18
คูมือ ความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety) สําหรับนิสิตและประชาชนทั่วไป คณะอนุกรรมการการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ติดตามและตรวจสอบผลการพัฒนาบริการสาธารณะ ดานความปลอดภัยและสุขอนามัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

  • Upload
    others

  • View
    4

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

คูมือ

ความปลอดภัยดานอาหาร

(Food Safety)

สําหรบันิสิตและประชาชนทั่วไป

คณะอนุกรรมการการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ติดตามและตรวจสอบผลการพัฒนาบริการสาธารณะ

ดานความปลอดภยัและสุขอนามัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 2: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

คํานํา

สิ่ งจําเปนตอการดํารงชี วิตของมนุษยมี 4 อยางดวยกัน คือ อาหาร

เครื่องนุงหม ท่ีอยูอาศัยและยารักษาโรค อาหารเปนหนึ่งในปจจัยท่ีมีความจําเปน

อยางยิ่งตอการดํารงชีวิตของมนุษย มหาวิทยาลัยมหาสารคามและคณะทํางานภาค

ประชาชนไดตระหนักในเรื่องนี้เปนอยางมาก จึงจัดทําคูมือความปลอดภัยในอาหาร

สําหรับนิสิตและประชาชนโดยรอบมหาวิทยาลัยขึ้น เพ่ือใหความรู ความเขาใจ

เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารท่ีปลอดภัยสําหรับการบริโภคในชีวิตประจําวัน

(นายสิทธิศักดิ์ จันทรสมุด) ประธานคณะอนุกรรมการการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ติดตามและ

ตรวจสอบผลการพัฒนาบริการสาธารณะ ดานความปลอดภัยและสุขอนามัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

1 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 3: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

สารบัญ

1. ความรูเก่ียวกับความปลอดภัยดานอาหาร

หลักพิจารณาในการเลือกอาหาร 2.

หลักการเลือกสถานท่ีจําหนาย สถานท่ีบริการอาหาร 3.

กุญแจสําคัญ 5 ประการ สูอาหารปลอดภัย 4.

รูจักสัญลักษณเหลนี้หรือไม ? 5.

2 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 4: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

3 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

ความรูเกีย่วกับความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

อาหารปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) หมายถึง อาหารท่ีไดมีการจัดเตรียม ปรุงผสม และกินอยางถูกตองตามวิธีการและวัตถุประสงค

ของอาหารนั้นๆ แลวไมกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค สวนอาหารท่ี

ไมปลอดภัยและกอใหเกิดอันตรายเมื่อบริโภคเขาไปคืออาหารท่ีมี

สารปนเปอน

หลกัพิจารณาในการเลอืกอาหาร

1. ประโยชน คือ ตองเปนอาหารที่สดใหม มี คุณคาทาง

โภชนาการครบถวน เหมาะสมกับความตองการในชวงอายุตางๆ ของ

มนุษย 2. ปลอดภัย คือ ตองเลือกอาหารท่ีแนใจวาสะอาด ปลอดภัย

ผลิตจากแหลงท่ีเชื่อถือได ไมมีความเส่ียงตอการเกิดโรคในระบบ

ทางเดินอาหาร ทั้งนี้ เนื่องจากสารพิษและสารเคมีไมอาจทําลายดวย

ความรอน 3. ประหยัด คือ ตองเลือกซื้ออาหารตามฤดูกาล ซึ่งจะสงผลใหได

อาหารที่มีคุณภาพดีและราคาถูก หาซื้อไดสะดวก

หลกัการเลือกสถานที่จําหนาย สถานที่บริการอาหาร

เพ่ือความปลอดภัยของผูบริโภค ผูบริโภคควร

สังเกตกอนเขาไปเลือกซื้อผลิตภัณฑ หรืออาหาร แนวทางหรือหลักการ

งายๆ ที่ควรนําไปใชในการเลือกสถานท่ีจําหนายและสถานที่บริการ

อาหาร ดังนี้

Page 5: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

แผงลอย

แผงลอย หรือ การจําหนวยอาหารในท่ีหรือทางสาธารณะเปน

การคาขายบนพ้ืนที่ ซึ่งเปนของสวนรวม โอกาสที่อาหารจะไดรับการ

ปนเปอนจากอันตรายและกอใหเกิดความไมปลอดภัยตอผูบริโภคไดสูง

ผูบริโภคจึงตองใหความใสใจในการพิจารณาเลือกสถานท่ีจําหนายอาหาร

แผงลอยท่ีเหมาะสม เพ่ือความปลอดภัยในการบริโภค ดังนี้ 1. แผงลอยจําหนายอาหารทําจากวัสดุที่ทําความสะอาดงาย

