35
หนา 1 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ มยผ. xxxx-xx รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ 1. ขอบขายและขอจํากัด 1.1 ขอบขาย เอกสารฉบับนี้จะกลาวถึงการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะซึ่งกอสรางโดยการขุด, การเจาะ, หรือวิธี อื่นใดที่ทําใหเกิดรูขึ้นในดิน ซึ่งหลังจากนั้นจะแทนที่ดวยคอนกรีตไรเหล็กเสริมหรือคอนกรีตเสริมเหล็ก วิศวกรและผูรับเหมามักจะใชคําเรียกที่แตกตางกันไปเชน Caisson, Foundation Pier, Bored Piles, Drilled Shafts, Sub-Piers และ Drilled Piers สลับแทนที่กันแลวแตความคุนเคย การออกแบบโครงสรางและการกอสรางเสาเข็มเจาะเปนวัตถุประสงคหลักของเอกสารฉบับนีและการ พิจารณาทางดานวิศวกรรมปฐพีเปนสิ่งจําเปนเนื่องจากความแปรปรวนของคุณสมบัติดินสงผลอยางมาก ตอการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะ ดังนั้นจึงจําเปนตองอธิบายบางสวนของปฐพีกลศาสตรทีเกี่ยวของในที่นี้ดวย ในการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะใหประสบผลสําเร็จจะตองมีขอมูลที่เชื่อถือ ไดของชั้นดิน ในงานนี้จําเปนจะตองเกิดจากความรวมมือของวิศวกรปฐพี วิศวกรโครงสราง และผูรับเหมา เสาเข็ม เนื่องจากขอจํากัดในการกอสรางมักจะเปนตัวกําหนดการออกแบบ เอกสารฉบับนี้ใชสําหรับการออกแบบและกอสรางอาคาร แตในหัวขอเกี่ยวกับการกอสราง การตรวจสอบ งาน และการทดสอบ สามารถนําไปใชกับสะพานและการกอสรางอื่นได 1.2 ขอจํากัด เอกสารนี้เหมาะกับเสาเข็มเจาะที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต 800 มิลลิเมตรหรือโตกวา ซึ่งกอสรางดวย วิธีเปดโดยการควบคุมน้ําภายในหลุมเจาะไมจําเปนจะตองใชแรงดันจากอากาศ เสาเข็มที่มีขนาดเล็กกวานีตองมีดินที่มีเสถียรภาพเพียงพอหรือใชปลอกเหล็กถาวร เนื่องจากไมสามารถตรวจสอบการพังของผนัง หลุมเจาะที่มีเสนผานศูนยกลางเล็กได

ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

  • Upload
    others

  • View
    3

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 1 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

มยผ. xxxx-xx

รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

1. ขอบขายและขอจํากัด

1.1 ขอบขาย

เอกสารฉบับนี้จะกลาวถึงการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะซ่ึงกอสรางโดยการขุด, การเจาะ, หรือวิธี

อ่ืนใดที่ทําใหเกิดรูข้ึนในดิน ซ่ึงหลังจากนั้นจะแทนท่ีดวยคอนกรีตไรเหล็กเสริมหรือคอนกรีตเสริมเหล็ก

วิศวกรและผูรับเหมามักจะใชคําเรียกท่ีแตกตางกันไปเชน Caisson, Foundation Pier, Bored Piles, Drilled

Shafts, Sub-Piers และ Drilled Piers สลับแทนท่ีกันแลวแตความคุนเคย

การออกแบบโครงสรางและการกอสรางเสาเข็มเจาะเปนวัตถุประสงคหลักของเอกสารฉบับนี้ และการ

พิจารณาทางดานวิศวกรรมปฐพีเปนส่ิงจําเปนเนื่องจากความแปรปรวนของคุณสมบัติดินสงผลอยางมาก

ตอการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะ ดังนั้นจึงจําเปนตองอธิบายบางสวนของปฐพีกลศาสตรท่ี

เกี่ยวของในท่ีนี้ดวย ในการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะใหประสบผลสําเร็จจะตองมีขอมูลท่ีเช่ือถือ

ไดของช้ันดิน ในงานนี้จําเปนจะตองเกิดจากความรวมมือของวิศวกรปฐพี วิศวกรโครงสราง และผูรับเหมา

เสาเข็ม เนื่องจากขอจํากัดในการกอสรางมักจะเปนตัวกําหนดการออกแบบ

เอกสารฉบับนี้ใชสําหรับการออกแบบและกอสรางอาคาร แตในหัวขอเกี่ยวกับการกอสราง การตรวจสอบ

งาน และการทดสอบ สามารถนําไปใชกับสะพานและการกอสรางอ่ืนได

1.2 ขอจํากัด

เอกสารนี้เหมาะกับเสาเข็มเจาะท่ีมีขนาดเสนผานศูนยกลางต้ังแต 800 มิลลิเมตรหรือโตกวา ซ่ึงกอสรางดวย

วิธีเปดโดยการควบคุมน้ําภายในหลุมเจาะไมจําเปนจะตองใชแรงดันจากอากาศ เสาเข็มท่ีมีขนาดเล็กกวานี้

ตองมีดินท่ีมีเสถียรภาพเพียงพอหรือใชปลอกเหล็กถาวร เนื่องจากไมสามารถตรวจสอบการพังของผนัง

หลุมเจาะท่ีมีเสนผานศูนยกลางเล็กได

Page 2: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 2 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

2. นิยามและรายการสัญลักษณ

2.1 นิยาม

“สถาปนิก-วิศวกร (Architect-Engineer)” หมายถึง เปนผูซ่ึงรับผิดชอบตอการออกแบบรูปรางและการ

ออกแบบโครงสรางท้ังหมดและมีหนาท่ีรับผิดชอบตอท่ีไดระบุไวในรายงานนี้

“Bearing Stratum” หมายถึง ช้ันดินหรือช้ันหินท่ีรองรับแรงท่ีเสาเข็มหรือฐานรากลึกท่ีมีลักษณะคลายกัน

