of 55 /55
การทางานวิเคราะห์ นิคม หล้าอินเชื ้อ นักวิชาการโสตทัศนศึกษาชานาญการพิเศษ สานักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การท างานวิเคราะห์...การหาสาเหต หล กของป ญหา การว เคราะห ข อม ลครง น เป

  • Author
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Text of การท างานวิเคราะห์...การหาสาเหต หล...

  • การท างานวิเคราะห์นิคม หล้าอินเชือ้

    นักวิชาการโสตทศันศึกษาช านาญการพเิศษส านักบริการวชิาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • โครงร่างงานวิเคราะห์จากการที่การวิเคราะห์ มีลักษณะเหมือนกับการวิจัย ดังนัน้ใน

    การเขียนโครงร่างของการวิเคราะห์จงึ เขียนล้อตามโครงร่างของการเขียนงานวิจัย ซึ่งแบ่งเป็น 5 บท ดังนี ้ บทที่ 1 บทน าบทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิเคราะห์ บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ บทที่ 5 การสรุปผล วิพากษ์ และข้อเสนอแนะ

  • บทที่ 1บทน า

  • เทคนิคการเขียน บทที่ 1 บทน าเป็นแนวคิดเร่ิมต้น การท างานวิเคราะห์ จึงมี

    ความส าคัญและมีความจ าเป็นในการน าเข้าสู่เนือ้เร่ืองของงานที่เขียน การเขียนบทน าจะต้องกล่าวถึงความเป็นมาและความส าคัญของงานที่ปฏิบัติให้ชัดเจน รวมถึงแนวคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการ วิเคราะห์

  • แหล่งที่มาแนวคิดเร่ิมต้น

    นโยบายจากมหาวิทยาลัย : หน่วยงาน กลยุทธ์ของหน่วยงาน : งานของเรา ข้อเสนอแนะจาก EdPEx : งานของเรา

  • การท างานวิเคราะห์เพื่ออะไร ? วิเคราะห์เพื่อปรับปรุงงาน วเิคราะห์เพื่อพฒันาผู้ปฏบิัตงิาน วเิคราะห์เพื่อขจัดความสูญเสียในการปฏบิตังิาน วิเคราะห์เพื่อวางแผนก าลังคน วิเคราะห์เพื่อหาวิธีที่ดีที่สุดในการปฏบิัตงิาน วิเคราะห์เพื่อประเมินค่างาน วิเคราะห์เพื่อประเมินผลการปฏบิัตงิาน

  • วตัถปุระสงคข์องการศึกษา1. เพื่อศึกษาการใช้โสตทศันูปกรณ์กบัการใช้ห้องประชมุในอาคารปัจจบุนัของส านักบริการวิชาการ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่ 2. เพ่ือวิเคราะหห์าแนวทางในการใช้โสตทศันูปกรณ์กบัห้องประชมุอาคารใหม่ของส านักบริการวิชาการ มหาวิทยาลยัเชียงใหม่

  • กรอบแนวคิดในการศึกษาวิเคราะห์

  • บริบทการบริการของส านักบริการวิชาการข้อมูลเอกสาร

    1. สภาพปัจจบุนั2. คาดการณ์แนวโน้ม

    วิเคราะหก์ารใช้โสตทศันูปกรณ์ของส านักฯ

    * อดีต - ปัจจบุนั* อนาคต

  • ผลการวิเคราะห์การใช้โสตทศันูปกรณ์

    ของส านักบริการวิชาการ

    แนวทางในการปรบัปรงุและพฒันางานบริการโสตทศันูปกรณ์

    ข้อเสนอแนะ- เชิงปฏิบติัการ- เชิงนโยบาย

  • บทที่ 2ทบทวนวรรณกรรม

    ที่เกี่ยวข้อง

  • แนวคิดและความส าคัญของโสตทศันูปกรณ์ กดิานันท์ มลทิอง (2548, หน้า 134–135) ในการจัดอบรมสัมมนานัน้ ...... ศักดา ประจุศิลปะ (2537, หน้า 5–6) โสตทศันูปกรณ์เข้ามามีบทบาทใน

    การเรียนรู้มาก............... สมพงษ์ ศริิเจริญ และคณะ (2506, หน้า 18-20) ได้กล่าวถงึคุณค่าของ

    โสตทศันูปกรณ์ ต่อการเรียนการสอน ........................... ชิน คล้านปาน (2532, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของโสตทศันูปกรณ์ว่า

    การเรียนการสอนโดยใช้ประสาทสัมผัสทัง้ 5 ………..

