

2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางนอย 4.20-5.00 หมายถึง นอย

จากตารางพบวา หัวหนาโครงการมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานโครงการโดยรวมทุกประเด็นอยูในระดับคอนขางมาก (X = 4.04) และเมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น พบวา มีเพียง 1 ประเด็นที่หัวหนาโครงการมีความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานโครงการอยูในระดับคอนขางนอย คือ ประเด็นที่ (2) “ทานไดรับการขาวสารอยางชัดเจนจากหัวหนาโครงการ” (X = 2.00) ซึ่งแสดงวาหัวหนาโครงการมีความคิดเห็นวา การไดรับขาวสารจากหัวหนาโครงการมีความชัดเจนคอนขางนอย

และเมื่อพิจารณาถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผูบําบัดคนอื่นๆ พบวามีรายละเอียด ดังนี้

Page 46: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 101

ตารางที่ 29 แสดงความคิดเห็นของผูบําบัดเกี่ยวกับความพงึพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ

ระดับความคิดเห็น (N = 7) ประเด็น ไมเห็นดวย

อยางยิ่ง ไม

เห็นดวย ปานกลาง

เห็นดวย เห็นดวยอยางยิ่ง

X

ผลการประเมิน

1. หัวหนาโครงการใหกําลังใจ เปนพี่เลี้ยงใหทานแกไขปญหาดวยตนเอง 2 28.57%

4 57.14%

1 14.29%

3.57 คอนขางมาก

2. ทานไดรับขาวสารอยางชัดเจนจากหัวหนาโครงการ 4 57.14%

2 28.57%

1 14.29%

3.00 ปานกลาง

3. หัวหนาโครงการมีเทคนิคการเปนผูนําที่ชักจูงใหทีมงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ 3 42.86%

1 14.29%

2 28.57%

1 14.29%

3.14 ปานกลาง

4. ทานไดรับการสนับสนุนใหแสดงความสามารถในทางสรางสรรคอยางเต็มที่ 3 42.86%

3 42.86%

1 14.29%

3.29 ปานกลาง

5. การมอบหมายงานในโครงการนี้มีระบบ แบบแผน และขัน้ตอนการปฏิบตัิงานที่เหมาะสม 5 71.43%

2 28.57%

2.57 คอนขางนอย

6. ทานเขาใจแผนการดําเนินงานเปนอยางดี 5 71.43%

1 14.29%

1 14.29%

2.43 คอนขางนอย

7. การบริหารงาน ในโครงการนี้มีการจัดสรรเครื่องมือ เครื่องใช การอํานวยความสะดวกในการ ปฏิบัติงานอยางเพียงพอ

3 42.86%

4 57.14%

3.14 ปานกลาง

Page 47: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 102

ตารางที่ 29 แสดงความคิดเห็นของผูบําบัดเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N = 7) ประเด็น ไมเห็นดวย

อยางยิ่ง ไม

เห็นดวย ปานกลาง

เห็นดวย เห็นดวยอยางยิ่ง

X

ผลการประเมิน

8. ผูรวมงานไมสนับสนุนและไมใหความรวมมือในการปฏิบตัิงาน 2 28.57%

4 57.14%

2 28.57%

3.71 คอนขางนอย

9. ทานมีโอกาสแสดงความคิดเห็นในการปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ 4 57.14%

2 28.57%

1 14.29%

3.00 ปานกลาง

10. ทีมงานทุกคนเปนผูที่มีความรูความสามารถอยางเพียงพอในการปฏิบตัิงาน 4 57.14%

2 28.57%

1 14.29%

3.00 ปานกลาง

11. ทานไมมีปญหาใดๆในการติดตอสื่อสารกับผูรวมงาน 4 57.14%

1 14.29%

1 14.29%

1 14.29%

2.86 ปานกลาง

12. ทานไมลําบากใจที่จะใหความชวยเหลือในการปฏบิัตงิานกับผูรวมงาน 1 14.29%

5 71.43%

1 14.29%

3.86 คอนขางมาก

13. ทานมีความภาคภูมใิจที่ไดรวมปฏิบัติงานในโครงการ 3 42.86%

3 42.86%

1 14.29%

3.29 ปานกลาง

14. งานที่ไดรับมอบหมาย มีความเหมาะสมกับความรูความสามารถ ของทาน 3 42.86%

3 42.86%

1 14.29%

3.29 ปานกลาง

Page 48: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 103

ตารางที่ 29 แสดงความคิดเห็นของผูบําบัดเกี่ยวกับความพงึพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N = 7) ประเด็น ไมเห็นดวย

อยางยิ่ง ไม

เห็นดวย ปานกลาง เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง

X

ผลการประเมิน

15. ปริมาณงานที่ไดรับมอบหมายมีความพอดีกับกําลังความสามารถของทาน 4 57.14%

2 28.57%

1 14.29%

3.00 ปานกลาง

16. ทานมีอิสระพอสมควรในการตัดสินใจและแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน 3 42.86%

3 42.86%

1 14.29%

3.29 ปานกลาง

17. บรรยากาศในการปฏิบัติงานเปนบรรยากาศที่ดีทําใหมีความสุขและสบายใจ 5 71.43%

1 14.29%

1 14.29%

2.71 ปานกลาง

18. ทานพึงพอใจในผลงานของทาน 5 71.43%

2 28.57%

2.57 คอนขางนอย

19. การปฏิบัตงิานในโครงการนี้มีการแกไขปญหาบนพื้นฐานของความถูกตองเสมอ 4 57.14%

1 14.29%

2 28.57%

2.71 ปานกลาง

20. ผูปฏิบัติงาน ในโครงการทุกคนพยายามใชขอมูลเปนพื้นฐานของการตดัสินใจ 4 57.14%

2 28.57%

1 14.29%

3.00 ปานกลาง

Page 49: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 104

ตารางที่ 29 แสดงความคิดเห็นของผูบําบัดเกี่ยวกับความพงึพอใจในการปฏิบัติงานโครงการจําแนกรายขอ (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N = 7) ประเด็น ไมเห็นดวย

อยางยิ่ง ไม

เห็นดวย ปานกลาง เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง

X

ผลการประเมิน

21. ประสานงานระหวาง ทีมงานและหนวยงานอื่นเปนไปอยางราบรื่น 4 57.14%

1 14.29%

2 28.57%

2.71 ปานกลาง

22. ทีมงานของทานพยายามตอบสนองความตองการของผูปวยและญาต ิ 1 14.29%

5 71.43%

1 14.29%

3.86 คอนขางมาก

23. มาตรฐานเทคนิคบริการของทีมงานอยูในระดับดี 3 42.86%

3 42.86%

1 14.29%

3.29 ปานกลาง

รวมทุกประเด็น 3.10 ปานกลาง

หมายเหตุ (ดานบวก) 1.00-1.79 หมายถึง นอย 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางนอย 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางมาก 4.20-5.00 หมายถึง มาก

(ดานลบ) 1.00-1.79 หมายถึง มาก 1.80-2.59 หมายถึง คอนขางมาก 2.60-3.39 หมายถึง ปานกลาง 3.40-4.19 หมายถึง คอนขางนอย