ถายลงสูช้ันดินหรือช้ันหินนั้น

“เสาเข็มรับแรงท่ีปลาย (Bearing Type Pier)” หมายถึง เสาเข็มท่ีมีแรงตานจากช้ันดินสวนท่ีเปนหลักเกิด

จากช้ันดินใตเสาเข็ม

“ฐานรากคลุมหัวเสาเข็ม (Cap)” หมายถึง สวนท่ีอยูดานปลายบนของเสาเข็ม โดยปกติจะกอสรางแยกจาก

เสาเข็ม ทําหนาท่ีปรับตําแหนงการเยื้องศูนยของเสาเข็มท่ีเยื้องไปจากตําแหนงท่ีตองการ ทําหนาท่ีเปนตัว

ยึดเหล็กเดือย หรือสมอทําใหมีคาคลาดเคล่ือนอยูในชวงท่ียอมรับ หรือทําหนาท่ียึดหัวเสาเข็มสองตนหรือ

มากกวาใหเปนกลุมเสาเข็มท่ีรองรับเสาโครงสราง

“ปลอกเหล็ก” หมายถึง ทอเหล็กกันดิน โดยปกติจะเปนทรงกระบอก ติดต้ังโดยการตอกลงในดินเพื่อ

ปองกันคนงานหรือผูตรวจสอบงานท่ีลงไปในหลุมเจาะจากการพังทลายของผนังหลุมเจาะ และ/หรือ

สําหรับกันดินและน้ําไมใหทะลักเขาหลุมเจาะ

“เสาเข็มรับแรงท่ีปลายรวมกับแรงเสียดทานผิว” หมายถึง เสาเข็มท่ีแรงตานจากช้ันดินเกิดจากช้ันดินใต

เสาเข็มรวมกับแรงเสียดทานดานขางซ่ึงเกิดท่ีผิวเสาเข็ม

“ผูกอสราง” หมายถึง บุคลากร บริษัท หรือองคกรท่ีเจาของงานตกลงท่ีจะใหเขากอสราง

“ของเหลวควบคุม” หมายถึง ของเหลวท่ีใชในการปองกันการพังทลายของหลุมเจาะสําหรับเสาเข็มเจาะ

ระบบเจาะเปยก ซ่ึงระบุไวในตารางท่ี 1.1

ตารางท่ี 1.1 คุณสมบัติของเหลวในการเจาะเสาเข็มโดยท่ัวไป (ACI 336.3R-93)

ส่ิงท่ีตองการวัด ชวงของผล

ท่ี 20 องศาเซลเซียส

วิธีทดสอบ

Density prior to concreting

a. Friction pile

b. end bearing pile

85 max

70 max

API 13B

Section 1

Page 3: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 3 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

ส่ิงท่ีตองการวัด ชวงของผล

ท่ี 20 องศาเซลเซียส

วิธีทดสอบ

Marsh funnel viscosity (sec.) prior

to concreting

26-45

API 13B

Section 2

Marsh funnel and quart

Sand content by volume (%) before

concreting

a. Piles with design end bearing

b. Piles with no design end bearing

4 max

10 max*

API 13B

Section 4

Sand-screen set

pH during excavation 8-12 API 13B

Section 6

Paper test strips or

glass electrode pH meter

Sand in polymer slurry immediately

prior to concreting

1% max

Density of polymer slurry 63.5 pcf max

Viscosity of polymer slurry 50 max

* Higher sand contents have been successfully used in some locations

2.2 รายการสัญลักษณ

bA หมายถึง พื้นท่ีหนาตัดของเสาเข็ม, 2L

oA หมายถึง พื้นท่ีผิวรอบเสาเข็ม, 2L

c หมายถึง Soil cohesion, 2−FL d หมายถึง เสนผานศูนยกลางของเสาเข็ม, L

pd หมายถึง ความยาวท่ีเสาเข็มฝงลงในดิน, L

D หมายถึง แรงกระทําคงท่ีสุทธิ, F

fD หมายถึง แรงกระทําคงท่ีรวม, F

fD หมายถึง ความลึกของดินท่ีกดทับ, F

Page 4: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 4 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

cEE, หมายถึง โมดลัูสอีลาสติกของคอนกรีต, 2−FL

qE หมายถึง แรงเนื่องจากแผนดนิไหว, F

cf ′ หมายถึง กําลังรับแรงอัดของคอนกรีต, 2−FL

of หมายถึง หนวยแรงเสียดทานผิวประลัยเฉล่ีย, 2−FL

3 ส่ิงท่ีตองพิจารณา

3.1 ท่ัวไป

หนาท่ีของเสาเข็มคือการถายแรงกระทําตามแกน แรงกระทําทางขาง แรงบิดและโมเมนตดัดลงสูช้ันดิน

หรือช้ันหินท่ีอยูรอบและใตเสาเข็ม เพื่อท่ีจะทําหนาท่ีนี้ เสาเข็มจะเปนปฏิสัมพันธระหวางดินหรือหินรอบ

เสาเข็มและโครงสรางท่ีอยูเหนือเสาเข็ม ความสัมพันธระหวางเสาเข็มตอช้ันดินเปนตัวแปรท่ีสําคัญ

ประการหน่ึงในการออกแบบเสาเข็ม

ปจจัยท่ีเกี่ยวของกับเสาเข็มนั้นไมสามารถใชทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งใหคลอบคลุมไดท้ังหมด ดังนั้นจึงตองต้ัง

สมมุติฐานบางประการขึ้นมา อยางไรก็ตามในการออกแบบนั้นจะตองคํานึงถึงการกอสรางประกอบดวย

3.2 ปจจัยท่ีตองพจิารณา 3.2.1 สภาพช้ันดนิ

ช้ันดิน สภาพน้ําใตดินและความลึก ความหนาและธรรมชาติของช้ันหิน ทรายหรือวัสดุอ่ืนใดท่ีเปน