  • บทสรุปผู้เขียน

    ตามความคดิเหน็ของผู้ศกึษา โสตทศันูปกรณ์ เป็นเคร่ืองมือที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพของผู้สอนหรือผู้บรรยายในการถ่ายทอดความรู้ ไปสู่ผู้เรียนหรือผู้ที่อบรม ได้เข้าใจเนือ้หาจากการสอนหรือจากการบรรยายได้ดียิ่งขึน้ ท าให้เกิดการส่ือสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน้

  • บทที่ 3วิธีด าเนินการวิเคราะห์

  • 9 เทคนิค (เครื่องมือท่ีน าไปใช้) • เทคนิคการท า SWAT• เทคนิคผงัก้างปลา• เทคนิคแผนภมิูรากไม้• เทคนิค PDCA• เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique)

  • • เทคนิคการระดมสมองและการจดักลุ่มสนใจ (Brain Storming & Focus Group)• เทคนิค Benchmarking• เทคนิค Balance Scorecard• เทคนิค Six sigma

    9 เทคนิค (เครื่องมือท่ีน าไปใช้)

  • กระบวนการวิเคราะห์ใช้เทคนิคก้างปลาและเทคนิคเดลฟาย

    เพ่ือหาสาเหตใุนแต่ละปัจจยั

  • ขัน้ตอนการวิเคราะห์1. ก าหนดปัญหาท่ีหวัปลา2. ก าหนดกลุ่มปัญหาท่ีจะท าให้เกิดปัญหานัน้ๆ3. ใช้เทคนิคเดลฟายเพ่ือหาสาเหตใุนแต่ละปัจจยั4. หาสาเหตหุลกัของปัญหา5. จดัล าดบัความส าคญัของสาเหตุ6. ใช้แนวทางการปรบัปรงุท่ีจ าเป็น

  • เทคนิคก้างปลา (Fish Bone Diagram)พฒันาขึน้เมื่อปี ค.ศ. 1943โดย ศ. คาโอร ุ อิชิกาว่า ชาวญ่ีปุ่ นเพ่ือแสดงความสมัพนัธอ์ย่างเป็นระบบระหว่างสาเหตหุลายๆ สาเหตท่ีุส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาใดปัญหาหน่ึง

  • เทคนิคผงัก้างปลา

    ปัญหา

    ปัจจยั

    สาเหตหุลกั- สาเหตุรอง

    - สาเหตุยอ่ย- สาเหตุยอ่ยๆ

    สาเหตหุลกั- สาเหตุรอง

    - สาเหตุยอ่ย- สาเหตุยอ่ยๆ

    ปัจจยั

    ปัจจยั

    ปัจจยั

  • การวิเคราะหห์าสาเหตุ

    การใช้โสตกบัการใช้

    ห้องประชมุอาคารปัจจบุนัและอาคารใหม่

    สถานท่ี

    อปุกรณ์

    บคุลากร

    งบประมาณ

    ขนาดห้อง=เคร่ืองเสียง- มเีสยีงรบกวนจากภายนอก

    - ประสทิธภิาพเครือ่งเสยีง- อยูใ่กลส้นามบนิ

    โสตทศันูปกรณ์ท่ีใช้ปัจจบุนั- การเปลีย่นแปลงเทคโนโลยี

    - อุปกรณ์ทีน่ ามาใชร้ว่มกนัอุปกรณ์โสตฯ

    จ านวนบคุลากรกบัการให้บริการ- ไมท่นัการเปลีย่นแปลงของเทคโนโลยี- บุคลากรใหมข่าดความช านาญ

    ขาดงบประมาณ ต้องวางแผน- การใชห้อ้งประชุมหลายหอ้งพรอ้มกนั

    - ใชร้ะยะเวลาจดัตัง้งบประมาณ

  • เทคนิคเดลฟาย (Delphi Tecnique) พฒันาขึน้เมื่อปี ค.ศ. 1960 โดย โอลาฟ เฮลเมอร์ (Olaf Helmer) และนอรแ์มน ดาลก้ี (Norman Dalkey)เพ่ือระดมความคิดเหน็ของผูเ้ช่ียวชาญเก่ียวกบัการพยากรณ์ทางวิทยาศาสตรแ์ละเทคโนโลยีในอนาคต