4.20-5.00 หมายถึง นอย

Page 50: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 105

จากตารางพบวา ผูบําบัดมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานโครงการโดยรวมทุกประเด็น อยูในระดับปานกลาง (X=3.10) และเมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น พบวาประเด็นที่ผูบําบัดมีความพึงพอใจอยูในระดับคอนขางดี คือ ประเด็นที่ (12) “ทานไมลําบากใจที่จะใหความชวยเหลือในการปฏิบัติงาน กับผูรวมงาน” (X=3.86) และประเด็นที่ (22) “ทีมงานของทานพยายามตอบสนองความตองการของผูปวยและญาติ” (X=3.86) เทากัน รองลงมาเปนประเด็นที่ (8) “ผูรวมงานไมสนับสนุนและไมใหความรวมมือ ในการปฏิบัติงาน” (X=3.71) ซึ่งแสดงวาผูบําบัดพึงพอใจวาผูรวมงานใหการสนับสนุนและใหความรวมมือในการปฏิบัติงานคอนขางดี รองลงมาอันดับ 3 คือประเด็นที่ (1) “หัวหนาโครงการใหกําลังใจ เปนพี่เล้ียง ใหทานแกไขปญหาดวยตนเอง” (X=3.57) แตมี 3 ประเด็นที่ผูบําบัดมีความพึงพอใจระดับคอนขางนอย คือ ประเด็นที่ (5) “การมอบหมายงานในโครงการนี้มีระบบ แบบแผน และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ที่เหมาะสม” (X=2.57) ซึ่งเทากับประเด็นที่ (18) “ทานพึงพอใจในผลงานของทาน” (X=2.57) ซึ่งแสดงวา ผูบําบัดเห็นวาการมอบหมายงานในโครงการนี้มีระบบ แบบแผน และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เหมาะสม ในระดับคอนขางต่ํา รวมทั้งความพึงพอใจในผลงานของตนเองก็คอนขางนอยดวย รองลงมาเปนประเด็น ที่ (6) “ทานเขาใจแผนการดําเนินงานเปนอยางดี” (X=2.43) ซึ่งแสดงวาผูบําบัดมีความเขาใจแผนการดําเนินงานคอนขางนอย

เพราะฉะนั้น จากผลการประเมินเกี่ยวกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของผูบําบัดทั้งหมด ที่กลาวมา สรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

3.1.3 การอยูรวมโครงการ

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากสมุดทะเบียนรายชื่อนักเรียนจากโรงเรียน แบบบันทึก การสังเกตการณประจําวันของผูประเมิน สมุดลงทะเบียน เอกสารการเซ็นชื่อเขารวมกิจกรรม ซึ่งพบวามีผลการประเมิน ดังนี้

Page 51: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 106

ตารางที่ 30 แสดงรายละเอียดการเขารวมกิจกรรมและการอยูรวมโครงการของเยาวชน

จํานวนกิจกรรมที่เขารวม

การเขารวมกิจกรรม

การจําหนาย

ลําดับสมาชิก

จํานวนวันที่เขารวม

โครงการ

ER (8)

RP (32)

FE (10)

IC (9)

ครบ หลักสูตร

ไมครบหลักสูตร

จบโปรแกรม

ไมจบโปรแกรม

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8 คนที่ 9 คนที่ 10 คนที่ 11 คนที่ 12 คนที่ 13 คนที่ 14 คนที่ 15 คนที่ 16 คนที่ 17 คนที่ 18

26 24 23 2 3 5 6

20 24 2 -

12 1

13 10 4 - -

8 8 8 1 2 4 3 8 8 - - 4 - 5 6 2 - -

21 21 21 1 2 4 4

21 21

- -

15 -

15 14 2 - -

10 10 10

1 3 1 3

10 10

1 - 8 1

10 5 1 - -

5 4 3 1 1 1 1 4 6 1 - 1 - 1 - 2 - -

/ / / / / / / / / / / / / / / / / /

/ / / / /

/ / / / / / / / / / / / /

ทางโรงเรียนสงรายชื่อนักเรียน (เยาวชน) เขารวมโครงการจํานวน 18 คน ซึ่งจากตารางพบวา มีเยาวชนจํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 16.67 ไมเคยเขารวมกิจกรรมโครงการเลย นั่นแสดงวาจากจํานวนรายชื่อนักเรียนที่ทางโรงเรียนสงเขารวมโครงการนั้น มีนักเรียนเขารวมโครงการ 15 คน คิดเปนรอยละ 83.33 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สวนประเด็นพิจารณาการเขารวมกิจกรรมครบหลักสูตร พบวาไมมีเยาวชนแมเพียงคนเดียว (0%) เขารวมกิจกรรมครบตามที่หลักสูตรกําหนด นอกจากนี้ยังพบวามีเยาวชน 5 คน คิดเปนรอยละ 27.78 ที่ไดรับการพิจารณาใหจบโปรแกรมการบําบัดรักษาทั้งที่เขารวมกิจกรรมไมครบตามที่หลักสูตรกําหนด ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

Page 52: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 107

ตารางที่ 31 แสดงรายละเอียดการเขารวมกิจกรรมและการอยูรวมโครงการของผูปกครอง

การเขารวมกิจกรรม

การจําหนาย

ลําดับสมาชิก

จํานวนวัน ที่เขารวมโครงการ

จํานวนกิจกรรมครอบครัว

ที่เขารวม (FE) ครบ

หลักสูตร ไมครบ หลักสูตร

จบ โปรแกรม

ไมจบโปรแกรม

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8 คนที่ 9 คนที่ 10 คนที่ 11 คนที่ 12 คนที่ 13 คนที่ 14 คนที่ 15 คนที่ 16 คนที่ 17 คนที่ 18

10 6 4 - - 1 1 6 2 2 - 5 1 7 - 4 - 1

10 8 6 - - 1 1 7 5 4 - 5 2 7 - 4 - 1

/

/ / / / / / / / / / / / / / / /

/ / / / /

/ / / / / / / / / / / / /

ทางโรงเรียนสงรายชื่อนักเรียนเขารวมโครงการจํานวน 18 คน ซึ่งหมายความวาจะตองมีผูปกครองเขารวมโครงการอยางนอย 18 คน หรือ 18 ครอบครัว แตจากตารางพบวา มีผูปกครองจํานวน 5 คน คิดเปนรอยละ 27.78 ไมเคยเขารวมโครงการเลย นั่นแสดงวาตลอดระยะเวลาดําเนินโครงการนี้มีผูปกครองเขารวมโครงการเพียง 13 คน คิดเปนรอยละ 72.22 ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

และยังพบวามีผูปกครองเพียง 1 คน เทานั้น (คิดเปนรอยละ 5.56) ที่เขารวมกิจกรรมการเรียนรู ครบตามที่หลักสูตรกําหนด แตพบวามีผูปกครอง 5 คน (คิดเปนรอยละ 27.78) ที่ไดรับการพิจารณาใหจบโปรแกรมการรักษา ซึ่งในจํานวนนั้นมีผูปกครองจํานวน 4 คน ที่ไดรับการพิจารณาใหจบโปรแกรมการรักษา

