19
บทที2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา ( V-NET) ปีการศึกษา 2561 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีท่ 3 (ปวช.3) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้ศึกษาเอกสารทีเกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี1. หลักการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา 2. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 3. การบริหารการสอบ (V-NET) 4. โครงสร้างและรูปแบบของแบบทดสอบ V-NET 5. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการของสานักงาน ศึกษาธิการภาค.......ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 6. สภาพทั่วไปของสานักงานศึกษาธิการภาค 17 7. สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 8. สภาพการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 1. หลักการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษา อาชีพได้มีมาตั้งแต่ยุคสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอาชีพหัตกรรมมากขึ้น นอกเหนือไปจากอาชีพ กสิกรรมการ อาชีวศึกษา เริ่มอย่างเป็นระบบเมื่อได้รับการบรรจุในโครงการศึกษา พ.ศ. 2441 เป็นการศึกษาพิเศษซึ่งหมายถึง การเรียนวิชา เฉพาะ เพื่อให้เกิด ความชานาญ โดยในปี พ.ศ.2452 การจัดการศึกษา ได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โรงเรียน สามัญศึกษา สอนวิชา สามัญ และโรงเรียน วิสามัญ ศึกษาสอนวิชาเพื่อออกไปประกอบอาชีพ เช่น แพทย์ ผดุงครรภ์ ภาษาอังกฤษ พาณิชยการ ครู เป็นต้น ในปี พ.ศ.2453 ได้จัดตั้ง โรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรก คือ โรงเรียนพาณิชยการที่วัดมหาพฤฒาราม และวัดราช บูรณะ ปี พ.ศ. 2456 จัดตั้งโรงเรียน เพาะช่าง และปี พ.ศ.2460 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้มีผลต่อการกาหนดการศึกษาอาชีพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2475 ได้กาหนดว่าวิสามัญศึกษา ได้แก่ การศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเทศ เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการ เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้สาหรับประกอบการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม ต่าง ๆ และในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2479 ได้ ปรากฏคาว่า "อาชีวศึกษา" เป็นครั้งแรกในระบบการศึกษาของ ประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ อาชีวศึกษา ชั้นต้น กลาง และสูง รับนักเรียนจากโรงเรียนสามัญ ศึกษาของทุกระดับประโยค 1. วิสัยทัศน์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรที่ผลิตและพัฒนากาลังคนอย่างมีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการกาลังคนของประเทศและภาคเอกชน

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

  • Upload
    others

  • View
    24

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

บทที่ 2

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ปีการศึกษา 2561 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 (ปวช.3) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้

1. หลักการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา 2. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 3. การบริหารการสอบ (V-NET) 4. โครงสร้างและรูปแบบของแบบทดสอบ V-NET 5. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงาน

ศึกษาธิการภาค.......ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ 6. สภาพทั่วไปของส านักงานศึกษาธิการภาค 17 7. สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 8. สภาพการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

1. หลักการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา แนวคิดการจัดการศึกษา อาชีพได้มีมาตั้งแต่ยุคสมัยที่ประเทศไทยเริ่มมีอาชีพหัตกรรมมากขึ้น

นอกเหนือไปจากอาชีพ กสิกรรมการ อาชีวศึกษา เริ่มอย่างเป็นระบบเมื่อได้รับการบรรจุในโครงการศึกษา พ.ศ. 2441 เป็นการศึกษาพิเศษซึ่งหมายถึง การเรียนวิชา เฉพาะ เพ่ือให้เกิด ความช านาญ โดยในปี พ.ศ.2452 การจัดการศึกษา ได้แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ โรงเรียน สามัญศึกษา สอนวิชา สามัญ และโรงเรียน วิสามัญศึกษาสอนวิชาเพ่ือออกไปประกอบอาชีพ เช่น แพทย์ ผดุงครรภ์ ภาษาอังกฤษ พาณิชยการ ครู เป็นต้น ในปี พ.ศ.2453 ได้จัดตั้ง โรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรก คือ โรงเรียนพาณิชยการที่วัดมหาพฤฒาราม และวัดราชบูรณะ ปี พ.ศ. 2456 จัดตั้งโรงเรียน เพาะช่าง และปี พ.ศ.2460 จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม แผนการศึกษาแห่งชาติ ได้มีผลต่อการก าหนดการศึกษาอาชีพให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2475 ได้ก าหนดว่าวิสามัญศึกษา ได้แก่ การศึกษาวิชาชีพซึ่งจัดให้เหมาะสมกับภูมิประเทศ เช่น กสิกรรม หัตถกรรม และพาณิชยการ เพ่ือเป็นพ้ืนฐานความรู้ส าหรับประกอบการเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรม ต่าง ๆ และในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2479 ได้ ปรากฏค าว่า "อาชีวศึกษา" เป็นครั้งแรกในระบบการศึกษาของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ อาชีวศึกษา ชั้นต้น กลาง และสูง รับนักเรียนจากโรงเรียนสามัญศึกษาของทุกระดับประโยค