  • กระบวนการวิเคราะหด้์วยเทคนิคเดลฟาย

    1. ก าหนดประเดน็ปัญหาของงานท่ีวิเคราะห์2. คดัเลือกผูเ้ช่ียวชาญ3. สร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิเคราะหแ์ละการเกบ็รวบรวมข้อมลู

  • ลกัษณะของเทคนิคเดลฟาย การรวบรวมความคิดเหน็จากผูเ้ช่ียวชาญ / ผูท้รงคณุวฒิุ

    ท่ีเก่ียวข้อง โดยมีอิสระในการแสดงความคิดเหน็ ให้ความคิดเหน็ซ า้ๆ จนกระทัง้ได้ข้อสรปุท่ีเหมาะสมท่ีสดุ ใช้แบบสอบถามกบัผูเ้ช่ียวชาญ โดยปราศจากการช้ีน า

    จากกลุ่ม และไม่มีโอกาสเผชิญหน้ากนั

  • ข้อดีของเทคนิคเดลฟายมีความน่าเชื่อถือมาก สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้เป็นการประมวลความคดิเหน็จากผู้เช่ียวชาญที่มีความช านาญ

    เฉพาะด้าน อย่างแท้จริงผู้เช่ียวชาญสามารถแสดงความคดิเหน็ในแต่ละคนได้อย่างมี

    อสิระใช้เวลาในกระบวนการวิเคราะห์ไม่มากประหยัดงบประมาณในการท าวิเคราะห์

  • ข้อดีของเทคนิคเดลฟาย สามารถเกบ็ข้อมูลจากผู้เช่ียวชาญได้หลากหลายสถานการณ์

    เวลา / สถานที่ ไม่จ าเป็นต้องตรงกัน มีขัน้ตอนการด าเนินการไม่ซ า้ซ้อน วเิคราะห์ข้อมูลง่าย เน่ืองจากใช้สถติพิืน้ฐานเพยีงค่าเฉล่ีย

    มัธยฐาน และพสัิยระหว่าง ควอไทล์ เท่านัน้

  • ข้อเสียของเทคนิคเดลฟาย การคัดเลือกผู้เช่ียวชาญ หากไม่ใช่เป็นผู้เช่ียวชาญในสาขาอย่างแท้จริง จะท าให้เกิดความคลาดเคล่ือน ผู้เช่ียวชาญอาจจะเกดิความรู้สึกน่าเบื่อ เน่ืองจากต้องถาม

    ค าถามซ า้ๆ หลายรอบ ค าตอบที่ได้จากค าถามปลายเปิดรอบแรก มักจะเป็นค าตอบ

    ที่ยาว

  • ข้อเสียของเทคนิคเดลฟาย บางครัง้ความคดิเหน็ดีๆ ถูกตดัออก เน่ืองจากไม่สอดคล้องกับ

    ความคดิเหน็ของกลุ่ม การตอบแบบสอบถามในรอบที่ 3 กรณีที่ความคดิเหน็

    ไม่สอดคล้องกับผู้เช่ียวชาญคนใดคนหน่ึง กจ็ะถูกร้องขอให้แสดงเหตุผลประกอบ ท าให้หลายคนเปล่ียนความคิดเหน็ของตนให้สอดคล้องกับความคดิเหน็ของกลุ่ม

  • บทท่ี 4ผลการวิเคราะห์

  • วิธีการใช้เทคนิคเดลฟายในการวิเคราะหง์านและ

    วิเคราะหเ์อกสาร

  • ก าหนดประเดน็หวัข้อท่ีต้องการขอความเหน็ โดยการก าหนดหวัข้อเรื่องท่ีจะถามความเหน็ให้กระชบัและชดัเจน

  • การขอความเหน็จากผูเ้ช่ียวชาญต้องทราบการให้ความคิดเหน็ในรอบแรกและยินดีให้ความเหน็ในรอบท่ี 2 รอบท่ี 3 หรือมากกว่าน้ี