Page 53: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 108

ทั้งที่เขารวมกิจกรรมไมครบตามที่หลักสูตรกําหนด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาไมเปนตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สรุปไดวา จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาการอยูรวมโครงการไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

3.1.4 ทักษะเบื้องตนในการเลิกยา การปองกันการกลับไปเสพซํ้า และครอบครัวศกึษา

ประเด็นประเมินนี้ผูประเมินไดศึกษาจากแบบวัดความรูเร่ืองทักษะเบื้องตนในการเลิกยา และการปองกนัการกลับไปเสพซ้ําของเยาวชน สมุดระเบียนการตรวจปสสาวะ สุมดทะเบยีน แบบวัดความรูเร่ืองการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาของผูปกครอง รวมทั้งแบบสอบถามความคิดเห็นของเยาวชนและผูปกครองเกี่ยวกับการประเมนิองคประกอบในชีวิตดานตางๆของเยาวชนเมื่อจบโปรแกรมการบําบัดรักษาเปรียบเทียบกับชีวิตชวงการเขารวมโครงการ ซึ่งพบวามีผลการประเมิน ดงันี้

ตารางที่ 32 แสดงความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกนัการกลับไปเสพซ้ําของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษา (ขอมูล ณ วนัที่จบโปรแกรม 13 -20 มิถุนายน 2545)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 13.8 (คิดเปน 69%)

0-7 8-9

10-13 14-15 16-20

- - 2 2 1

- -

40 40 20

จากตารางพบวาเยาวชนที่จบโปรแกรมการบาํบัดรักษาสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตน ในการเลิกยาและการปองกันการกลับไปเสพซ้ําอยูในชวง 50-69% และ 70-79% เทาๆกัน (กลุมละรอยละ 40) ซึ่งแสดงวาเยาวชนฯมีความรูเร่ืองดังกลาวอยูในระดับปานกลางและระดับดี โดยมคีาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 13.8 หรือคิดเปน 69% รองลงมา พบวารอยละ 20 ของเยาวชนฯมีความรูฯอยูในชวง 80%ขึ้นไป

ซึ่งแสดงวามีความรูอยูในระดับดีมาก

เมื่อพิจารณาตามเกณฑที่กําหนดตามตัวชี้วัด พบวา มีเยาวชนฯ มีความรูเร่ืองดังกลาวตามเกณฑที่กําหนด คือ ระดับดี (อยางนอย 70%ขึ้นไป) 3 คน คิดเปนรอยละ 60 ของเยาวชนฯ ทั้งหมด ซึ่งแสดงวา ยังมีเยาวชนฯมีความรูฯต่ํากวาเกณฑที่กําหนดอีกรอยละ 40 ซึ่งจากผลการประเมินจึงสรุปไดวาไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สวนในเรื่องการตรวจหาสารเสพติดในปสสาวะของเยาวชนแตละคนตลอดระยะเวลาการดําเนินโครงการนั้น พบวา มีผลดังนี้

Page 54: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 109

ตารางที่ 33 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการตรวจและผลการตรวจปสสาวะของเยาวชนที่เขารวมโครงการ

ผลการตรวจ ลําดับสมาชิก

เวลาการเขารวมโครงการ (สัปดาห)

ไดรับการตรวจ

ปสสาวะ (ครั้ง)

ไมไดรับการตรวจปสสาวะ (ครั้ง)

Negative (ครั้ง)

Positive (ครั้ง)

หมายเหต ุ

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5 คนที่ 6 คนที่ 7 คนที่ 8 คนที่ 9 คนที่ 10 คนที่ 11 คนที่ 12 คนที่ 13 คนที่ 14 คนที่ 15 คนที่ 16 คนที่ 17 คนที่ 18

14 14 11 2 3 3 5 10 12 2 - 8

1 9

6 4 - -

12 11 11 2 3 3 4 8 9 1 - 7

1 6

4 2 - -

2 3 - - - - 1 2 3 1 - 1 - 3

2 2 - -

11(91.67%) 11 (100%) 11 (100%) 2 (100%) 3 (100%) 3 (100%) 4 (100%) 7 (87.5%) 9 (100%) 1 (100%)

- 6 (85.71%)

1 (100%)

5 (83.33%)

4 (100%) 0 (0%)

- -

1 (8.33%) - - - - - -

1 (12.5%) - - -

1 (14.29%) -

1 (16.67%) -

2 (100%) - -

จบโปรแกรมฯ จบโปรแกรมฯ จบโปรแกรมฯ จบโปรแกรมฯ จบโปรแกรมฯ ไมเคยขารวมโครงการ อยูบําบัดจนเดือนสุดทาย อยูบําบัดในเดือน สุดทาย และ Pos.ในเดือนสุดทาย ไมเคยขารวมโครงการ ไมเคยขารวมโครงการ

จากตารางพบวาไมมีเยาวชนคนใดที่มีผลปสสาวะเปนบวกเกิน 8 คร้ัง โดยเฉพาะเยาวชนที่ผูบําบัดพิจารณาใหจบโปรแกรมการบําบัดรักษา แตก็มีเยาวชนเพียง 1 คน ที่มีผลการตรวจปสสาวะเปนบวก (Positive) คิดเปนรอยละ 100 ของการตรวจทั้งหมด และมีเยาวชนเพียง 1 คน เชนกัน ที่พบวามีผลปสสาวะเปนบวกในเดือนสุดทายของการบําบัด

Page 55: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 110

ซึ่งผลการประเมินในเรื่องนี้ไมสามารถระบุไดวาเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนดหรือไม เนื่องจากไมมีการตรวจปสสาวะของเยาวชนแตละคนอยางตอเนื่องตามที่โปรแกรมการบําบัดรักษารูปแบบจิตสังคมบําบัด (Matrix Program) กําหนด

สวนประเด็นการประเมินเกี่ยวกับองคประกอบชีวิตดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัด รักษา พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 34 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการ ตามความคิดเห็นของเยาวชนจําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 3 60.00%

2 40.00%

2.80 เหมือน เดิม

-

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

3 60.00%

2 40.00%

4.40 ดีขึ้นมาก

-

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่าบาํบัดรกัษา

1 20.00%

4 80.00%

4.80 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอื่นๆ

3 60.00%

1 20.00%

1 20.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

2 40.00%

3 60.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

6. ดาน สุขภาพจิต 3 60.00%

2 40.0%

4.40 ดีขึ้นมาก

7. ดานสุขภาพกาย 1 20.00%

2 40.00%

2 40.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

8. ดานการจัดการ จัดการหรือแกไข ปญหาที่เกิดขึ้น

2 40.00%

1 20.00%

2 40.00%

4.00 ดีขึ้น -

9. ดานปญหาทาง กฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

Page 56: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 111

ตาราง ที่ 34 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการ ตามความคิดเห็นของเยาวชนจําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

10. ดาน พฤติกรรม ที่ไมเหมาะสม อื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