1. วิสัยทัศน์ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นองค์กรที่ผลิตและพัฒนาก าลังคนอย่างมีคุณภาพ

เพ่ือตอบสนองความต้องการก าลังคนของประเทศและภาคเอกชน

Page 2: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๒

2. พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริมและพัฒนาการอาชีวศึกษาและการอบรมวิชาชีพให้มีคุณภาพและได้

มาตรฐาน 2. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานก าลังคนสายอาชีพสู่สากล 3. ขยายโอกาสทางการศึกษาสายอาชีพให้ทั่วถึง ต่อเนื่อง เสมอภาค และเป็นธรรม 4. เป็นแกนกลางในการจัดอาชีวศึกษาและอบรมวิชาชีพ ระดับฝีมือ เทคนิค และเทคโนโลยี

ของประเทศ 5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษา

และการฝึกอบรมวิชาชีพ 6. วิจัย สร้างนวัตกรรม จัดการองค์ความรู้เพ่ือการพัฒนาอาชีพ และคุณภาพชีวิตของ

ประชาชน 7. ส่งเสริม/พัฒนา ครูและบุคลากรอาชีวศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ มั่นคง และก้าวหน้าใน

วิชาชีพ 3. ยุทธศาสตร์ 1. การจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนาก าลังคนด้านการอาชีวศึกษาเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน

ของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพก าลังคนด้านการอาชีวศึกษาให้มีสมรรถนะ สอดคล้องกับความ

ต้องการในการพัฒนาประเทศ 4. การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมในด้านการอาชีวศึกษา 5. การจัดการอาชีวศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิต เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6. การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษา 4. อ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อ านาจหน้าที่ตามกฎหมายของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา อาศัยอ านาจตาม

ความในมาตรา 8 และมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ก าหนดให้ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีอ านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้

1. จัดท าข้อเสนอแนวนโยบาย แผนพัฒนา มาตรฐานและหลักสูตรการอาชีวศึกษาทุกระดับ 2. ด าเนินการและประสานงานเกี่ยวกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 3. ก าหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการจัดงบประมาณและสนับสนุนทรัพยากร 4. พัฒนาครูและบุคลากรการอาชีวศึกษา 5. ส่งเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน รวมทั้งก าหนดหลักเกณฑ์

และรูปแบบความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นและสถานประกอบการ

Page 3: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๓

6. ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการจัดการอาชีวศึกษาท้ังภาครัฐและภาคเอกชน 7. จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและการน าเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ 8. ด าเนินการเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและด าเนินการตามที่

คณะกรรมการการอาชีวศึกษามอบหมาย 9. ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามที่กฎหมายก าหนดให้เป็นอ านาจหน้าที่และความรับผิดชอบของ

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาหรือตามที่รัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย ที่มา ส านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. 2562. เกี่ยวกับ สอศ. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2562. จาก www.vec.go.th 2. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ หรือ สทศ. เป็นหน่วยงานของรัฐจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2548 เพ่ือเป็นองค์กรกลางในการบริหารจัดการและด าเนินการเกี่ยวกับการศึกษา วิจัย พัฒนา และให้บริการทางการประเมินผลทางการศึกษาและทดสอบทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้เปน็ศูนยก์ลางและความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษา ในระดับชาติและนานาชาติ