มีสภาพดีเปนระเบียบ อยูสูงจากพ้ืนอยางนอย 60 ซม. 2. อาหารปรุงสุกมีการปกปด หรือมีการปองกันสัตวแมลงนําโรค 3. สารปรุงแตงอาหารตองมเีลขทะเบียนตํารับอาหาร (อย.) 4. น้ําดื่ม ตองเปนน้ําสะอาด ใสในภาชนะที่สะอาด มีการปกปด

มีกอกหรือทางเทรินน้ํา 5. เคร่ืองด่ืม ตองใสภาชนะที่สะอาด มีการปกปด และมีที่ตักท่ีมี

ดามยาวหรือมีกอก หรือทางเทรินน้ํา 6. น้ําแข็งท่ีใชบริโภคตองสะอาด เก็บในภาชนะท่ีสะอาด มีฝาปด

อยูสูงจากพ้ืนอยางนอย 60 ซม. ทีต่ักน้ําแข็งมีดามยาว และตองไมน้ํา

อาหารหรือส่ิงของอยางอ่ืนไปแชไวในน้าํแข็ง 7. ลางภาชนะดวยน้ํายาลางภาชนะ แลวลางดวยน้ําสะอาด 2 คร้ัง

หรือลางดวยน้ําไหล และอุปกรณการลางตองวางสูงจากพ้ืนอยางนอย

60 ซม. 8. ชอน สอม ตะเกียบ วางต้ังเอาดามข้ึนในภาชนะโปรงสะอาด

หรือวางเปนระเบียบ ในภาชนะโปรงสะอาดและมีการปกปดเก็บสูงจาก

พ้ืนอยางนอย 60 ซม. 9. มีการรวบรวมมูลฝอยและเศษอาหารเพ่ือนําไปกําจัด 10.

4 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

ผูสัมผัสอาหารแตงกายสะอาดสวมเส้ือมีแขน ผูปรุงตองผูกผา

กันเปอนท่ีสะอาด สวมหมวกหรือเน็ทคลุมผม

Page 6: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

11. ใชอุปกรณหยิบจับอาหารท่ีปรุงสําเร็จแลว

12. ผูสัมผัสอาหารที่มีบาดแผลท่ีมือตองปกปดแผลใหมดิชิด

รานอาหาร

รานอาหาร คือ สถานท่ีปรุงประกอบและจําหนายแกผูบริโภค

ซึ่งนับวามีความสําคัญตอสุขภาพอนามัยของประชาชน เพราะถาหากราน

มีสภาพหรือมีการปฏิบัติที่ไมถูกสุขลักษณะจะเปนสาเหตุใหอาหารไดรับ

การปนเปอนจากเชื้อโรคหรือสิ่งสกปรก รานอาหารก็จะเปนแหลงแพร

เชื้อโรคและสารเคมีพิษไปสูผูบริโภคได รานอาหารจะตองมีการจัดการ

ดานสุขาภิบาล ดังนี้ 1. สถานท่ีรับประทาน เตรียม ปรุง ประกอบอาหาร ตองสะอาด

เปนระเบียบและจัดเปนสัดสวน 2. วัสดุอุปกรณตางๆ ตองจัดใหเปนระเบียบ สามารถทําความ

สะอาดไดทั่วถึง 3. ใชสารปรุงแตงอาหารท่ีมีความปลอดภัย มีเคร่ืองหมายรับรอง

ของทางราชการ 4. อาหารสดตองลางใหสะอาดกอนนาํมาปรุงหรือเก็บ การเก็บ

อาหารประเภทตางๆ ตองแยกเก็บเปนสัดสวนอาหารประเภทเนื้อสัตวดิบ

เก็บในอุณหภูมิทีไ่มสูงกวา 7.2 องศาเซลเซียส 5. อาหารที่ปรุงสําเร็จแลว เก็บในภาชนะท่ีสะอาดมีการปกปด

วางสูงจากพ้ืนอยางนอย 60 ซม.