3.80 ดีขึ้น ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.86 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษามีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตโดยรวมในทุกดานเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการพบวาอยูในระดับดีขึ้น และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา เยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 4 ดาน โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด คือ ดานการใชยาเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาอยูในระดับดีขึ้นมาก (X=4.80) นั่นคือ เยาวชนแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย รองลงมาเปนอันดับ 2 คือ องคประกอบชีวิตดานความสัมพันธในครอบครัว ซึ่งมีคะแนนเทากับดานสุขภาพจิต (X=4.40) และรองอันดับ 3 คือ ดานสุขภาพกาย (X=4.20) นั่นคือ เยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีความสัมพันธในครอบครัว สุขภาพจิต และ สุขภาพกายดีขึ้นมากเมื่อเทียบกับกอนการเขารวมโครงการ

นอกจากนี้ยังพบวาเยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตอื่นๆอยูในระดับดีขึ้น คือ ดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (X=4.00) ดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ) (X=3.80) ซึ่งแสดงวาเยาวชนมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมลดลง แตมีเยาวชน 1 คน (รอยละ 20) มีความคิดเห็นวาองคประกอบดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมเพิ่มขึ้น และดานการใชสารเสพติดชนิดอื่นๆ ซึ่งเทากับดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (X=3.6) นั่นคือ เยาวชนดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลนอยลงเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการ นอกจากนี้ยังพบวา มีอีก 2 ดานที่เยาวชนเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตที่ไมเปล่ียนแปลงเมื่อเทียบกับกอนการเขาโครงการ คือ ดานปญหาทางกฎหมาย (X=3.00) นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมาย

Page 57: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 112

มากอนและปจจุบันก็ยังคงไมมี และดานการเรียน (X=2.80) นั่นคือ เยาวชนมีความคิดเห็นวาองคประกอบชีวิตดานการเรียนก็ยังคงเดิม แตก็พบวามีเยาวชนถึง 3 คน (รอยละ 60) มีความคิดเห็นวาองคประกอบชีวิตดานการเรียนของตนแยลงกวากอนการเขารวมโครงการ จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัด

นอกจากความคิดเห็นของเยาวชนแลว พบวาผูปกครองตางมีความคิดเห็นดังรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 35 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเห็นของผูปกครอง จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

4.00 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

3 60.00%

2 40.00%

4.40 ดีขึ้นมาก

-

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิดที่ มาบําบัดรักษา

1 20.00%

4 80.00%

4.80 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

3 60.00%

1 20.00%

1 20.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

2 40.00%

2 40.00%

1 20.00%

3.80 ดีขึ้น ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 1 20.00%

2 40.00%

2 40.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

7. ดานสุขภาพกาย 1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

4.00

ดีขึ้น -

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

4 80.00%

1 20.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

Page 58: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 113

ตารางที่ 35 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเห็นของผูปกครอง จําแนกรายดาน(ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

9. ดานปญหาทาง กฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคนื ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

2 40.00%

2 40.00%

1 20.00%

3.80 ดีขึ้น ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.98 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษามีความคิดเห็นวาเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษามีองคประกอบชีวิตโดยรวมในทุกดานเมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการอยูในระดับดีขึ้น และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา ผูปกครองฯมีความคิดเห็นวาเยาวชนฯมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 4 ดาน โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด คือ ดานการใชยาเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาอยูในระดับ ดีขึ้นมาก (X=4.80) นั่นคือ เยาวชนฯแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย รองลงมาเปนอันดับ 2 คือ องคประกอบชีวิตในดานความสัมพันธในครอบครัว (X=4.20) และรองอันดับ 3 คือ ดานสุขภาพจิต ซึ่งมีคะแนนเทากับดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (X=4.20) นั่นคือ ผูปกครองฯมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีความสัมพันธในครอบครัว สุขภาพจิต และการจัดการและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดดีขึ้นมาก เมื่อเทียบกับกอนเขารวมโครงการ

นอกจากนี้ยังพบวาผูปกครองฯมีความคิดเห็นวาเยาวชนฯมีองคประกอบชีวิตอื่นๆอยูในระดับดีขึ้น คือ ดานการเรียน ซึ่งเทากับดานสุขภาพกาย (X=4.00) ดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ซึ่ง เทากับดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ) (X=3.80) และดานการใชสารเสพติดชนิดอื่นๆ (X=3.60) และโดยมีเพียง 1 ดานเทานั้นที่ผูปกครองฯเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตที่ไมเปล่ียนแปลงเมื่อเทียบกับกอนเขาโครงการ คือ ดานปญหาทางกฎหมาย(X=3.00) นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอนและปจจุบันก็ยังคงไมมี

Page 59: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 114

จากที่กลาวมา พอจะสรุปไดวา ประเด็นประเมินเกี่ยวกับองคประกอบชีวิตดานตางๆของเยาวชน ที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษา นั้นเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

นอกจากประเด็นการวัดความรูของเยาวชนแลว ผูประเมินไดประเมินความรูของผูปกครองเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาดวย ซึ่งพบวามีผลการประเมิน ดังนี้

ตารางที่ 36 แสดงความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาของผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษา (ขอมูล ณ วันที่จบโปรแกรม 13 – 20 มิถุนายน 2545)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 7.8 (คิดเปน 55.71%)

0-5 6

7-9 10-11 12-14

- 1 3 1 -

- 20 60 20 -

จากตาราง พบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาสวนใหญมีความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาอยูในชวง 50-69% (รอยละ 60) ซึ่งแสดงวาผูปกครองฯ มีความรูดังกลาวอยูในระดับปานกลาง รองลงมา พบวารอยละ 20 ของผูปกครองฯมีความรูฯอยูในชวง 40-49% และ 70-79% เทาๆกัน ซึ่งแสดงวามีความรูฯอยูในระดับควรปรับปรุงและดีเทาๆกัน โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 7.8 หรือคิดเปน 55.71%

เมื่อพิจารณาตามเกณฑที่กําหนดตามตัวชี้วัด พบวา มีผูปกครองฯ มีความรูฯตามเกณฑที่กําหนด คือระดับดี (อยางนอย 70%ขึ้นไป) เพียง 1 คน คิดเปนรอยละ 20 ของผูปกครองฯทั้งหมด ซึ่งแสดงวายังมีผูปกครองฯมีความรูเร่ืองดังกลาวต่ํากวาเกณฑที่กําหนดอีกรอยละ 80 ซึ่งจากผลการประเมินนี้จึงสรุปไดวาไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตอนที่ 3.2. การประเมินผลการดําเนินงานดานประสทิธิผล

เปนการศึกษาถึงผลการดําเนินการโครงการในประเด็นทักษะเบื้องตนในการเลิกยา การปองกันการกลับไปเสพซ้ํา และครอบครัวศึกษา โดยศึกษาจากแบบวัดความรูของเยาวชนเรื่องทักษะเบื้องตน ในการเลิกยาและการปองกันการกลับไปเสพซ้ํา แบบวัดความรูของผูปกครองเรื่องการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษา แบบวัดความรูของเยาวชนและผูปกครองเกี่ยวกับการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวัน แบบสอบถามความคิดเห็นของเยาวชนและผูปกครองเกี่ยวกับ การประเมินองคประกอบในชีวิตดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการ รวมทั้งเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน ระเบียนการตรวจปสสาวะ ซึ่งพบวามีผลการประเมินดังนี้