ช้ันดินท่ีเสาเข็มวางอยูนั้นจะมีผลกระทบตอวิธีการกอสรางและการออกแบบฐานราก ตัวอยางไดแก

การที่หนวยแรงตานท่ีปลายเข็มจะใชระบุขนาดของเสาเข็มเจาะ คาการซึมผาน น้ําใตดินและ

คุณสมบัติของดินใชในการตัดสินใจเลือกใชวิธีปองกันการพังทลายของหลุมเจาะ หรือเลือกวิธีท่ีใช

ในการเทคอนกรีต และอาจมีผลตอการพิจารณาการเกิดการทรุดตัวของดินในขณะขุดเจาะเสาเข็ม

กําลังรับแรงเฉือนของดินและพฤติกรรมการเปล่ียนรูปของดินรอบเสาเข็มใชระบุวาแรงตาน

เนื่องจากแรงเสียดทานผิวจะเปนปจจัยท่ีตองคํานึงถึงในการออกแบบหรือไม แรงตานทานท่ีผิวอาจ

ตานทานแรงท่ีกระทําหรืออาจเปนแรงฉุดลงท่ีกระทําตอเสาเข็มก็ได

3.2.2 สภาพโครงการ

ปจจัยท่ีมีผลตอการเลือกวิธีการกอสรางและการออกแบบ ไดแก ขนาดพ้ืนท่ีกอสราง ทางเขา

โครงการ การจํากัดความสูงของการขนยายและกอสราง โครงสรางและสาธารณูปโภคเดิมท่ีตองมี

การปองกันการทรุดตัว ดินทรุด เสียง และความสะอาด

Page 5: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 5 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

ในการพิจารณาออกแบบและกอสรางอาจตองคํานึงถึงการทรุดตัวของดินเนื่องจากการไหลของดิน

เม็ดละเอียดมากับน้ําในการลดระดับน้ําเพื่อกอสรางดวย จะตองมีการประเมินผลกระทบของการ

ทรุดตัวตอโครงสรางขางเคียงและโครงสรางใหมดวย

3.2.3 การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ

ในการประเมินขอมูลโดยอางอิงจากผลการสํารวจในสนามโดยการเจาะสํารวจหรือการทดสอบในท่ี

(In-Situ Testing) จะตองไดรับการรับรองผลโดยวิศวกรปฐพี

ในการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะเปนงานท่ีมีหลายข้ันตอน โดยการควบคุมคุณภาพและการ

ประกันคุณภาพเปนส่ิงจําเปนในการทําใหการกอสรางเสาเข็มไดตามตองการ ถาไมมีการควบคุม

คุณภาพและการประกันคุณภาพโอกาสที่จะกอสรางเสาเข็มใหเปนไปตามท่ีตองการเปนไปได

คอนขางยาก ในขณะกอสรางเสาเข็มจะตองมีวิศวกรปฐพีประจําหนวยงาน วิศวกรปฐพีและวิศวกร

โครงสรางจะตองระบุขอกําหนดรวมกันซ่ึงจะตองระบุอยางชัดเจนสําหรับการทดสอบใน

หองปฏิบัติการและการตรวจสอบงาน

3.2.4 ขอจํากัดดานการกอสราง

เคร่ืองจักรและอุปกรณ ความชํานาญของผูกอสราง วัสดุท่ีมีในทองถ่ิน และขอกําหนดเกี่ยวกับ

อาคารในแตละทองถ่ิน มีผลตอการออกแบบและกอสรางเสาเข็ม ดังนั้นโดยสวนใหญขอจํากัดดาน

การกอสรางมักจะเปนตัวควบคุมการออกแบบ

3.2.5 ขอพิจารณาออกแบบ

ผูออกแบบจะตองคํานวณแรงกระทําท้ังในแนวดิ่ง แรงกระทําทางขาง และโมเมนตดัดท่ีกระทําตอ

เสาเข็ม ซ่ึงความยาวและคุณสมบัติหนาตัดของเสาเข็ม การกระจายของแรงท่ีปลายเสาเข็ม แรงตาน

แรงกระทําดานขาง และแรงเสียดทานผิวนั้น คํานวณโดยใชแรงท่ีกระทําและลักษณะช้ันดิน

3.2.6 เสาเข็มรับแรงกระทําดานขาง

ในการวิเคราะหเสาเข็มท่ีมีแรงกระทําดานขางนั้นจําเปนตองทราบคาสติฟเนสของเสาเข็ม การ

ตอบสนองตอแรงกระทําของดิน และปฏิสัมพันธของดินและเสาเข็ม การตอบสนองของดินตอแรง

กระทําเปนตัวแปรท่ีคาดเดาไดคอนขางยาก ดังนั้นการแอนตัวของเสาเข็มมักจะใชเปนขีดจํากัดใน

การระบุแรงกระทําดานขางท่ียอมใหมากกวาท่ีจะเปนการระบุแรงกระทําดานขางประลัย

Page 6: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 6 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

3.3 ชนิดของเสาเข็มเจาะ

เพื่อความสะดวกจึงจําแนกเสาเข็มเปนประเภทตามลักษณะของแรงท่ีถายลงสูดินหรือหิน และตาม

พฤติกรรมของเสาเข็มท่ีตอบสนองตอแรงกระทําดานขาง

3.3.1 เสาเข็มรับแรงในแนวดิ่ง (Axially Supported Piers)

เสาเข็มท่ีรับแรงในแนวด่ิงจาํแนกไดเปน 3 ประเภท ไดแก

(1) เสาเข็มถายแรงสูปลาย (Bearing Type Pier)

เปนเสาเข็มท่ีมีลักษณะตรง (ดูรูปท่ี 1) ซ่ึงกอสรางลงในช้ันดินออนและมีปลายอยูในช้ันดินท่ีมี

กําลังแบกทาน (Bearing capacity) สูง จนทําใหกําลังตานทานของเสาเข็มสวนใหญเกิดข้ึนท่ี