6. น้ําแข็งท่ีใชบริโภคตองสะอาด เก็บในภาชนะท่ีสะอาดมีฝาปดใช

อุปกรณที่มีดามสําหรับคีบ หรือตักโดยเฉพาะ วางสูงจากพ้ืนอยางนอย

60 ซม. และตองไมมีสิ่งของอยางอ่ืนแชรวมไว

5 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 7: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

7. ลางภาชนะดวยน้ํายาลางภาชนะ แลวลางดวยน้ําสะอาด 2 คร้ัง

หรือลางดวยน้ําไหลและท่ีลางภาชนะตองวางสูงจากพ้ืนอยางนอย

60 ซม. 8. เขียงและมีด ตองมีสภาพดีและใชระหวางเนือ้สัตวสุก

เนื้อสัตวดบิ และผักผลไม 9. ชอน สอม ตะเกียบ วางต้ังเอาดามข้ึนในภาชนะโปรงสะอาด

หรือวางเปนระเบียบในภาชนะโปรงสะอาดและมีการปกปด เก็บสูงจาก

พ้ืนอยางนอย 60 ซม. 10. มูลฝอย และน้ําเสียทุกชนิด ไดรับการกําจัดดวยวิธีที่ถกูหลัก

สุขาภิบาล 11. หองสวมสําหรับผูบริโภคและผูสัมผัสอาหารตองสะอาด มีอาง

ลางมือท่ีใชการไดด ีและมีสบูใชตลอดเวลา

12. ผูสัมผัสอาหารแตงกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ผูปรุงตองผูกผา

กันเปอนท่ีสะอาด สวมหมวกหรือเน็ทคุลมผล 13. ผูสัมผัสอาหารตองลางมอืใหสะอาดกอนเตรียมปรุง ประกอบ

จําหนายอาหารทุกคร้ังใชอุปกรณในการหยิบจับอาหารท่ีปรุงสําเร็จแลว

ทุกชนิด 14. ผูสัมผัสอาหารที่มีบาดแผลท่ีมีตองปกปดใหมิดชดิ หลีกเล่ียง

การปฏิบัติงานท่ีมีโอกาสสัมผัสอาหาร 15. ผูสัมผัสอาหารที่เจ็บปวยดวยโรคที่สามารถติดตอไปยังผูบริโภค

โดยมีน้ําและอาหารเปนส่ือใหหยุดปฏิบัติงานจนกวาจะรักษาใหหายขาด

6 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 8: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

7 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

กุญแจสําคัญ 5 ประการ สูอาหารปลอดภัย

รักษาความสะอาด

- ลางมือกอนทําอาหารและลางมือบอยๆ ระหวางประกอบอาหาร - ลางมือหลงัเขาหองน้ํา - ลางและทําความสะอาดพ้ืนที่และเคร่ืองมือที่ใชประกอบอาหาร - ปองกันแมลง สัตวรบกวน ในหองครัว **เช้ือจุลินทรีย พบไดในดิน น้ํา สัตวและคน สวนใหญจะอยูที่มือ

เสื้อผา และเคร่ืองมือ เคร่ืองใชตางๆ ซึ่งสามารถปนเปอนสูอาหาร และเปนสาเหตุทีท่ําใหเกิดโรค

แยกวัตถุดิบกับอาหารปรุงสุก - แยกเนื้อสด สัตวปกและอาหารทะเลสด จากอาหารปรุงสุก - แยกเคร่ืองมือ เคร่ืองใช เชน มีด เขียง ที่ใชกบัอาหารสดกับอาหาร

ปรุงสุก - เก็บอาหารปรุงสุกแยกจากอาหารสด เชน ปลาสด เนื้อสด เปนตน

**วัตถุดิบ เชนเนื้อสด สัตวปก และอาหารทะเลสด จะมีเชื้อจุลินทรยีที่เปนอันตราย ซึ่งสามารถปนเปอนสูอาหารปรุงสุกระหวางการเตรียมและการเก็บรักษาได

การทําใหอาหารสุก - จําเปนอยางยิ่งที่จะตองทําใหเนื้อสตัว สตัวปก ไข และอาหารทะเล สกุ กอนบริโภค - ซุป และตมตางๆ ควรปรุงใหเดือดเพ่ือใหมั่นใจวาปรุงที่อุณหภูม ิ 70 ๐C สําหรับเนื้อสัตวและสัตวปก เมื่อปรุงแลวเนื้อจะตองไมมีสีชมพู - อาหารที่ปรุงไวนานแลว ตองอุนใหเดือดกอนบริโภค