Page 60: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 115

ตารางที่ 37 แสดงความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกนัการกลับไปเสพซ้ําของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 1(หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 12.8 (คิดเปน 64%)

0-7 8-9

10-13 14-15 16-20

- - 3 1 1

- -

60 20 20

จากตาราง พบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) สวนใหญ (รอยละ 60) มีความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกันการกลับไปเสพซ้ําอยูในชวง 50-69% ซึ่งแสดงวาเยาวชนฯยังคงมีความรูเร่ืองดังกลาว อยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 12.8 หรือคิดเปน 64% รองลงมาพบวาเยาวชน รอยละ 20 (กลุมละ 1 คน) มีความรูฯอยูในชวง 70-79% ซึ่งเทากับชวง 80% ขึ้นไป ซึ่งแสดงวาเยาวชน ยังมีความรูฯอย ูในระดับดีและดีมากเทาๆกัน

และเมื่อทําการประเมินความรูของเยาวชนเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกันการกลับไปเสพซ้ําในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 38 แสดงความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกนัการกลับไปเสพซ้ําของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน)

ระดับคะแนน คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 13.8 (คิดเปน 69%)

0-7 8-9

10-13 14-15 16-20

- - 2 2 1

- -

40 40 20

จากตารางพบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) สวนใหญ (รอยละ 40) มีความรูเกี่ยวกับทักษะเบื้องตนในการเลิกยาและการปองกันการกลับไปเสพซ้ําอยูในชวง 50-69% และ 70-79% เทาๆกัน ซึ่งแสดงวาเยาวชนฯยังคงมีความรูเร่ืองดังกลาวอยูในระดับปานกลางและดี เทาๆกัน โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 13.8 หรือ

Page 61: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 116

คิดเปน 69% รองลงมาพบวาเยาวชนฯรอยละ 20 (1 คน) มีความรูฯอยูในชวง 80% ขึ้นไป ซึ่งแสดงวาเยาวชนยังมีความรูอย ูในระดับดีมาก

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวา ความรูของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สวนประเด็นความรูของผูปกครองที่จบโปรแกรมพบวามีผลการประเมินดังนี้

ตารางที่ 39 แสดงความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาของผูปกครองที่จบ โปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 1(หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 9.4 (คิดเปน 67.14%)

0-5 6

7-9 10-11 12-14

- - 2 3 -

- -

40 60 -

จากตารางพบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) สวนใหญ (รอยละ 60) มีความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ํา และครอบครัวศึกษาอยูในชวง 70-79% ซึ่งแสดงวาผูปกครองฯยังคงมีความรูเร่ืองดังกลาวอยูในระดับดีรองลงมาพบวาผูปกครองฯรอยละ 40 มีความรูฯอยูในชวง 50-69% ซึ่งแสดงวาผูปกครองฯยังมีความรูฯ อย ูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 9.4 หรือคิดเปน 67.14%

และเมื่อทําการประเมินความรูของผูปกครองเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 40 แสดงความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาของผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 7.4 (คิดเปน 52.86%)

0-5 6

7-9 10-11 12-14

1 - 4 - -

20 -

80 - -

Page 62: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 117

จากตารางพบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) สวนใหญ (รอยละ 80) มีความรูเกี่ยวกับการปองกันการกลับไปเสพซ้ําและครอบครัวศึกษาอยูในชวง 50-69% ซึ่งแสดงวาผูปกครองฯยังคงมีความรูดังกลาวอยูในระดับปานกลาง โดยมีคาเฉลี่ยของคะแนนเทากับ 7.4 หรือคิดเปน 52.86% และยังพบวามีผูปกครองฯรอยละ 20 มีความรูฯอยูในระดับต่ํากวา 40% ซึ่งแสดงวาผูปกครองฯยังคงมีความรูฯอย ูในระดับควรปรับปรุงอยางยิ่ง

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวา ความรูของผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับประเด็นการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของเยาวชน ที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 41 แสดงคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของเยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล คร้ังที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 16.8 (คิดเปน 67.2%)

0-9 10-12 13-17 18-19 20-25

- - 3 1 1

- -

60 20 20

จากตาราง พบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล ครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) สวนใหญ คือ 3 คน (รอยละ 60) มีคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวม โครงการไปใชในชีวิตประจําวันอยูในระดับปานกลาง มีเยาวชนมีคะแนนฯอยูในระดับดี 1 คน (รอยละ 20) และระดับดีมาก จํานวน 1 คน (รอยละ 20) เชนกัน

ซึ่งเมื่อพิจารณาแลวพบวามีเยาวชนเพียง 2 คนเทานั้นที่ไดคะแนนมากกวา 70%

และเมื่อทําการประเมินการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) พบวามีรายละเอียดดังนี้

Page 63: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 118

ตารางที่ 42 แสดงคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของเยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล คร้ังที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 15.8 (คิดเปน 63.2%)

0-9 10-12 13-17 18-19 20-25

- 1 3 1 -

- 20 60 20 -

จากตารางพบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 สวนใหญ คือ 3 คน (รอยละ 60) มีคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิต ประจําวันอยูในระดับปานกลาง โดยที่มีเยาวชน 1 คน (รอยละ 20) ไดคะแนนอยูในระดับดี และ 1 คน (รอยละ 20) ไดคะแนนอยูในระดับควรปรับปรุง

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวา การนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลนั้น ไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับประเด็นการนําความรูที่ เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของผูปกครองที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 43 แสดงคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของ ผูปกครองที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล คร้ังที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 9.4 (คิดเปน 58.75%)

0-6 7

8-11 12

13-16

- - 5 - -

- -

100 - -

Page 64: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 119

จากตาราง พบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล ครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) ทุกคน (รอยละ 100) มีคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันอยูในระดับปานกลาง ซึ่งอยูในระดับต่ํากวาเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

และเมื่อทําการประเมินการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวัน ของผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6เดือน) พบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 44 แสดงคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของผูปกครองที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล คร้ังที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน)

ระดับความรู คะแนน จํานวน (คน) รอยละ

ควรปรับปรุงอยางยิ่ง (ต่ํากวา 40%) ควรปรับปรุง (40-49%) ปานกลาง (50-69%) ดี (70-79%) ดีมาก (80%ขึ้นไป)

X = 10.8 (คิดเปน 67.5%)

0-6 7

8-11 12

13-16

- - 3 2 -

- -

60 20 -

จากตารางพบวา ผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 สวนใหญ คือ 3 คน (รอยละ 60) มีคะแนนการนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิต ประจําวันอยูในระดับปานกลาง โดยที่มีผูปกครอง 2 คน (รอยละ 40) ไดคะแนนอยูในระดับดี

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวา การนําความรูที่เรียนรูจากการเขารวมโครงการไปใชในชีวิตประจําวันของผูปกครองที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลนั้น ไมเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

เมื่อพิจารณาถึงการใชสารเสพติดของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะ ติดตามผล พบวามีรายละเอียดดังนี้

Page 65: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 120

ตารางที่ 45 แสดงผลการตรวจปสสาวะของเยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล

การติดตามผลครั้งที่ 1

การติดตามผลครั้งที่ 2

ลําดับสมาชิก Negative Positive Negative Positive

คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 คนที่ 4 คนที่ 5

/ / / / /

- - - - -

/ / / / /

- - - - -

รวม 5 คน (100%) - 5 คน (100%) -

จากตาราง พบวา ผลการตรวจปสสาวะของเยาวชนที่จบโปรแกรมในวันที่นัดมาพบเพื่อติดตามผลการรักษา พบวา ไมมีเยาวชนคนใดมีผลปสสาวะเปนบวกทั้งในการติดตามผลครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2

แตจากการสัมภาษณขอมูลเพิ่มเติมจากเยาวชน พบวา เยาวชนใหการยอมรับเกี่ยวกับการใชสารเสพติด ดังนี้

ตารางที่ 46 แสดงผลการยอมรับการใชยาเสพติดของเยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล

การติดตามผลครั้งที่ 1 (N =5)

การติดตามผลครั้งที่ 2 (N =5)

ประเภทยาเสพติด

จํานวน (คน) รอยละ จํานวน (คน) รอยละ

บุหรี่ สุรา / เครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล ยาบา สารระเหย ยาแกไอ กัญชา เฮโรอีน

4 4 - - 2 1 -

80 80 - -

40 20 -

5 4 - - - 1 -

100 80 - - -

20 -

จากตาราง พบวา เมื่อติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) พบวา เยาวชน รอยละ 80 ยอมรับวาที่ผานมายังคงใชบุหรี่และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล และยังพบวามีเยาวชนอีกรอยละ 40 มีการทดลองใชยาแกไอ และอีกรอยละ 20 ยังคงใชกัญชาอยางตอเนื่อง

Page 66: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 121

เมื่อติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) พบวา เยาวชนทุกคน (รอยละ 100) ยอมรับวามีการใชบุหรี่ และเยาวชน รอยละ 80 ยอมรับวาที่ผานมายังคงดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล และยังพบวามีเยาวชนอีกรอยละ 20 ยังคงใชกัญชาอยางตอเนื่อง

จากที่กลาวมาทั้งหมด สรุปไดวา การปลอดสารเสพติดของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลนั้นไมเปนไปตามที่ตัวชี้วัดกําหนด

สําหรับผลการประเมินองคประกอบชีวิตดานตางๆของเยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาพบวามีรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 47 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของเยาวชน จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน

1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

3.00 เหมือน เดิม

-

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่า บําบัดรักษา

1 20.00%

1 20.00%

3 60.00%

4.40 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

2 40.00%

3 60.00%

2.60 เหมือน เดิม

ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

3.20 เหมือน เดิม

ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 4 80.00%

1 20.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

7. ดานสุขภาพกาย 3 60.00%

2 40.00%

3.40 ดีขึ้น -

Page 67: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 122

ตาราง ที่ 47 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของเยาวชน จําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

2 40.00%

3 60.00%

3.60 ดีขึ้น -

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคนื ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

1 20.00%

2 40.00%

2 40.00%

3.20 เหมือน เดิม

ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.44 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) มีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดาน เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการอยูในระดับดีขึ้น (X = 3.44) และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา เยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 2 ดาน โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด คือ ดานการใชสารเสพติดชนิดที่มีบําบัดรักษา (X = 4.40) นั่นคือ เยาวชนแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย คะแนนรองลงมา คือ ดานสุขภาพจิต (X = 4.20) ซึ่งแสดงวาเยาวชนมีสุขภาพจิตดีขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับกอนชวงเขาโครงการ

สวนองคประกอบชีวิตอื่นๆที่เยาวชนมีความคิดเห็นวาอยูในระดับดีขึ้น คือ ดานความสัมพันธ ในครอบครัว (X = 3.80) ดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น (X = 3.60) และดานสุขภาพกาย (X = 3.40)

Page 68: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 123

นอกจากนี้ยังพบวายังมีองคประกอบชีวิตอีก 5 ดานที่เยาวชนเห็นวาไมมีความเปลี่ยนแปลง เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขาโครงการ คือ ดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล (X = 3.20) ซึ่งมีคะแนนเทากับดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมอื่นๆ (เชน การเลนการพนัน การพูดโกหก การเที่ยวกลางคืน การลักขโมย ฯลฯ) โดยมีเยาวชนรอยละ 20 ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล และมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมมากขึ้นกวากอนเขารวมโครงการ ประเด็นที่มีคะแนนรองลงมา คือ องคประกอบชีวิตดานปญหากฎหมาย (X = 3.00) นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอนและปจจุบันก็ไมมี ซึ่งมีคะแนนเทากับองคประกอบชีวิตดานการเรียน ที่แมการแปลผลคะแนนโดยรวม แลวจะไมแตกตางจากกอนเขารวมโครงการ แตพบวามีเยาวชนรอยละ 20 มีความคิดเห็นวาองคประกอบชีวิตดานการเรียนของตนแยลงกวาเมื่อกอนเขาโครงการ สวนประเด็นที่มีคะแนนเปนอันดับ 3 คือ องคประกอบชีวิตดานการใชยาเสพติดชนิดอื่นๆ (X = 2.60) ที่แมการแปลผลคะแนนโดยรวมแลวจะไม แตกตางจากกอนเขารวมโครงการ แตพบวามีเยาวชนถึงรอยละ 40 ที่มีการใชยาเสพติดชนิดอื่นเพิ่มขึ้นกวากอนเขาโครงการ

ตารางที่ 48 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของเยาวชน จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 2 40.00%

2 40.00%

1 20.00%

3.40 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

4 80.00%

1 20.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่า บําบัดรักษา

1 20.00%

4 80.00%

4.80 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

1 20.00%

2 40.00%

2 40.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

1 20.00%

1 20.00%

2 40.00%

1 20.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 4 80.00%

1 20.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

Page 69: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 124

ตารางที่ 48 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของเยาวชน จําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

7. ดานสุขภาพกาย 1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

4.00 ดีขึ้น -

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

4 80.00%

1 20.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคนื ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

3.80 ดีขึ้น ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.88 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เยาวชนที่จบโปรแกรมการบําบัดรักษาและอยูในระยะติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) มีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดาน เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการอยูในระดับดีขึ้น (X = 3.88) และเมื่อพิจารณารายดานพบวา เยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 4 ดาน โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด คือ ดานการใชสารเสพติดชนิดที่มีบําบัดรักษา (X = 4.80) นั่นคือ เยาวชนแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย รองลงมาซึ่งมีคะแนนเทากัน (X = 4.20) คือ องคประกอบชีวิตดานความสัมพันธ ในครอบครัว ดานสุขภาพจิต และดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ซึ่งแสดงวาเยาวชน มีความสัมพันธในครอบครัว สุขภาพจิต และการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นดีขึ้นมากเมื่อเปรียบเทียบกับกอนชวงเขาโครงการ