ปลาย

COLUMN DOWELS OR ANCHOR BOLTS SET WITH TEMPLATE WHERE NECESSARY

CAP REINFORCEMENT

PILE REINFORCEMENT

EXTEND AS REQUIRED

SHAFT(SKIN OF PILE)

TOE(END OF PILE)

BEARING STRTUM

pq

รูปท่ี 1 ตัวอยางเสาเข็มท่ีมีกําลังตานจากปลายเข็มเพียงอยางเดียว

(ขอท่ี 3.3.1 (1))

(2) เสาเข็มถายแรงสูปลายและผิว (Combination Bearing and Side Resistance Type Pier)

เปนเสาเข็มท่ีฝงลงในช้ันดินท่ีทําใหแรงตานแรงกระทําบางสวนเกิดจากผิวดานขางของเสาเข็มท่ี

สัมผัสกับดิน และแรงตานบางสวนถายลงสูปลายเสาเข็ม (ดูรูปท่ี 2)

Page 7: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 7 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

F F

of

รูปท่ี 2 เสาเข็มท่ีมีกําลังตานทานสวนใหญจากผิวเสาเข็ม

(ขอท่ี 3.3.1 (2) และ (3))

(3) เสาเข็มถายแรงสูผิว (Side Resistance Type Pier)

เปนเสาเข็มท่ีฝงลงในช้ันดินท่ีทําใหแรงตานแรงกระทําสวนใหญเกิดจากผิวดานขางของเสาเข็ม

ท่ีสัมผัสกับดิน (รูปท่ี 2) เนื่องจากกําลังแบกทานที่ปลายเสาเข็มนั้นตํ่ามากหรือไมนาเช่ือถือ

ตัวอยางเชน เสาเข็มท่ีไมมีการทําความสะอาดกนหลุมกอนการเทคอนกรีต

3.3.2 เสาเข็มรับแรงกระทําดานขาง (Laterally Loaded Piers)

เม่ือคํานึงถึงการตอบสนองตอแรงกระทําตอเสาเข็มจะจําแนกเสาเข็มไดเปน 2 ประเภท

(1) เสาเข็มแข็งเกร็ง (Rigid Pier)

เปนเสาเข็มท่ีส้ันและมีสติฟเนสสูงเม่ือเทียบกับดินรอบเสาเข็ม การเคล่ือนตัวหลักของเสาเข็มจะ

เปนการหมุนรอบจุดบนเสาเข็ม และ/หรือ การเล่ือนทางขางของเสาเข็ม การตานการหมุนของ

เสาเข็มสติฟเนสสูงถูกควบคุมโดยรูปแบบความสัมพันธระหวางแรงกับการเคล่ือนตัวของดิน

โดยรอบและดินใตเสาเข็ม และยังถูกควบคุมโดยการยึดร้ัง (ถามี) จากโครงสรางเหนือเสาเข็ม

(2) เสาเข็มยืดหยุน (Flexible Pier)

เสาเข็มท่ีมีความยาวมากพอและมี Flexural Rigidity ( EI ) ท่ีทําใหการแอนตัวของเสาเข็มสวน

ใหญเกิดจากแรงดัด

Page 8: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 8 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

3.4 พิจารณาดานธรณีเทคนิค

ผูออกแบบจําเปนตองมีความรูเพียงพอในสภาพช้ันดินใตโครงการ

3.4.1 จํานวนหลุมเจาะ

จะตองมีจํานวนหลุมเจาะมากเพียงพอท่ีจะสามารถสรางรูปตัดของช้ันดินไดอยางคอนขางถูกตอง

และระบุระดับน้ําใตดินได ในกรณีท่ีตองวางเสาเข็มลงในช้ันหิน จะตองระบุระดับผิวบนของช้ันหิน

และคุณลักษณะใหใกลเคียงกับสภาพจริง

3.4.2 ความลึกของหลุมเจาะในช้ันดิน

การเจาะสํารวจจะตองลึกพอท่ีจะตรวจสอบการทรุดตัวของช้ันดินท่ีอยูใตเสาเข็ม และในกรณีท่ี

เปนไปไดในทางปฏิบัติควรจะตองมีหลุมเจาะอยางนอยหนึ่งหลุมลึกถึงช้ันหิน

3.4.3 ระดับน้ําใตดนิ

ถาพบระดับน้ําใตดินอยูในโซนท่ีจะกอสรางเสาเข็มเจาะ จะตองมีการตรวจสอบเพ่ือใชในการระบุ

วาการเจาะเสาเข็มนั้นจะตองใช Slurry หรือไม ซ่ึงจะตองรวมถึงระดับน้ําใตดิน การเปล่ียนแปลง

ระดับน้ําใตดิน (ถามี) และขอมูลการซึมผานของดิน

3.4.4 ระดับช้ันหินท่ีปลายเสาเข็ม

ในกรณีท่ีเสาเข็มจะตองฝงลงในช้ันหินจะตองเจาะเก็บตัวอยางแทงหินหรือหยั่งลงในช้ันหินเปน

ความลึกไมนอยกวาสองเทาของหนาตัดเสาเข็ม แตจะตองไมนอยกวา 3 เมตร ความลึกนี้เพื่อท่ีจะ

ระบุกําลังของหินและสภาพของชั้นหิน (ถามีรอยแตก) และเพ่ือใหแนใจวาเสาเข็มจะไมวางอยูบน

หินกอนท่ีลอยอยูในช้ันดินออน ในกรณีท่ีเสาเข็มตองรับน้ําหนักบรรทุกสูงและคุณภาพของช้ันหิน

อาจมีกําลังตานทานไมเพียงพอ อาจจําเปนตองเจาะตัวอยางแทงหินข้ึนมา

3.4.5 กําลังของดิน

ในช้ันดินเหนียวจะตองเก็บตัวอยางดินคงสภาพ (Undisturbed Soil Sample) จํานวนมากพอท่ีจะใช