1. วิสัยทัศน์องค์กร สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นสถาบันทางวิชาการและวิชาชีพ

และเป็นแหล่งอ้างอิงระดับชาติ และนานาชาติที่เชี่ยวชาญด้านการทดสอบและการประเมินผลทางการศึกษา เพ่ือให้คนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับและทุกประเภทการศึกษาสู่ระดับสากล

2. พันธกิจ 1. จัดท าระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตามมาตรฐาน

การศึกษา 2. ประเมินผลการจัดการศึกษา และการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ตลอดจนให้

ความร่วมมือและสนับสนุนการทดสอบทั้งระดับเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษา 3. ทดสอบทางการศึกษา บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ และการสอบวัด

มาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ ผลที่ได้ไปใช้เป็นส่วนหนึ่งในการเทียบระดับ และการเทียบโอนผลการเรียนที่มาจากการศึกษาในระบบเดียวกันหรือการศึกษาต่างระบบ

4. ศึกษาวิจัย และเผยแพร่นวัตกรรมด้านการทดสอบทางการศึกษา เผยแพร่เทคนิคการวัดและประเมินผลการศึกษา

5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่างๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

6. พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา การพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล การติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา

7. เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษาทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ

Page 4: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๔

3. การบริหารการจัดสอบ (V-NET) การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (Vocational National Educational

Test : V-NET) V-NET คือ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา เพ่ือวัดความรู้และความคิดของนักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 (ปวช. 3) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 2 (ปวส. 2)

วัตถุประสงค์ของการสอบ V-NET การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา(vocational National Educational

Test:V-NET) มีวัตถุประสงค์ในการจัดสอบ ดังนี้ 1. เพ่ือทดสอบความรู้และความคิดของนักเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

พุทธศักราช 2556 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 2. เพ่ือน าผลการสอบไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษา 3. เพ่ือน าผลการสอบไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน นักศึกษา ระดับชาติ 4. เพ่ือน าผลการสอบไปใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษา 5. เพ่ือน าผลการสอบไปใช้ในวัตถุประสงค์อ่ืน

แหล่งข้อมูล : สทศ. 2563. คู่�มือการจัดสอบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา ประจ าปี�การศึกษา 2562 ระดับศูนย์�สอบ Vocational National Educational Test : V-NET. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2563 จาก https://www.niets.or.th/uploads/editor/files/V-NET

ในปีการศึกษา 2562 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) จัดสอบ

V-NET ให้กับนักศึกษาที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้น ปวช. ปีที่ 3 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงจ านวนนักศึกษา ปวช. ปีที่ 3 จ าแนกรายจังหวัด

ที ่ จังหวัด ปวช. ปีท่ี 3

1 จังหวัดตาก 1,114 2 จังหวัดพิษณุโลก 1,545 3 จังหวัดเพชรบูรณ์ 1,696 4 จังหวัดสุโขทัย 991 5 จังหวัดอุตรดิตถ์ 1,424

เขตตรวจราชการที่ 17 6,770

แหล่งข้อมูล : สทศ. 2563. ระบบประกาศและรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา(V-NET). ค่าสถิติระดับ ศธ.ภาค. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2563 จาก http://www.allnetresult.niets.or.th/VNET/

Page 5: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๕

4. โครงสร้างและรูปแบบข้อสอบของแบบทดสอบ V-NET แบบทดสอบที่ใช้ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา V-NET ระดับ

ชั้น ปวช. ปีที่ 3 มีเนื้อหาและจ านวนข้อสอบของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา V-NET ดังนี้

Page 6: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

ตารางที่ 2 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิชา ชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

1. ทักษะภาษาและการสื่อสาร 50 1.1 สื่อสารโดยใช้ภาษาไทยใน 20 1.1.1 การฟัง การพูด ชีวิตประจ าวันและในงานอาชีพ