**จากการศึกษา ทีอุ่ณหภูม ิ 70 ๐C สามารถฆาเชื้อจุลนิทรียทั้งหมดในอาหารได ซึ่งทําใหมัน่ใจไดวาอาหารนั้นปลอดภยั

Page 9: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

8 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

การเก็บรักษาอาหาร - ไมควรวางอาหารปรุงสุกแลวที่อุณหภูมหิองนานเกิน 2 ชั่วโมง - ควรเก็บอาหารปรุงสุกในตูเย็น (อุณหภูมิไมเกิน 5 ๐C )

- ควรอุนอาหารที่อุณหภูมิมากกวา 60 ๐C กอนบริโภค - ไมควรเก็บอาหารปรุงสุกในตูเย็นนานๆ - ไมควรละลายอาหารแชแข็งที่อุณหภูมหิอง

เช้ือจุลินทรีย สามารถเจริญเติบโตไดอยางรวดเร็วในอาหารที่เก็บที่อุณหภูมหิอง แตที่อุณหภมูิต่ํากวา 5 ๐C และ สูงกวา 60 ๐C เชื้อจุลินทรียจะเจริญเติบโตชาหรือไมเจริญเติบโต

การใชนํ้าและวัตถุดิบอยางปลอดภัย - ใชน้ําที่ผานกระบวนการผลิต เชนน้ําปะปา - เลือกวัตถดุิบที่สด

- เลือกอาหารที่ผานกระบวนการผลิตที่ปลอดภัย เชน นมพลาสเจอร **วัตถุดิบ จะรวมถึง น้ําและน้ําแข็ง ซึ่งอาจปนเปอนเชื้อจลุินทรียและสารเคมีที่เปนอันตราย ซึ่งสามารถจัดการไดโดยวิธีงายๆ เชน การลาง การปอกเปลือก เปนตน

Page 10: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

เครื่องหมายโครงการ “อาหารปลอดภัย” Food Safety

อาหารปลอดภัย เปนสัญลักษณใหกับ ฟารม แหลงปลูกที่ดําเนนิการตาม GAP, COC และ GMP รับผิดชอบโดย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

เปนการรบัรอง

1. รับรองสินคาอาหาร 2. รับรองระบบ การจัดการดานความปลอดภัยคุณภาพอาหาร เชน

ระบบ CoC (Code of Conduct), GAP (Good Agricultural Practice), GMP (Good Manufacturing Practice), HACCP (Hazard Analysis and Critical Control Point) เปนตน

3. รับรองสินคาท่ีมิใชอาหาร เชน ปจจัยการผลิตทางการเกษตร รับรองระบบอ่ืนๆ ที่ไมใชดานความปลอดภัย และคุณภาพอาหาร

หนวยงานที่รับรอง ไดแก กรมประมง กรมปศุสัตว กรมวิชาการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมสหกรณ กรมพัฒนาที่ดิน สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ และองคการตลาด

เพ่ือเกษตรกร โดยแตละหนวยงานแบงกันรับผิดชอบในการตรวจสอบ

รับรองดังนี้

9 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 11: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

กรมประมง ตรวจสอบรับรอง ผลผลิตและผลิตภัณฑประมง กรมปศุสตัว ตรวจสอบรับรอง ผลผลิต และผลิตภัณฑจาก

ปศุสัตว กรมสงเสริมการเกษตร ตรวจสอบรับรอง ผลิตภัณฑชุมชน กรมสงเสริมสหกรณ ตรวจสอบรับรอง ผลิตภัณฑของสมาชิก

สหกรณ กรมพฒันาที่ดิน ตรวจสอบรับรองปจจัยการผลิต (สารเรง

สําหรับทําปุยหมัก) สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ

ตรวจสอบ รับรอง มาตรฐาน คุณภาพ และการติดฉลากสินคาเกษตร

สินคาเกษตรแปรรูป และสินคาอาหาร

เครื่องหมาย “สุขภาพดี เริ่มที่อาหารปลอดภัย” Safe Food Good

Health

ใชกับอาหารสด เปนสัญญลักษณใหกับรานคาท่ี แผงที่จําหนายอาหารสด ในตลาดสดและซุปเปอรมาเก็ต รับผิดชอบโดย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา

10 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

เปนการรับรอง อาหาร ไดแก อาหารสด อาหารแปรรูป ปรุง

จําหนาย สารเคมีที่ตรวจ ไดแก บอรแรกซ สารพิษตกคางจากสารเคมี สารฟอกขาว สารกันเชื้อรา สารฟอรมาลีน สารเรงเนื้อแดง จุลินทรีย คลอแรมแฟนิคอลไนโตรฟูแรน สถานประกอบการ สถานเพาะเลีย้ง เพาะปลกู

Page 12: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

เครื่องหมาย อย.