Page 70: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 125

นอกจากนี้ยังพบวาเยาวชนมีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตอื่นๆอยูในระดับดีขึ้น โดยดานที่มีคะแนนสูงสุดคือองคประกอบชีวิตดานสุขภาพกาย (X = 4.00) รองลงมาคือ ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่นๆ (เชน การเลนการพนัน การพูดโกหก การเที่ยวกลางคืน การลักขโมย ฯลฯ) นั่นคือ เยาวชนมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมลดลง แตก็พบวาในประเด็นนี้มีเยาวชนอีกรอยละ 20 ยังคงมีพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมมากขึ้นกวาเมื่อกอนเขาโครงการ สวนประเด็นที่มีคะแนนรองอันดับ 3 ซึ่งมี 2 ดานที่มีคะแนนเทากัน (X = 3.60) คือการใชสารเสพติดชนิดอื่นๆและดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล นั่นคือ เยาวชนลดการใชสารเสพติดชนิดอื่นและดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลนอยลงเมื่อเปรียบเทียบกับกอนเขาโครงการ แตก็ยังพบวายังมีเยาวชนอีกรอยละ 20 ใชสาร เสพติดชนิดอื่นและดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับกอนเขาโครงการ สวนประเด็นที่มีคะแนนเปนอันดับ 4 คือ องคประกอบดานการเรียน (X = 3.40) แสดงวาเยาวชน มีองคประกอบดานการเรียนดีขึ้น แตในขณะเดียวกันก็พบวายังมีเยาวชนอีกรอยละ 40 ที่มีความคิดเห็นวาตนเองมีองคประกอบชีวิตดานการเรียนแยลงกวากอนเขาโครงการ

สวนองคประกอบชีวิตที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง คือ องคประกอบชีวิตดานกฎหมาย นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอนและปจจุบันก็ไมมี

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตารางที่ 49 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของผูปกครอง จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

1 20.00%

1 20.00%

3 60.00%

3.40 ดีขึ้น -

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่าบาํบัดรกัษา

1 20.00%

1 20.00%

3 60.00%

4.40 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

2 40.00%

3 60.00%

2.60 เหมือนเดิม

ใช นอยลง

Page 71: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 126

ตารางที่ 49 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของผูปกครอง จําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

2 40.00%

3 60.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

7. ดานสุขภาพกาย 1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

3.80 ดีขึ้น -

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

1 20.00%

1 20.00%

3 60.00%

4.20 ดีขึ้นมาก

ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.64 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เมื่อติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) ผูปกครอง มีความคิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดานเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการอยูในระดับดีขึ้น (X = 3.64) และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา ผูปกครองมีความเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 2 ดาน โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด คือ ดานการใชสารเสพติดชนิดที่มีบําบัดรักษา (X = 4.40) แสดงวา ผูปกครองมีความคิดเห็นวาเยาวชนแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย

Page 72: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 127

เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการ คะแนนรองลงมา คือดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ) (X = 4.20) ซึ่งแสดงวาผูปกครองมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมลดลงมากเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการ แตในขณะเดียวกันก็พบวา ยังมีผูปกครองอีกรอยละ 20 ที่มีความคิดเห็นวาเยาวชนมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการ

นอกจากนี้ยังมีองคประกอบชีวิตอีก 6 ดานที่ผูปกครองมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีในระดับดีขึ้น โดยดานที่มีคะแนนสูงสุด 4 ดานที่มีคะแนนเทากัน (X = 3.80) คือ ดานการเรียน ดานสุขภาพกาย ดานสุขภาพจิต และดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น รองลงมาคือ ดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่ม ที่มีสวนผสมของแอลกอฮอล (X = 3.60) และดานความสัมพันธในครองครัว (X = 3.40) ซึ่งแสดงวา ผูปกครองมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตดานการเรียน ดานสุขภาพกาย สุขภาพจิต ดานสัมพันธภาพในครอบครัวดีขึ้น และดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลลดลง เมื่อ เปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการ แตในขณะเดียวกัน ก็พบวา ยังมีผูปกครองอีกรอยละ 20 ที่มีความคิดเห็นวาเยาวชนมีการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดแยลงกวาเดิม และอีกผูปกครองรอยละ 40 มีความคิดเห็นวาเยาวชนมีสัมพันธภาพในครอบครัวแยลงกวาเดิม เมื่อเปรียบเทียบกับกอนเขารวมโครงการ

สวนดานที่ผูปกครองเห็นวาไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย คือ องคประกอบชีวิตดานปญหากฎหมาย (X = 3.00) นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอนและปจจุบันก็ไมมี

ตาราง ที่ 50 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของผูปกครอง จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 1 20.00%

1 20.00%

3 60.00%

3.40 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่าบาํบัดรกัษา

5 100.0%

5.00 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

3 60.00%

2 40.00%

3.80 ดีขึ้น ใช นอยลง

Page 73: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 128

ตารางที่ 50 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชวีติชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเห็นของผูปกครอง จําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

3 60.00%

1 20.00%

1 20.00%

3.60 ดีขึ้น ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

7. ดานสุขภาพกาย 1 20.00%

3 60.00%

1 20.00%

4.00 ดีขึ้น -

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

1 20.00%

4 80.00%

3.80 ดีขึ้น -

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100.0%

3.00 เหมือนเดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

2 40.00%

1 20.00%

2 40.00%

3.60 ดีขึ้น ลดลง

รวมทุกประเด็น 3.78 ดีขึ้น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เมื่อทําการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) ผูปกครอง มีความคิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดานเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการอยูในระดับดีขึ้น (X = 3.78) และเมื่อพิจารณารายดาน พบวาผูปกครองมีความเห็นวาเยาวชน มีองคประกอบชีวิตดีดานการใชสารเสพติดชนิดที่มีบําบัดรักษาดีขึ้นมาก (X = 5.00) นั่นคือ ผูปกครอง มีความคิดเห็นวาเยาวชนแทบจะไมใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษาเลย

Page 74: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 129

สวนองคประกอบชีวิตดานอื่นๆนั้น ผูปกครองมีความคิดเห็นวาอยูในระดับดี โดยดานที่มีคะแนน สูงสุด คือ ดานสุขภาพกาย รองลงมาอีก 5 ดาน ซึ่งมีคะแนนเทากัน (X = 3.80) คือ ดานความสัมพันธ ในครอบครัว ดานสุขภาพจิต ดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และดานการการใชสารเสพติด ชนิดอื่น รองลงมา คือ ดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม (X = 3.60) และองคประกอบชีวิตดานการเรียน (X = 3.40) นั่นคือ ผูปกครองมีความคิดเห็นวาเยาวชนของตนมีความสัมพันธในครอบครัวมีสุขภาพจิต การเรียน การจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดดีขึ้น รวมท้ังมีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม และการใชสาร เสพติดชนิดอื่นนอยลงเมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการ แตในขณะเดียวกันก็ยังมีผูปกครอง อีกรอยละ 40 มีพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมมากขึ้น และผูปกครองอีกรอยละ 20 มีความคิดเห็นวาเยาวชน มีองคประกอบชีวิตดานการเรียนแยลง เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนเขารวมโครงการ

สวนดานที่ผูปกครองเห็นวาไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย คือ องคประกอบชีวิตดานปญหากฎหมาย (X = 3.00) นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอนและปจจุบันก็ไมมี