- ฟังและดูสารในงานอาชีพจากสื่อบุคคลสื่อสิ่งพิมพ์

สื่ออิเล็กทรอนิกส์และแหล่งเรียนรู้ในชุมชน

- ฟังและดูข่าว สารคดี บันเทิงคดี

- การพูดในสถานการณ์ตางๆ การทักทาย แนะน าตนเอง

และผู้อ่ืน ตามมารยาทของสังคม - การพูดติดต่อ กิจธุระ การพูดสรุปความและแสดงความคิดเห็น

1.1.2 การอ่าน การเขียน

- อ่านข่าว บทความ สารคดี หรือโฆษณา จากสื่อ สิ่งพิมพ์

หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในปัจจุบัน

- อ่านวรรณกรรม หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น จากสื่อ สิ่งพิมพ์

ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม

- เขียนข้อความ ติดต่อกิจธุระ เขียนบันทึกข้อความ

การกรอกแบบฟอร์ม

- เขียนสรุปความ รายงานเชิงวิชาการ และแสดงความรู้สึก

ในโอกาสต่างๆ

Page 7: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-7

ตารางที่ 2 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 (ต่อ)

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

1. ทักษะภาษาและการสื่อสาร

1.2 สื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษใน 20 1.2.1 การทักทาย แนะน าตนเองและผู้อื่น ชีวิตประจ าวันและในงานอาชีพ 1.2.2 การเสนอและให้ความช่วยเหลือ 1.2.3 การบอกทิศทาง ที่ตั้ง 1.2.4 การให้บริการในร้านอาหาร 1.2.5 การนัดหมายทางโทรศัพท์ 1.2.6 สภาพอากาศ การทักทาย แนะน าตนเองและผู้อ่ืน 1.2.7 ความปลอดภัย 1.2.8 ฉลากสินค้า 1.2.9 โฆษณาสมัครงาน 1.2.10 ก าหนดการเดินทาง 1.2.11 อ่านข้อความสั้นๆ 1.2.12 อ่านสัญลักษณ์จราจร

Page 8: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-8

ตารางที่ 2 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 (ต่อ)

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

2. ทักษะการคิดและ 50 2.1 การแก้ปัญหาในงานอาชีพ 20 2.1.1 ความสามารถในการสังเกต การแก้ปัญหา โดยใช้หลักการและกระบวนการ 2.1.2 ความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่าง ทางวิทยาศาสตร์

สเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา

2.1.3 ความสามารถในการจ าแนกประเภท 2.1.4 ความสามารถในการค านวณ 2.1.5 ความสามารถในการวัด 2.1.6 ความสามารถในการสื่อความหมายข้อมูล 2.1.7 ความสามารถในการพยากรณ์ 2.1.8 ความสามารถในการลงความเห็นจากข้อมูล 2.1.9 ความสามารถในการก าหนดและควบคุมตัวแปร 2.1.10 ความสามารถในการตั้งสมมุติฐาน 2.1.11 ความสามารถในการก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 2.1.12 ความสามารถในการทดลอง 2.1.13 ความสามารถในการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

Page 9: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-9

ตารางที่ 2 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 1 ปีการศึกษา 2562 (ต่อ)

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

2. ทักษะการคิดและ 50 2.2 การแก้ไขปัญหาในงานอาชีพ 20 2.2.1 การแก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้อัตราส่วนสัดส่วน การแก้ปัญหา โดยใช้หลักการและกระบวนการ และร้อยละ ทางคณิตศาสตร์ 2.2.2 การแก้ปัญหาในงานอาชีพโดยใช้สมการ 2.2.3 การน าเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับสถิตเบื้องต้น

ฉบับท่ี 1 รวม (ข้อ) 80

Page 10: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-10

ตารางที่ 3 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2562

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

3. ทักษะทางสังคม 50 3.1 ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา 20 3.1.1 การปฏิบัติตนตามหลักศาสนา และการด ารงชีวิต วัฒนธรรม สิทธิหน้าที่พลเมือง 3.1.2 การปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมประเพณี ค่านิยมอันพึงประสงค์ เศรษฐกิจพอเพียง และค่านิยม และเศรษฐกิจพอเพียง อันพึงประสงค์ 3.1.3 การปฏิบัติตนตามสิทธิ หน้าที่ความเป็นพลเมืองดีตาม รัฐธรรมนูญและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.2 พัฒนาบุคลิกภาพและ 20 3.2.1 การดูแลส่งเสริมสมรรถภาพทางการกายและบุคลิกภาพ สุขลักษณะโดยใช้หลักการและ 3.2.2 การสร้างเสริมสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยในชีวิต กระบวนการด้านสุขศึกษาและ 3.2.3 สุขภาวะทางเพศและการป้องกันโรค พลศึกษา