  • น าความเหน็ในรอบแรกมารวบรวมโดยใช้เทคนิคทางสถิติ หรือค่าร้อยละ ฯลฯ และน าข้อมลูท่ีได้ไปขอความเหน็ในรอบท่ี 2

  • การหาสาเหตหุลกัของปัญหาการวิเคราะหข้์อมลูครัง้น้ี เป็นการวิเคราะหค์วามเหน็โดยผูเ้ช่ียวชาญ

    ท่ีมีความรู้ความสามารถในวิชาชีพโสตทศันูปกรณ์ จ านวน 18 ท่านด าเนินการวิเคราะหค์วามคิดเหน็ 3 รอบ

    รอบท่ี 1 เป็นค าถามปลายเปิด โดยผูเ้ช่ียวชาญแสงความคิดเหน็รอบท่ี 2 น าค าตอบจากผูเ้ช่ียวชาญ รอบท่ี 1 สร้างแบบสอบถาม

    ปลายเปิด เพ่ือสอบถามความคิดเหน็ในรอบท่ี 2รอบท่ี 3 วิเคราะหค์วามคิดเหน็ของผูเ้ช่ียวชาญจากแบบสอบถาม

    ปลายปิด

  • แบบสอบถามความคิดเหน็ผูเ้ช่ียวชาญด้านโสตทศันูปกรณ์กบัการใช้ห้องประชมุ

    รอบท่ี 1-----------------------------------------------------------------------

    ค าช้ีแจง1. แบบสอบถามฉบบัน้ีสรา้งขึน้เพือ่ประเมนิความคดิเหน็ของผูเ้ชีย่วชาญดา้นอุปกรณ์โสตกบัการใชห้อ้งประชมุ

    อาคารปัจจุบนัและอาคารใหมส่ านักบรกิารวชิาการ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่2. การวเิคราะหค์รัง้น้ีใชเ้ทคนิคเดลฟาย โดยจะใชผู้เ้ชีย่วชาญดา้นโสตทศันูปกรณ์ จ านวน 18 ทา่นเพือ่ใหแ้ต่ละ

    ทา่นแสดงความคดิเหน็อยา่งอสิระ จะด าเนินการ อยา่งน้อย 2-3 รอบรอบท่ี 1 ใหผู้เ้ชีย่วชาญดา้นโสตทศันูปกรณ์ แสดงความคดิเหน็ในแบบสอบถามปลายเปิดรอบท่ี 2 เมือ่ไดแ้บบสอบถามปลายเปิดมาแลว้ ผูว้เิคราะหจ์ะน าขอ้มลูต่าง ๆ มาสรา้งแบบสอบถามปลายปิดแบบ

    ตวัเลอืก สง่กลบัใหผู้เ้ชีย่วชาญดา้นโสตทศันูปกรณ์ แสดงความคดิเหน็ในแบบสอบถามปลายปิดแบบตวัเลอืก เพือ่หาค่าความเหมาะสมและคา่ความสอดคลอ้ง

    รอบท่ี 3 อาจจะตอ้งสง่กลบัใหผู้เ้ชีย่วชาญดา้นโสตทศันูปกรณ์ แสดงความคดิเหน็ในแบบสอบถามอกีครัง้เพือ่ให้ไดค้า่ความเหมาะสมและคา่ความสอดคลอ้งมากทีส่ดุ

  • 1. ทา่นคดิวา่ความเหมาะสมอุปกรณ์โสตประเภทเครือ่งขยายเสยีง ทีใ่ชภ้ายในหอ้งประชุม ควรค านึงถงึประสทิธภิาพและคุณภาพในดา้นใดบา้ง ?

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    2. ทา่นคดิวา่ความเหมาะสมอุปกรณ์โสตประเภทเครือ่งฉายประเภทใดบา้ง ทีม่คีวามจ าเป็นต่อความตอ้งการของผูใ้ชห้อ้งประชุมในปัจจุบนั ?

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

    3. ทา่นคดิวา่ความเหมาะสมอุปกรณ์โสตอื่นประเภทใดบา้ง ทีม่คีวามจ าเป็นต่อความตอ้งการของผูใ้ชห้อ้งประชุมในปัจจุบนั ?