ในการหาหนวยน้ําหนักและพารามิเตอรกําลังของดิน

สําหรับในช้ันดินทราย ในทางปฏิบัติโดยท่ัวไปจะประมาณความแนนของดินและระบุแรงดันดินท่ี

ยอมใหโดยใชขอมูลการทดสอบ Standard Penetration Test, Cone Penetration Test หรือ Pressure

Meter Test

Page 9: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 9 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

3.4.6 การทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม

การทดสอบเสาเข็มจะจําเปนในกรณีโครงการมีขนาดใหญหรือในกรณีของความไมแนนอนท่ีอาจ

เกิดข้ึนในช้ันดินหรือความไมคุนเคยกับวิธีการกอสรางเสาเข็ม โดยในการทดสอบอาจใชเสาเข็มเปน

สมอในการทดสอบก็ได

ในกรณีท่ีไมมีปญหาเนื่องจากระดับน้ําใตดิน อาจจะทําการเจาะเสาเข็มขนาดเทากับเสาเข็มใชงาน

แลวทดสอบ Plate Load Test ท่ีปลายเสาเข็มเพื่อหากําลังรับแรงแบกทานของดิน ในขณะเจาะ

เสาเข็มสามารถตรวจสอบช้ันดินดวยตาเปลาและเก็บตัวอยางดินข้ึนมาดูได

อาจจะทําการทดสอบกับเสาเข็มท่ีมีเสนผานศูนยกลางเล็กกวาเสาเข็มใชงาน โดยจะตองติดต้ัง

เคร่ืองมือวัด (Instrumentation) และนําผลการทดสอบและการวัดจากเคร่ืองมือไปใชระบุกําลังรับ

น้ําหนักของเสาเข็มท่ีมีขนาดใหญกวา

3.4.7 การตอบสนองของเสาเข็มตอแรงกระทําดานขาง

ปจจุบันวิธีท่ีสมบูรณในการประเมินการตอบสนองตอแรงกระทําดานขางของเสาเข็มจะอยูใน

รูปแบบของคานบนฐานรากอีลาสติก (Beam on Elastic Foundation) โดยอาศัยการคํานวณเชิง

ตัวเลขดวยคอมพิวเตอร (Reese, 1977a; 1977b; 1984; 1988) ตัวแปรหลักไดแกการตอบสนองตอ

แรงกระทําของช้ันดิน (Subgrade Response) และสติฟเนสของเสาเข็ม ( EI ) แรงตานทานของ

ช้ันดิน (Subgrade Reaction) อาจจําลองเปนสปริงท่ีมีความสัมพันธเปนแบบเชิงเสนตรง หรือเปน

วัสดุ Elastic-Plastic โดยใชขอมูล yp −

เนื่องจากไมมีวิธีใดในการจําลองการตอบสนองตอแรงกระทําของช้ันดินเปนท่ียอมรับแบบสากล

ดังนั้นวิศวกรปฐพีอาจจะตองใชแบบจําลองท่ีเหมาะสมกับประสบการณในแตละทองถ่ินเปนหลัก

Page 10: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 10 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

4 การออกแบบ

4.1 แรงกระทํา การออกแบบเสาเข็มประกอบดวย 2 ข้ันตอนคือ

ก. ระบุขนาดหนาตัดของเสาเข็มหรือขนาดโดยรวมของเสาเข็ม

ข. ออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กของเสาเข็ม

ในข้ันตอน (ก) ซ่ึงรวมถึงปฏิสัมพันธระหวางดินกับเสาเข็ม แรงท่ีกระทําตอเสาเข็มจะตองเปนน้ําหนัก

บรรทุกใชงาน (Service Load) และหนวยแรงในเสาเข็มตองเปนหนวยแรงที่ยอมให น้ําหนักบรรทุกใชงาน

ท่ีกระทําตอเสาเข็มไมรวมตัวคูณน้ําหนักบรรทุก (Load Factor)

ในข้ันตอน (ข) จะใชวิธีกําลังในการออกแบบเสาเข็ม โดยปกติจะใชวิธีกําลัง (Strength Method) ในการ

ออกแบบ ซ่ึงผูออกแบบอาจเลือกใชวิธีหนวยแรงใชงานก็ได โดยปกติจะใชน้ําหนักบรรทุกใชงานในการ

คํานวณโมเมนตดัดลัพธ แรงเฉือน และแรงตามแนวแกน แลวจะนํามาคูณกับเฟคเตอรแรงกระทํา (Load

Factor) ท่ีเหมาะสมกับแตละกรณีของแรงกระทําเพื่อใชออกแบบกําลังของตัวเสาเข็ม ในกรณีท่ีใชเสนโคง

ท่ีไมเปนแบบเชิงเสนตรง และ/หรือแรงกระทําตามแกนท่ีไมคงท่ี (เนื่องจากเสนโคงท่ีไมเปนแบบเชิง

เสนตรงสําหรับแรงเสียดทานผิว) จะตองคูณแรงกระทําดวยเฟคเตอรแรงกระทํา แรงดันดินท่ีตองการเพื่อ

ทําใหสมดุลกับแรงกระทําเพิ่มคาแลว (Factored Load) เปนส่ิงสมมุติข้ึนและใชสําหรับการคํานวณโมเมนต

ดัด แรงเฉือน และแรงกระทําตามแกน ท่ีใชในการออกแบบกําลังของเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กเทานั้น

ในกรณีท่ีโมเมนตดัดเกิดข้ึนจากแรงกระทําเยื้องศูนย จะตองสรางแรงดันดินสมมุติข้ึนมาเพ่ือเปนแรง

ตานทานตอแรงกระทําเพิ่มคาแลว ซ่ึงคาท่ีไดนี้อาจแตกตางจากแรงดันดินท่ีไดจากกรณีของน้ําหนักบรรทุก