จากที่กลาวมาทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับตัวชี้วัด พบวาเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด

ตารางที่ 51 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 3 60%

2 40%

3.40 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

2 40%

3 60%

3.60 ดีขึ้น -

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่าบาํบัดรกัษา

1 20%

4 80%

4.80 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

2 40%

3 60%

4.60 ดีขึ้นมาก

ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

5 100%

5.00 ดีขึ้นมาก

ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 1 20%

3 60%

1 20%

4.00 ดีขึ้น -

Page 75: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 130

ตารางที่ 51 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ จําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

7. ดานสุขภาพกาย 1 20%

2 40%

2 40%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

4 80%

1 20%

4.20 ดีขึ้นมาก

-

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100%

3.00 เหมือนเดิม

ไมเคยมีมากอน

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

3 60%

2 40%

4.40 ดีขึ้นมาก

ลดลง

รวมทุกประเด็น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เมื่อติดตามผลครั้งที่ 1 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 2 เดือน) ครูอาจารย มีความคิดเห็นวาเยาวชนที่จบโปรแกรมมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดานอยูในระดับดีขึ้น (X = 4.12) เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการ และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา ครู-อาจารยมีความ คิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 6 ดานดวยกัน เรียงตามลําดับคะแนน ดังนี้ ดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล (X = 5.00) ดานการใชยาเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษา (X = 4.80) ดานการใชสารเสพติดชนิดอื่น (X = 4.60) ดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม (X = 4.40) ดานสุขภาพกาย (X = 4.20) ซึ่งมีคะแนนเทากับดานการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้น นั่นคือ ครู-อาจารยมีความคิดเห็นวาเยาวชนแทบจะไมมีการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล มีการใชสารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษา และสารเสพติดชนิดอื่นนอยลง รวมทั้งมีการแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมลดลงมาก และมีสุขภาพกาย และการจัดการหรือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นไดดีขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการเขารวมโครงการ

Page 76: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 131

นอกจากนี้ครูอาจารยยังมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตหลายดานดีขึ้น เชน ดาน สุขภาพจิต (X = 4.00) ดานการเรียน (X = 3.40) ดานความสัมพันธในครอบครัว (X = 3.60)

สวนดานที่ครูอาจารยมีความคิดเห็นวาไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย คือปญหาดานกฎหมาย นั้นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอน และปจจุบันก็ยังคงไมมี

ตารางที่ 52 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการ จําแนกรายดาน

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

1. ดานการเรียน 1 20%

4 80%

3.80 ดีขึ้น -

2. ดานความ สัมพันธ ในครอบครัว

1 20%

4 80%

3.80 ดีขึ้น -

3. ดานการใช ยาเสพติดชนิด ทีม่า บําบัดรักษา

1 20%

4 80%

4.60 ดีขึ้นมาก

แทบจะ ไมใชเลย

4. ดานการใชสาร เสพติดชนิดอืน่ๆ

1 20%

4 80%

4.60 ดีขึ้นมาก

ใช นอยลง

5. ดานการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล

1 20%

4 80%

4.60 ดีขึ้นมาก

ใช นอยลง

6. ดานสุขภาพจิต 1 20%

4 80%

3.80 ดีขึ้น -

7. ดานสุขภาพกาย 1 20%

4 80%

3.80 ดีขึ้น -

8. ดานการจัดการ หรือแกไขปญหา ที่เกิดขึ้น

1 20%

4 80%

3.80 ดีขึ้น -

9. ดานปญหา ทางกฎหมาย

5 100%

3.00 เหมือน เดิม

ไมเคยมีมากอน

Page 77: บทที่ 4บทท 4 ผลการประเม น การว เคราะห ข อม ลด าเน นตามว ตถ ประสงค ของการว

จรรยา เจตนสมบูรณ / เนตรนภิส จันทวัฒนะ ประเมินผลโครงการการบําบัดรักษาฯ รูปแบบจิตสังคมบําบัดในโรงเรียน / 132

ตารางที่ 52 แสดงผลการประเมินองคประกอบชีวิตในดานตางๆของเยาวชนในระยะการติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) เมื่อเปรียบเทียบกับชีวิตชวงกอนการเขารวมโครงการตามความคิดเหน็ของครู-อาจารยผูประสานงานและรับผิดชอบโครงการจําแนกรายดาน (ตอ)

ระดับความคิดเห็น (N=5) ประเด็น แยลง

มาก แยลง เหมือน

เดิม ดีขึ้น ดีขึ้น

มาก

X

ผลการประเมิน

หมายเหต ุ

10. ดานพฤติกรรม ที่ไมเหมาะสมอื่น (เชน เลนการพนัน เที่ยวกลางคืน ลักขโมย พูดโกหก ฯลฯ)

1 20%

4 80%

4.60 ดีขึ้นมาก

ลดลง

รวมทุกประเด็น -

หมายเหตุ 1.00-1.79 หมายถึง แยลงมาก 1.80-2.59 หมายถึง แยลง 2.60-3.39 หมายถึง เหมือนเดิม 3.40-4.19 หมายถึง ดีขึ้น 4.20-5.00 หมายถึง ดีขึ้นมาก

จากตาราง พบวา เมื่อติดตามผลครั้งที่ 2 (หลังจบโปรแกรมประมาณ 6 เดือน) ครูอาจารย มีความคิดเห็นวาเยาวชนที่จบโปรแกรมมีองคประกอบชีวิตโดยรวมทุกดานอยูในระดับดีขึ้น (X = 4.04) เมื่อเปรียบเทียบกับชวงกอนการเขารวมโครงการ และเมื่อพิจารณารายดาน พบวา ครู-อาจารยมีความ คิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตดีขึ้นมาก 4 ดานดวยกัน คือ ดานการใชยาเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษา ดานการใชสารเสพติดชนิดอื่น ดานการดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล และดานพฤติกรรมที่ไมเหมาะสม(X = 4.60) ซึ่งแสดงวา ครู-อาจารยมีความคิดเห็นวาเยาวชนแทบจะไมมีการใช สารเสพติดชนิดที่มาบําบัดรักษา สารเสพติดชนิดอื่น การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล มี รวมทั้ง มีการแสดงพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมลดลงมาก เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการเขารวมโครงการ

นอกจากนี้ครูอาจารยยังมีความคิดเห็นวาเยาวชนมีองคประกอบชีวิตหลายดานดีขึ้น เชน ดาน สุขภาพจิต ดานสุขภาพ ดานการเรียน ดานความสัมพันธในครอบครัว (X = 3.80)

สวนดานที่ครูอาจารยมีความคิดเห็นวาไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย คือปญหาดานกฎหมาย นั่นคือ เยาวชนไมเคยมีปญหาดานกฎหมายมากอน และปจจุบันก็ยังคงไมมี

จากที่กลาวมาทั้งหมด พอจะสรุปไดวาประเด็นประเมินเกี่ยวกับองคประกอบชีวิตในดานตางๆ ของเยาวชนที่จบโปรแกรมและอยูในระยะติดตามผล ตามความคิดเห็นของครู-อาจารยนั้นเปนไปตามเกณฑตัวชี้วัดกําหนด