    …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

  • น าข้อมลูท่ีได้จากรอบท่ี 1 ไปขอความเหน็ในรอบท่ี 2 และหรือในรอบท่ี 3 โดยใช้ค่าสถิติหาค่าความเหมาะสมค่าความสอดคล้อง

  • ค่ามธัยฐาน (Mdn หรือ Md) หาค่าความเหมาะสม (ชูศรี วงศร์ตันะ. 2527: 26)

    1

    2

    NMd

  • ค่าอินเตอรค์วอไทลเ์รนจ์ (Interquartile Range) (ชูศรี วงศร์ตันะ. 2525: 51)

    3 1.I R Q Q

  • ก าหนดเกณฑก์ารพิจารณาค่าความสอดคล้องกบัของค าตอบ

    หาค่าร้อยละเพ่ือพิจารณาความสอดคล้องกนั

  • แบบสอบถามงานวิเคราะหโ์สตทศันูปกรณ์กบัการใช้ห้องประชมุรอบท่ี 2

    --------------------------------------------------------------------------

    ค าช้ีแจง1. แบบสอบถามรอบที ่2 น้ี ผูว้เิคราะหไ์ดน้ าขอ้มลูต่าง ๆ จากแบบสอบถามรอบที่ 1

    รวบรวมและสรา้งเป็นแบบสอบถามปลายปิด โดยขอความอนุเคราะหผ์ูเ้ชีย่วชาญดา้นโสตทศันูปกรณ์ แสดงความคดิเหน็ในรอบน้ีอกีครัง้ เพือ่หาค่าความเหมาะสมและคา่ความสอดคลอ้งมากทีส่ดุ

    2. งานวเิคราะหค์รัง้น้ีมวีตัถุประสงคข์องการวเิคราะหค์อื (1) เพือ่ศกึษาการใช้โสตทศันูปกรณ์กบัการใชห้อ้งประชุมในอาคารปัจจุบนัของส านกับรกิารวชิาการ มหาวทิยาลยั เชยีงใหม ่(2) เพือ่วเิคราะหห์าแนวทางในการใชโ้สตทศันูปกรณ์กบัหอ้งประชุมอาคารใหม่ของ ส านกับรกิารวชิาการ มหาวทิยาลยัเชยีงใหม่

    ขอความกรุณาท่านท าเคร่ืองหมาย ลงในช่อง ท่ีตรงกบัระดบัความคดิเห็นของท่านมากท่ีสดุ

  • จากแบบสอบถามในรอบท่ี 1 น าความคิดเหน็ของผูเ้ช่ียวชาญ มาสรา้งเป็นข้อค าถามย่อย ในแบบสอบถามของรอบท่ี 2 ดงัน้ี

  • การหาค่าแบบสอบถาม รอบท่ี 2มากที่สุด

    5มาก

    4ปานกลาง

    3น้อย

    2น้อยที่สุด

    1F

    1 2 3 4 5

    1.1 7 8 3 0 0 0 0 3 11 18

    1.2 14 3 1 0 0 0 0 1 4 18

    1.3 10 7 1 0 0 0 0 1 8 18

    1.4 4 8 3 2 1 1 3 5 11 15

    1.5 3 6 8 0 1 1 1 8 14 17

    1.6 6 5 6 0 0 0 0 6 11 17

    1.7 8 9 1 0 0 0 0 1 10 18

    1.8 13 5 0 0 0 0 0 0 5 18

    1.9 10 7 1 0 0 0 0 1 8 18

  • ค่าท่ีได้จากแบบสอบถาม รอบท่ี 2

  • แบบสอบถามงานวิเคราะหโ์สตทศันูปกรณ์กบัการใช้ห้องประชุมรอบท่ี 3

    --------------------------------------------------------------------------

    ค าช้ีแจงแบบสอบถามรอบนี้เป็นรอบที ่3 ผูว้เิคราะหต์อ้งการจะหาค่าความสอดคลอ้งกนั

    มากทีส่ดุ ซึง่ผลจากการตอบแบสอบถามรอบที ่2 คะแนนสว่นใหญ่ ผูว้เิคราะหไ์ดท้ าเครือ่งหมาย สว่นค าตอบเดมิของทา่นในรอบที ่2 ผูว้เิคราะห ์ท าเครือ่งหมาย …. ไวใ้หแ้ลว้ ผูว้เิคราะหข์อใหท้า่นตอบค าถามในรอบที ่ 3 อกีครัง้หน่ึง โดยท าเครือ่งหมาย และกรณีทีท่า่นตอบไมส่อดคลอ้งกบัผูเ้ชีย่วชาญ สว่นใหญ่เลอืก ขอความกรณุา ระบุเหตุผลลงในชอ่งหมายเหตุดว้ย