ใชงาน

4.1.1 แรงกระทําตามแกน

แรงกระทําตามแกนอาจประกอบไปดวยแรงเหลานี้ ไดแก

D คือ น้ําหนักบรรทุกคงท่ีจากโครงสราง และนํ้าหนักของเสาเข็ม หักออกดวยน้ําหนักของ

ดินท่ีถูกแทนท่ีดวยเสาเข็ม (น้ําหนักสุทธิของเสาเข็ม)

gD คือ น้ําหนักบรรทุกคงท่ีจากโครงสรางและน้ําหนักของเสาเข็ม (น้ําหนักรวมของเสาเข็ม)

L คือ น้ําหนักบรรทุกจรจากโครงสราง รวมถึงแรงกระทําแบบกระแทก (ถามี)

qEW , คือ แรงกระทําตามแกนในเสาเข็มท่ีเกิดจากแรงลมหรือแรงจากแผนดินไหวตามลําดับ

Page 11: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 11 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

1pS คือ แรงตานทานดานขางของเสาเข็มเชิงบวกกระทําในทิศทางช้ีข้ึน โดยเกิดจากการที่

เสาเข็มเคล่ือนท่ีลงเม่ือเทียบกับดินโดยรอบเสาเข็ม

2pS คือ แรงดานขางท่ีเปนแรงกระทําตอเสาเข็มแบบฉุดลง

nS คือ แรงเสียดทานผิวดานขางเชิงลบ กระทําในทิศทางฉุดลงเกิดจากการทรุดตัวของดิน

รอบเสาเข็มเทียบกับเสาเข็ม โดยปกติเปนคาท่ีจุดประลัย

qP คือ แรงแบกทานท่ีปลายเสาเข็ม

upP คือ แรงยกตัวเนื่องจากแรงลอยตัวท่ีกระทําตอโครงสรางท่ีจมอยูใตน้ํา

anP คือ กําลังของสมอยึดในช้ันหินหรือในช้ันดิน

4.1.2 แรงกระทําทางขางและโมเมนตดัด

แรงกระทําทางขางเกิดจากแรงดันดินท่ีไมสมดุล การเคล่ือนตัวเนื่องจากอุณหภูมิของโครงสราง

สวนบน แรงลม และ/หรือแรงจากแผนดินไหว โมเมนตดัดอาจเกิดจากแรงกระทําตามแกนเสาเข็มท่ี

มีการเยื้องศูนย และโดยแรงกระทําทางขาง และอาจเปนแรงท่ีสงผานจากโครงสรางสวนบนลงสู

เสาเข็มโดยตรง

4.2 แรงกระทํา 4.2.1 แรงกระทําในแนวแกน

จะตองพิจารณาแรงกระทําสูงสุดและตํ่าสุด สําหรับกรณีระหวางการกอสรางและในกรณีท่ีกอสราง

เสร็จ

(1) แรงกระทําสูงสุด

จะตองพิจารณาถึงน้ําหนักของเสาเข็มท่ีเกินมาจากน้ําหนักของดินท่ีเจาะออกไป แรงเสียดทาน

ผิวเชิงลบ (Negative Side Resistance) ผลเน่ืองจากการกระจายตัวใหมในระยะยาวของแรงเสียด

ทานผิว ตัวอยางเชน แรงเสียดทานผิวท่ีเปนแรงตานอาจลดลง หายไป หรือมีทิศทางตรงกันขาม

ตามระยะเวลาเนื่องจากแรงฉุดลงท่ีกระทําตอเสาเข็ม

ก. แรงกระทําคงท่ี แรงกระทําจร แรงเสียดทานผิว และแรงถอน: เม่ือเกิดแรงเสียดทานผิวเปน

บวก (กระทําในทิศทางข้ึน)

21 /1/ FSSFSPPLD pqup +<−+ (1)

กรณีท่ีมีแรงเสียดทานผิวเชิงลบ

npqup SFSSPPLD −+<−+ /)1( (2)

Page 12: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 12 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

ข. แรงกระทําคงท่ี แรงกระทําจร แรงเสียดทานผิว และแรงถอน และแรงลมหรือแรงเนื่องจาก

แผนดินไหว: เม่ือเกิดแรงเสียดทานผิวเปนบวก (กระทําในทิศทางข้ึน)

)/1/()(75.0 1 FSSFSPPWLD pqup +<−++ (3)

กรณีท่ีมีแรงเสียดทานผิวเชิงลบ

)/)1()(75.0 npqup SFSSPPWLD −+<−++ (4)

(2) แรงกระทําตํ่าสุด (Minimum Loading)

ใหใชแรงยกตัวสูงท่ีสุด upP โดยพิจารณากรณใีนสมการตอไปนี้: ถา

025.19.0 >−− upg PWD (5)

แลวไมจําเปนตองตรวจสอบกรณีอ่ืน: มิเชนนั้นจะตองตรวจสอบสมการตอไปนี ้

2/9.0 FSPSDP anngup +<− (6)

2/25.19.0 FSPSWDP anngup +<+− (7)

ถาพบวาแรงเสียดทานผิวมีเพียงพอ โดยปกติไมจําเปนตองใชสมอยึด

4.2.2 แรงกระทํารวม

ตองรวมผลของแรงกระทําทางขางและโมเมนตดัดกระทํารวมกับแรงกระทําตามแกน โดยพิจารณา

ตามกรณีในหัวขอ 4.1.1

4.3 การออกแบบกําลังของเสาเข็ม

เสาเข็มเจาะท่ีฝงอยูในดินท่ีมีกําลังของดินสูงเพียงพอท่ีจะมีแรงตานแรงกระทําดานขางอาจกอสรางเปน

คอนกรีตไรเหล็กเสริมหรือคอนกรีตเสริมเหล็กก็ได การออกแบบเสาเข็มคอนกรีตไรเหล็กเสริมใหใช

มาตรฐานการออกแบบ ACI 318.1 เสาเข็มท่ีไมสามารถออกแบบใหเปนเสาเข็มไรเหล็กเสริมเนื่องจาก