Page 11: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-11

ตารางที่ 3 แสดงวิชาความรู้ ด้ านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่ ว ไป ระดับประกาศนียบัตรวิ ชาชีพ ชั้ นปีที่ 3 (ปวช.3) ฉบับที่ 2 ปีการศึกษา 2561 (ต่อ)

องค์ประกอบ ร้อยละ เนื้อหาหลัก จ านวน

เนื้อหาย่อย ข้อ

4. ทักษะการจัดการงานอาชีพ 50 4.1 ปฏิบัติตนตามหลักการในงาน 20 4.1.1 หลักปฏิบัติตนในงานอาชีพ อาชีพ หลักการบริหารงาน - มาตรฐานอาชีพ คุณภาพ สิ่งแวดล้อม และ - หลักการปฏิบัติตนในงานอาชีพ ความปลอดภัยในการท างาน - องค์กรและการบริหารงาน 4.1.2 หลักการบริหารงานคุณภาพ - การบริหารงานคุณภาพ - หลักการบริหารงานคุณภาพและ - การเพ่ิมผลผลิต 4.1.3 สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการท างาน - สิ่งแวดล้อมในการท างาน - ความปลอดภัยในการท างาน 4.2 การใช้คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ 20 4.2.1 การใช้คอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมส าเร็จรูป 4.2.2 การใช้ระบบสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ตตามหลักการและ 4.2.3 การใช้ระบบปฏิบัติการ กระบวนการตามลักษณะงานอาชีพ 4.2.4 การใช้โปรแกรมส าเร็จรูป

4.2.5 การอินเทอร์เน็ต

ฉบับท่ี 2 รวม (ข้อ) 80

Page 12: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-12

Page 13: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๒

ตารางที่ 4 แสดงก าหนดการสอบ (V-NET) ปีการศึกษา 2562

V-NET วันสอบ ประกาศผล

1. ปวช. ปีที่ 3 25 มกราคม 2563 25 กุมภาพันธ์ 2563

ที่มา สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ(องค์การมหาชน). 2563. การจัดสอบ V-NET. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2563 จาก https://www.niets.or.th

5. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงานศึกษาธิการภาค ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จะด าเนินการประเมินผลการด าเนินงานตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงานศึกษาธิการภาค ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ด้านการประเมินประสิทธิผล สรุปได้ดังนี้

1. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงานศึกษาธิการภาค ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

ประเด็น การ

ประเมิน ตัวช้ีวัด

น้ าหนัก (ร้อยละ)

การประเมินประสิทธิผล 50

ตัวช้ีวัดที่ 1 ความส าเร็จในการบรรลุเป้าหมายตามนโยบายส าคัญ/แผนปฏิบัติราชการ/ตัวช้ีวัดตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง/ส านักงานปลัดกระทรวงและแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน

ตัวชี้วัดที่ ๑.๓ ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

การประเมินประสิทธิภาพ 20

การพัฒนาองค์การ 30 รวม 100

Page 14: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๓

2. หลักเกณฑ์ในการก าหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการประเมิน : การประเมินประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการของส านักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการและหน่วยงาน (น้ าหนักร้อยละ 50) ตัวช้ีวัดที่ 1 ความส าเร็จในการบรรลุเป้าหมายตามนโยบายส าคัญ/แผนปฏิบัติราชการ/ตัวชี้วัดตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง/ส านักงานปลัดกระทรวง และแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน

ค าอธิบาย : ความส าเร็จในการบรรลุ เป้าหมายตามนโยบายส าคัญ/แผนปฏิบัติราชการของส านักงาน

ปลัดกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงาน พิจารณาจากความส าเร็จของการบรรลุเป้าหมายแต่ละตัวชี้วัดตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานที่ก าหนดขึ้นเพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์ของภารกิจหลักตามนโยบายส าคัญ ตัวชี้วัดตามค ารับรองการปฏิบัติราชการของกระทรวง/ส านักงานปลัดกระทรวง และโครงการ/กิจกรรมส าคัญที่ก าหนดไว้ในแผนปฏิบัติราชการประจ าปีที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายตามประเด็นยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน และ/หรือของส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หมายเหตุ : ให้ใช้หลักเกณฑ์ในการก าหนดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

1. การก าหนดตัวชี้วัด 1.1 ตัวชี้วัดในค ารับรองการปฏิบัติราชการให้เน้นตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์ ไม่ใช่ตัวชี้วัด

กระบวนการ 1.2 การก าหนดตัวชี้วัดควรมุ่งเน้นมิติเชิงคุณภาพของสิ่งที่ต้องการจะวัดมากกว่าการให้

ความส าคัญเชิงปริมาณ 1.3 การก าหนดตัวชี้วัดตามภารกิจหลักของหน่วยงานต้องสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการ 1.4 ก าหนดตัวชี้วัดที่มีลักษณะท้าทายต่อผลการปฏิบัติงาน มากกว่าตัวชี้วัดที่เป็นงานประจ า

2. เกณฑ์การให้คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับท่ี 5 ดีกว่าเป้าหมายมาก ส่วนราชการต้องแสดงให้เห็นว่าสามารถบรรลุผลลัพธ์

(Outcome) หรือมีการเทียบกับมาตรฐาน (Benchmarking) ระดับท่ี 4 ดีกว่าเป้าหมาย ส่วนราชการต้องแสดงให้เห็นว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมาย

ของตัวชี้วัดนั้นในเชิงคุณภาพ หรือนวัตกรรมทางการบริหารจัดการ หรือผลการด าเนินการท าให้เกิดผลลัพธ์ (Outcome) อย่างไร เป็นต้น

ระดับท่ี 3 เป็นไปตามเป้าหมาย เป็นการวางเป้าหมายที่จะท าส าเร็จตามแผนงานประจ าปี หรือจะพัฒนาต่อเนื่องจากผลการด าเนินการในปีก่อนเป็น Continuous Improvement หรือถ้าตัวชี้วัดใดที่มีผลการด าเนินการได้สูงสุดและไม่สามารถปรับปรุงได้อีกแล้วก็อาจจะถอดตัวชี้วัดนั้นออก หรือให้ลดน้ าหนักตัวชี้วัดนั้นลง เป็นต้น

ระดับท่ี 2 ต่ ากว่าเป้าหมาย ระดับท่ี 1 ต่ ากว่าเป้าหมายมาก

Page 15: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๔

3. ตัวชีว้ัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีว ศึกษา (V-NET) ตัวช้ีวัดที่ 1.3 ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) หน่วยวัด : ระดับคะแนนเฉลี่ย น้ าหนัก : ร้อยละ ๓ ค าอธิบาย : ก าหนด เป็นตั วชี้ วั ดของ ส านั ก งานศึ กษาธิ การภาค โดย ใช้ ข้ อมู ลจากนั ก เ รี ยน ในสั งกั ดกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่รับผิดชอบ V-NET : Vocational National Educational Test ใช้ผลคะแนนการทดสอบจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช. ปีที่ ๓ เพ่ือวัดความรู้ใน ๒ ด้าน คือ ความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป จ าแนกเป็น - ความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ฉบับที่ ๑ (ทักษะภาษาและการสื่อสาร ทักษะการคิดและการแก้ปัญหา) - ความรู้ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ฉบับที่ ๒ (ทักษะทางสังคมและการด ารงชีวิต และทักษะการจัดการงานอาชีพ) ไม่นับรวมผลการทดสอบเด็กพิเศษ ได้แก่ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านต่างๆ และนักเรียนพิการซ้ าซ้อน การก าหนดเกณฑ์การให้คะแนน กรณีที่ ๑ ผลการทดสอบที่ผ่านมา (Base Line) ๓ ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน/ดีขึ้น ให้น าผลการทดสอบในปี ๒๕๖๑ ไว้ที่ค่าคะแนนที่ ๓ กรณีที่ ๒ ผลการทดสอบที่ผ่านมา (Base Line) ๓ ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง ให้น าผลการทดสอบในปี ๒๕๖๑ ไว้ที่ค่าคะแนนที่ ๓ กรณีที่ ๓ ผลการทดสอบที่ผ่านมา (Base Line) ๓ ปีย้อนหลัง (ปีการศึกษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๑) มีแนวโน้มขึ้นลงไม่แน่นอน ให้น าผลการทดสอบเฉลี่ย ๓ ปีย้อนหลัง ไว้ที่ค่าคะแนนที่ ๓ การรายงานผลรอบ ๑๒ เดือน ใช้คะแนนการทดสอบจากสถาบันทดสอบแห่งชาติ(องค์การมหาชน) ปีการศึกษา ๒๕๖๒

เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงการปรับระดับการให้คะแนน +/- 0.75 ตอ่ 1 คะแนน โดยก าหนดเกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้

ระดับ ระดับคะแนน

1 2 3 4 5 ปวช. ปีที่ 3

Page 16: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๕

รายละเอียดข้อมูลพื้นฐาน :

ข้อมูลพื้นฐานประกอบตัวชี้วัด ระดับคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

ด้านอาชีวศึกษา (V-Net) ปีการศึกษา 2559 2560 2561

ระดับ ปวช.

แหล่งข้อมูล : ส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. กลุม่พัฒนาระบบบริหาร. 2563. แนวทางการจัดท า ค ารับรองการปฏิบัติราชการของส านักงานศึกษาธิการภาค ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563 จาก http://www.psdg.moe.go.th/

จากการศึกษากรอบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน และข้อมูลพ้ืนฐาน จึงก าหนดเกณฑ์เพ่ือให้เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ปีการศึกษา 2562 ดังนี้

1. ค่าเฉลี่ยคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 มีค่าเท่ากับ 5 และช่วงการปรับระดับการให้คะแนน - 0.75 ต่อ 1 คะแนน

2. ค่าเฉลี่ยคะแนนปีการศึกษา 2561 มีค่าเท่ากับ 3 และช่วงการปรับระดับการให้คะแนน +/- 0.75 ต่อ 1 คะแนน

3. ค่าเฉลี่ยคะแนน 3 ปีการศึกษาย้อนหลัง (ปีการศึกษา 2559 – 2561) มีค่าเท่ากับ 3 และช่วงการปรับระดับการให้คะแนน +/- 0.75 ต่อ 1 คะแนน

6.สภาพทั่วไปของส านักงานศึกษาธิการภาค 17

ส านักงานศึกษาธิการภาค 17 เป็นหน่วยงานในสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ๑. สถานที่ตั้ง ส านักงานศึกษาธิการภาค 17 ตั้งส านักงานอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลกสถานที่ตั้ง 311 หมู่ 5

ต าบลหัวรอ อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก รับผิดชอบด าเนินการในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 ได้แก่ เขตตรวจราชการที่ 17 ประกอบด้วยจังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์

2. ภารกิจ ท าหน้าที่ ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด โดยการอ านวยการ ส่งเสริม สนับสนุน

และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และหน่วยงานอ่ืนหรือภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในพ้ืนที่นั้น

3. อ านาจหน้าที่ 1. ก าหนดยุทธศาสตร์และบทบาทการพัฒนาภาคต่างๆให้เชื่อมโยงและสอดคล้องกับ

ทิศทางการพัฒนาประเทศ ทิศทางการด า เนินงานตามข้อ 3 (1) นโยบายและยุทธศาส ตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด รวมทั้งการพัฒนาด้านอ่ืนๆ ในพ้ืนที่รับผิดชอบตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพ้ืนที่

Page 17: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๖

2. สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การวิจัยและพัฒนา

3. ก ากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการด าเนินงานของส านักงานศึกษาธิการจังหวัดในพ้ืนที่รับผิดชอบ

4. สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการด าเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่รับผิดชอบ

5. ประสานการบริหารงานระหว่างราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาคให้เกิดการพัฒนาอย่างบูรณาการในระดับพื้นท่ีของหลายจังหวัด โดยยึดการมีส่วนร่วมและประโยชน์สุขของประชาชนเป็นหลัก