  • คะแนนส่วนใหญ่เลือก

  • การหาค่าแบบสอบถาม รอบท่ี 3มากท่ีสดุ5

    มาก4

    ปานกลาง3

    น้อย2

    น้อยท่ีสดุ1

    1 2F3 4 5

    1.1 4 13 1 0 0 18 0 0 1 14 181.2 18 0 0 0 0 18 0 0 0 0 181.3 17 1 0 0 0 18 0 0 0 1 181.4 2 15 1 0 0 18 0 0 1 16 181.5 0 3 15 0 0 18 0 0 15 18 181.6 10 8 0 0 0 18 0 0 0 8 181.7 4 14 0 0 0 18 0 0 0 14 181.1 4 13 1 0 0 18 0 0 1 14 181.2 18 0 0 0 0 18 0 0 0 0 18

  • ค่าท่ีได้จากแบบสอบถาม รอบท่ี 3

  • บทท่ี 5การสรปุผล วิพากษ์ และข้อเสนอแนะ

  • สรปุ วิพากษ์ และข้อเสนอแนะสรุปผลการศึกษาการใช้โสตทศันูปกรณ์กับการใช้ห้องประชุมใน

    อาคารปัจจุบันของส านักบริการวิชาการ และวิเคราะห์หาแนวทางในการใช้โสตทศันูปกรณ์กับห้องประชุมอาคารใหม่ของส านักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ใช้เทคนิคเดลฟาย โดยจะใช้ผู้เช่ียวชาญด้านโสตทศันูปกรณ์ จ านวน 18 ท่าน

    โดย วิธีการสรุปเป็นประเดน็ค าถามเป็น ข้อๆ

  • ประเดน็ค าถามข้อท่ี 1 คณุสมบติัของโสตทศันูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง ท่ีเหมาะสมกบัห้องประชุมในปัจจบุนั พบว่า ผูเ้ชีย่วชาญเหน็วา่เหมาะสมอยา่งยิง่ และสอดคลอ้งกนั คดิเป็นรอ้ยละตามล าดบัดงัต่อไปนี้ เสยีงไมเ่พีย้น นุ่มน่าฟัง เป็นธรรมชาต ิ(เหน็ดว้ยมากทีสุ่ดรอ้ยละ 100) การใหเ้สยีงกระจายทัว่ถงึในหอ้งไดด้ ี(เหน็ดว้ยมากทีสุ่ด รอ้ยละ 100) ไมโครโฟนเพยีงพอกบัความตอ้งการของผูใ้ช ้(เหน็ดว้ยมากทีสุ่ด รอ้ยละ 100) ซ่อมบ ารุงรกัษางา่ย ใชง้านไดน้าน (เหน็ดว้ยมากทีสุ่ด รอ้ยละ 94.44) ....................... ราคาไมแ่พงจนเกนิไป (เหน็ดว้ยมากทีสุ่ด รอ้ยละ 55.56)

  • สรปุได้ว่า คุณสมบตัขิองโสตทศันูปกรณ์ประเภทเครื่องเสยีงผูเ้ชีย่วชาญสว่นใหญ่มคีวามคดิเหน็สอดคลอ้งกนัมากทีส่ดุเนื่องจาก ประสบการณ์ของผูเ้ชีย่วชาญทีม่คีวามรูแ้ละประสบการณ์ในการปฏบิตังิานในดา้นโสตทศันูปกรณ์ประเภทเครือ่งเสยีงมกัจะมคีวามคดิเหน็ทีต่รงกนัคอ่นขา้งมาก ซึง่สอดคล้องกบัทฤษฎีการเรยีนรูโ้ดยการคน้พบ (Discovery Learning) ของ เจอรโ์รม บรเูนอร์ กล่าววา่ การเรยีนรูโ้ดยการคน้พบไดน้าน เพราะเกดิจากเรยีนรูจ้ากประสบการณ์ตรงของตนเอง (ณฐักร สงคราม ,2537)