ความไมเหมาะสมของขนาดหนาตัดท่ีจะกอสรางไดในทางปฏิบัติอาจออกแบบเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก

ตามมาตรฐานการออกแบบ ACI 318 ในการออกแบบทั้งกรณีเสาเข็มไรเหล็กเสริมและเสาเข็มคอนกรีต

เสริมเหล็กอาจใชวิธีกําลังในการออกแบบ เสาเข็มคอนกรีตอาจใชวิธีหนวยแรงใชงานในการออกแบบก็ได

ถาใชวิธีกําลังในการออกแบบ แรงท่ีกระทําตอเสาเข็มไมวาจะเปนแรงกระทําตามแกน แรงกระทําทางขาง

หรือโมเมนตดัด ตองคูณดวยแฟคเตอรแรงกระทํา (Load Factor) ท่ีเหมาะสม และแรงตานของเสาเข็ม

จะตองคํานวณจากแรงกระทําท่ีคูณดวยแฟคเตอรแรงกระทําแลว ส่ิงท่ีจะตองทราบในการออกแบบคือ แรง

ตานทานน้ีไมมีสวนสัมพันธกับกําลังรับแรงเฉือนประลัยของดิน แตใชเปนแคเพียงเพื่อใหเกิดสมดุลกับ

แรงกระทําท่ีคูณดวยแฟคเตอรแลว เสาเข็มจะตองมีความสอดคลอง (Compatibility) ของแรงตานทานจาก

Page 13: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 13 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

ดินเม่ือประเมินดวยวิธีแรงกระทําใชงาน (Working Load) ขอแนะนํา: ในการออกแบบดวยวิธีกําลังจะตอง

ใชแฟคเตอรแรงกระทําในการวิเคราะหท่ีจะใชออกแบบความสามารถในการรับแรงกระทําของหนาตัด แต

ในการวิเคราะหการทรุดตัวและการเคล่ือนตัวทางขางจะตองใชแรงกระทําใชงานท่ีไมมีการคูณแฟคเตอร

ของแรงกระทําเพียงอยางเดียวเทานั้น

การออกแบบดวยวิธีกําลัง ขนาดหนาตัดของคอนกรีตและขนาดหนาตัดของเหล็กเสริมท่ีตองการอาจ

คํานวณไดจากการคูณแฟคเตอรแรงกระทํากับแรงเฉือนและโมเมนตดัดท่ีคํานวณจากแรงกระทําใชงาน

ถาใชวิธีอ่ืนในการออกแบบ เชน วิธีหนวยแรงใชงาน แรงท่ีกระทําตอเสาเข็มจะตองเปนแรงกระทําใชงาน

โดยไมมีการคูณแฟคเตอรแรงกระทํา และแรงดันดินในการคํานวณแรงตานทานจากดินจะตองเปนแรงดัน

ดินท่ียอมใหท่ีมีสัดสวนปลอดภัยท่ีเหมาะสม

4.3.1 Load Factor for Strength Design

จะตองใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.4 ตอน้ําหนักบรรทุกคงท่ีD , แรงถอน upP และแรงอ่ืนใดท่ี

เกิดจากแรงดันของของเหลวกระทําตอโครงสรางในกรณีท่ีสามารถระบุแรงดันสูงสุดได มิเชนนั้น

แลวใหใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.7

จะตองใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.7 ตอน้ําหนักบรรทุกจร L , แรงลม W , ขนาดแรงจาก

แผนดินไหว )1.1( qE และแรงอ่ืนใดท่ีเกิดจากแรงกระทําทางดานขางตอโครงสราง

ถาผลของการทรุดตัวท่ีไมเทากันของโครงสราง (Differential Settlement), ความคืบ (Creep), การ

หดตัว (Shrinkage) และผลเนื่องจากอุณหภูมิ (Temperature Effect) มีผลกระทบอยางมีนัยยะสําคัญ

จะตองรวมอยูในกรณีน้ําหนักบรรทุกคงท่ี การประเมินผลกระทบดังกลาวจะตองต้ังอยูบนพื้นฐาน

ของการเกิดข้ึนจริงในขณะใชงาน

4.3.2 แฟคเตอรลดคากําลังวัสดุ (Strength Reduction Factors)

แฟคเตอรลดคากําลังวัสดุ ระบุอยูในสวนท่ี 9.3 ของ ACI 318

4.3.3 การเสริมเหล็ก

การเสริมกําลังเสาเข็มจําเปนจะตองใชเพื่อตานทานแรงดึง หรือใชถายแรงกระทําจากโครงสรางสู

เสาเข็ม

Page 14: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 14 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

4.4 กําลังของเสาเข็มรับแรงกระทําในแนวดิง่

4.4.1 กําลังของเสาเข็มท่ีไดจากดนิหรือหิน (Capacity from Soil or Rock)

กําลังรับแรงกดหรือกําลังรับดึงประลัยของเสาเข็มเกิดจากผลรวมของแรงตานท่ีปลายเข็มและแรง

เสียดทานท่ีขางเสาเข็ม กําลังรับน้ําหนักประลัยทางทฤษฎีคํานวณโดยไดจากสมการ

qp PlSQ += (8)

โดย Q หมายถึง กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยท่ีเปนแรงอัด

lS p หมายถึง แรงเสียดทานผิวประลัยซ่ึงอาจคิดเปนผลรวมของแรงเสียดทานบนผิว

เสาเข็มท่ีความลึกท่ีพิจารณา

qP หมายถึง แรงตานประลัยท่ีปลายเสาเข็ม

ผูออกแบบจําเปนจะตองพิจารณาความสอดคลองของความเครียด (Strain Compatibility) และการ

เคล่ือนตัวในการเลือกใชสัดสวนปลอดภัย

สัดสวนปลอดภัยมีคาต้ังแต 1.5 ถึง 5 สําหรับแรงเสียดทานผิวและแรงตานท่ีปลายเข็มข้ึนอยูกับช้ัน