6. ปฏิบัติร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

แผนภูมิที่ 2 แผนที่พื้นที่รับผิดชอบของส านักงานศกึษาธิการภาค 17

6. สภาพทั่วไปของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

1. สถานที่ตั้ง กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ตั้งอยู่บริเวณตอนล่างของภาคเหนือ ซึ่งประกอบด้วยจังหวัด

พิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ มีพ้ืนที่ทั้งหมด 54,527.05 ตารางกิโลเมตร โดยมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดและประเทศใกล้เคียง ดังนี้

ทิศเหนือ เขตติดต่อกับจังหวัดน่าน แพร่ ล าปาง ล าพูน เชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน ทิศใต้ เขตติดต่อกับ จังหวัดลพบุรี พิจิตร ก าแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี และกาญจนบุรี ทิศตะวันออก เขตติดต่อกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จังหวัดเลย ขอนแก่น

และชัยภูม ิทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพเมียนมาร์

Page 18: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๗

2. ลักษณะภูมิประเทศ พ้ืนที่จะเป็นภูเขาทางด้านทิศเหนือทางทิศตะวันตก ตั้งแต่จังหวัดอุตรดิตถ์ สุโขทัย และตาก

ด้านทิศตะวันออก จะเป็นแนวเขาเช่นกันตั้งแต่อุตรดิตถ์ ถึงเพชรบูรณ์ และพ้ืนที่ตอนกลางของกลุ่มนี้ ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ า และท่ีราบสูงด้านทิศตะวันออกและด้านทิศตะวันตก

3. ลักษณะภูมิอากาศ กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 จะได้รับอิทธิพลนของลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้และ

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 3 ฤด ูได้แก่ ฤดูร้อน ประมาณเดือน กุมภาพันธ์-เมษายน อุณหภูมิเฉลี่ย 32 องศาเซลเซียส ฤดูฝน ประมาณเดือน พฤษภาคม-ตุลาคม ปริมาณน้ าฝน เฉลี่ยประมาณปีละ 1375

มิลลิเมตร ฤดูหนาว ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 19 องศาเซลเซียล 4. ประชากร กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย 5 จังหวัด ได้แก่ ตาก พิษณุโลก เพชรบูรณ์

สุโขทัย และอุตรดิตถ์ ซึ่งแต่ละจังหวัดมีจ านวนประชากร ดังนี้

ตารางที่ 5 จ านวนประชากรจ าแนกรายจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด ประชากร ตาก 654,676

พิษณุโลก 866,891 เพชรบูรณ์ 994,540 สุโขทัย 597,257

อุตรดิตถ์ 455,403 รวม 3,568,767

ที่มา กรมการปกครอง. 2562. ระบบสถิติทางการทะเบียน, จ านวนประชากร. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2562 จาก http://stat.dopa.go.th

จ านวนประชากรในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่ม 1 มีประมาณ 3,568,767 คน เมื่อจ าแนกรายจังหวัด พบว่า จังหวัดมีประชากรมากที่สุด คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ (994,540 คน) รองลงมา คือ จังหวัดพิษณุโลก (866,891 คน) และจังหวัดที่มีประชากรน้อยที่สุด คือจังหวัดอุตรดิตถ์ (455,403 คน)

Page 19: บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทท 2 เอกสารท เก ยวข อง การว เคราะห ผลการทดสอบทางการศ

2-๑๘

7. สภาพการศึกษาของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 มีการจัดการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา โดยภาครัฐและ

เอกชน สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ รายละเอียดปรากฏตามตารางท่ี 10 ตารางที่ 6 แสดงจ านวนสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (อาชีวศึกษา) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1

จังหวัด สถานศึกษา (อาชีวศึกษา) ตาก 6

พิษณุโลก 8 เพชรบูรณ์ 14 สุโขทัย 6

อุตรดิตถ์ 8 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 42

แหล่งข้อมูล : สทศ. 2563. ระบบประกาศและรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET). ค่าสถิติระดับ ศธ.ภาค. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2563 จาก http://www.allnetresult.niets.or.th/VNET/