เปนสัญลักษณใหกับผลิตภัณฑอาหารแปร

รูป ที่มีภาชนะบรรจุสนิท รับผิดชอบโดย สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

ผลิตภัณฑอาหารใดบางตองมีฉลาก กลุมที ่ 1 อาหารควบคุมเฉพาะม ี 17 ชนิด ไดแก

1. นมดัดแปลงสําหรับทารก และนมดัดแปลงสูตรตอเนื่อง สําหรับทารกและเด็กเล็ก

2. อาหารทารกและอาหารสูตรตอเนื่อง สําหรับทารก และเด็กเล็ก

3. อาหารเสริม สําหรับทารกและเด็กเล็ก 4. นมโค 5. นมปรุงแตง 6. นมเปร้ียว 7. ไอศกรีม 8. อาหารในภาชนะบรรจุ ที่ปดสนิท 9. ผลิตภัณฑของนม 10. น้ําบริโภคในภาชนะบรรจุ ที่ปดสนทิ 11. เคร่ืองดื่มในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท 12. น้ําแข็ง 13. อาหารสําหรับผูที่ตองการ ควบคุมน้ําหนัก 14. สีผสมอาหาร 15.

11 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

วัตถุที่ใชปรุงแตงรสอาหาร

Page 13: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

16. วัตถุเจือปนอาหาร 17. โซเดยีมซัยคลาเมตและ อาหารที่มีโซเดียมซัยคลาเมต

กลุมที ่2 อาหารทีก่ําหนดคุณภาพหรือมาตรฐานมี 31ชนิด ไดแก 1. น้ํามนัและไขมัน 2. น้ํามนัถั่วลิสง 3. เนย 4. เนยเทียม 5. กี 6. อาหารก่ึงสําเร็จรูป 7. น้ํามนัเนย 8. น้ําปลา 9. น้ําสมสายชู 10. ครีม 11. น้ํามนัปาลม 12.น้ํามนัมะพราว 13. ชา 14. น้ํานมถ่ัวเหลือง ในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท 15. กาแฟ 16. แยม เยลลี มารมาเลด ในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท 17. เคร่ืองด่ืมเกลือแร 18. รอยัลเยลลีและ ผลิตภัณฑรอยัลเยลลี 19. น้ําผ้ึง 20. น้ําแรจากธรรมชาต ิ 21.

12 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

เนยแข็ง

Page 14: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

22. ซอสบางชนิด 23. น้ําท่ีเหลือ จากผลิตภัณฑ โมโนโซเดียมกลูตาเมต 24. ไขเย่ียวมา 25. ผลิตภัณฑปรุงรส ที่ไดจากการยอยโปรตีน ของถ่ัวเหลือง 26. ขาวเติมวิตามนิ 27. ช็อกโกแลต 28. เกลือบริโภค 29. อาหารที่มีสารพิษตกคาง 30. อาหารที่มีสารปนเปอน 31. อาหารที่มีกัมมนัตรังสี

กลุมที ่3 อาหารทีร่ัฐมนตรปีระกาศใหตองมีฉลากมี 14 ชนิด ไดแก

1. ผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว 2. แปงขาวกลอง 3. น้ําเกลือปรุงอาหาร 4. ซอสในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท 5. ขนมปง 6. หมากฝร่ังและลูกอม 7. วุนสําเร็จรูปและขนมเยลลี 8. กําหนดกรรมวิธ ีการผลิตอาหารซึ่งมี การใชกรรมวิธีการ

ฉายรังสี

9. ผลิตภณัฑกระเทียม 10. วัตถุแตงกลิ่นรส 11.

13 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

อาหารที่มีวัตถุที่ใชเพ่ือรักษาคุณภาพ หรือ มาตรฐานของ

อาหาร รวมอยูในภาชนะบรรจุ

Page 15: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

12 . อาหารที่มีสวนผสมของวานหางจระเข 13. อาหารมีวัตถุประสงคพิเศษ 14. การแสดงฉลากของอาหาร พรอมปรุงและอาหาร

สําเร็จรูป ที่พรอมบริโภคทันที

เครื่องหมาย ตลาดสด นาซ้ือ

อาหารสด เปนสัญญลักษณ ใหกับตลาดขายอาหารสด อาหารพรอมบริโภค อาหารแปรรูป

โดยกาํหนด

1. สถานท่ีสะอาด 2. อาหารปลอดภัย ไมมีสารปนเปอน (ไมพบบอแรกซ, สาร

ฟอรมาลีน, สารไฮโดรซัลไฟด (สารฟอกขาว), กรดซาลิซลิิก

(สารกันรา), สารพิษตกคาง, สารกําจัดแมลง) 3. ใสใจผูบริโภค มีพ้ืนท่ีใหความรู และกิจกรรมสงเสริมการ

คุมครองผูบริโภค

รับผิดชอบโดย กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข

14 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

Page 16: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

15 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

สัญลักษณการผลติที่ปลอดภัย

สัญลักษณการผลติที่ปลอดภัย และมีคุณภาพ ของกลุมเครือขาย GAP ภาคตะวันตก ครอบคลุมจังหวัดนครปฐม ราชบุรี

กาญจนบุรี และสุพรรณบุรี ผูที่ใหการรับรองคือ โครงการเพ่ิมคุณภาพการผลิต

อาหารปลอดภัย ตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม กลุมเครือขาย GAP ภาคตะวันตก

เครื่องหมายรับรองคุณภาพระบบตรวจสอบสารพษิ

กรมวทิยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข

สัญลักษณ รับรองคุณภาพระบบ ตรวจสอบสารพษิ รับผิดชอบ โดย

กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ใชรับรองคุณภาพระบบตรวจสอบ สารพิษตกคางในผักสด/

ผลไมซึ่งผูประกอบการสามารถดําเนินการตรวจสอบผักสด/ผลไม ได

อยางเปนระบบ สามารถตรวจสอบใหเปนไปตาม ขอกําหนดและเง่ือนไข ของกรมวิทยาศาสตรการแพทย

กระทรวงสาธารณสุข

Page 17: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

16 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

เครื่องหมายอาหารสะอาด รสชาติอรอย (Clean Food Good

Taste))

ปายอาหารสะอาด รสชาติอรอย เปนปายออกใหกับรานอาหารหรือ

แผงลอยที่ไดมาตรฐานตามขอกําหนดความปลอดภัยดานอาหาร

ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

Page 18: คู มือ · ความรู ี่ับความปลอดภเกยวก ัานอาหารยด (Food Safety) 4 ผู สััสอาหารแตมผ

17 ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยดานอาหาร (Food Safety)

คณะอนุกรรมการการมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็น ติดตามและตรวจสอบผลการพัฒนาบริการสาธารณะ

ดานความปลอดภัยและสุขอนามัย

……………………………………… 1. นายสทิธิศักด์ิ จันทรสมุด ประธานกรรมการ 2. นายธีรพล ศิระบูชา รองประธานกรรมการ 3. พ.ต.ท.วรวุฒิ ดีสุรกุล กรรมการ 4. พ.ต.ต.ธีระวัฒน อามาตยสมบัติ กรรมการ 5. นางสาวสมจิตนา ทั่วทิพย กรรมการ 6. นายเกือ้กูลดวงจันทรทิพย กรรมการ 7. นางสาวอนุกูล บุญออน กรรมการ 8. นายอดศิร เหลาสะพาน กรรมการ 9. นายสุปน ชุมอภัย กรรมการ 10. นายทองบู บุญหลา กรรมการ 11. นายชวน บุตรราช กรรมการ 12. นายสุรศักด์ิ ทองเจียว กรรมการ 13. นายธนสิ บุรินรัมย กรรมการ 14. นายวันชัย เนื่องอุดม กรรมการ 15. นายแทนนิมิตร กรรมการ 16. นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง กรรมการและเลขานุการ 17. นางลัดดาภรณ เชือ้ในเขา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

เนื้อหาและรูปเลม : ลัดดาภรณ เช้ือในเขา