ดิน แรงกระทําจากโครงสราง และระดับของความเช่ือม่ันตอพารามิเตอรของชั้นดิน แรงเสียดทาน

ผิวและแรงตานท่ีปลายเข็ม อาจแสดงไดในอีกรูปแบบของสมการเปน

00 AflS p = (9)

และ

bpq AqP = (10)

โดย of หมายถึง หนวยแรงเสียทานผิวประลัยเฉล่ีย

oA หมายถึง พื้นท่ีผิวรอบเสาเข็มท่ีฝงลงในดิน

pq หมายถึง หนวยแรงตานท่ีปลายเข็มประลัย

bA หมายถึง พื้นท่ีหนาตัดรวมท่ีปลายเสาเข็ม

วิศวกรปฐพีจะตองประมาณคา of และ pq โดยใชคุณสมบัติของดิน และ/หรือคุณสมบัติของหิน

และวิธีการกอสราง คาของ of และ pq นั้นอยูในชวงท่ีกวางมากและข้ึนอยูกับความลึก การระบุคา

of และ pq อาจจะตองมีการประสานกับวิศวกรโครงสรางเพ่ือประมาณกําลังรับน้ําหนักบรรทุกท่ี

ยอมให เพื่อใหมีสัดสวนปลอดภัยท่ีเพียงพอและมีการทรุดตัวท่ียอมรับได กําลังรับน้ําหนักบรรทุก

ประลัยของเสาเข็มจะนอยกวาคาท่ีคํานวณไดทางทฤษฎีถาแรงเสียดทานผิวคงคาง (Residual

Page 15: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 15 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

Resistance) นอยกวาแรงเสียดทานผิวสูงสุด (Peak Resistance) เนื่องจากในการรับแรงแรงเสียดทาน

ผิวสูงสุดจะถึงกอนท่ีจะเร่ิมถายแรงมาท่ีปลายเข็ม

4.4.2 การประมาณการทรุดตัวของเสาเข็ม (Estimate of Pier Settlement Where Unit Loading and Soil

Properties are a Design Consideration)

การประมาณการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีท่ีการออกแบบไดคํานึงถึงหนวยแรงและคุณสมบัติของ

ดินนั้น จะตองระบุคุณสมบัติการยุบตัวของดินเพื่อใชในการประมาณการทรุดตัวรวมและการทรุด

ตัวท่ีไมเทากัน การทดสอบในท่ี (In-Situ Test) ตัวอยางท่ีมักจะใชกันไดแก การทดสอบดวย Cone

Penetrometer, Pressuremeter หรือ Plate Load ท่ีปลายของเสาเข็ม การทดสอบแรงกระทํากับเสาเข็ม

มาตราสวนเทาจริง และการทดสอบในหองปฏิบัติการกับตัวอยางดินคงสภาพ การทรุดตัวรวมของ

เสาเข็มเปนผลรวมของการทรุดตัวท่ีปลายเสาเข็มกับการหดตัวอีลาสติกท่ีไดคํานึงถึงผลเนื่องจาก

แรงเสียดทานผิวดวย

4.5 เสาเข็มรับแรงกระทําทางดานขาง

เสาเข็มเจาะจะรับแรงกระทําทางขางสูงมากตลอดความยาวเสาเข็ม ในกรณีท่ีเสาเข็มถูกใชเปนกําแพงกัน

ดิน ถูกใชเปนกําแพงตานการเคล่ือนท่ีของลาดดิน ฐานรากของเสาสงไฟฟา หรือสมอยึด อีกท้ังในกรณีท่ี

แรงดันดินในชั้นใตดินไมเทากันหรือไมเพียงพอท่ีจะตานทานแรงกระทําทางขางจากโครงสรางสวนบน

ทําใหตองใชเสาเข็มเปนโครงสรางตานทานแรงกระทําทางขาง ในกรณีนี้เกิดข้ึนเม่ือฐานรากอยูในระดับ

ต้ืนหรือเม่ือการเคล่ือนตัวดานขางกอใหเกิดแรงดันดินสูงมากเกินกวาท่ีจะตานทานโดยโครงสรางได ใน

การน้ีเสาเข็มจะทําหนาท่ีรับแรงกระทําทางขางท่ีหัวเสาเข็มและแรงกระทําตามแกนจากการพลิกคว่ําของ

โครงสรางสวนบนและโดยปกติจะมีโมเมนตดัดกระทํารวมดวย คาการเคล่ือนตัวของหัวเสาเข็มท่ียอมให

ในการออกแบบแตละกรณีอาจอยูในระดับไมกี่มิลลิเมตรจนถึงระดับ 10 เซนติเมตรข้ึนอยูกับความตองการ

ของแตละโครงการ

เสาเข็มท่ีจะตองรับแรงกระทําทางขางสามารถถูกออกแบบโดยใชวิธีประมาณ แรงกระทําท่ียอมใหท่ี

สามารถกระทําตอหัวเสาเข็มเจาะสามารถหาไดจากตารางในคูมือการออกแบบบางเลม บัญญัติควบคุม

อาคาร หรือโดยใชวิธีอยางงายท่ีสมมุติวาเสาเข็มเปนแบบแข็งเกร็งอยูในดินชนิดเดียว อยางไรก็ตามคาแรง

กระทําท่ียอมใหนี้อาจไมเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับคาท่ีคํานวณโดยใชวิธีคํานวณดวยวิธีเชิงตัวเลข เชน

วิธี Beam on Elastic Foundation, วิธี Finite Element หรือการคํานวณโดยใชวิธีของ Broms (1964) เปนตน

Page 16: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 16 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

4.6 เสาเข็มท่ีมีปลายฝงในชั้นหิน (Piers Socketed in Rock)

เสาเข็มชนิดนี้จะมีการฝงปลายไวในช้ันดินเปนความลึก 1 ถึง 6 เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็มเพื่อท่ีจะ

กอใหเกิดกําลังตานทานของเสาเข็มเพิ่มข้ึน เสาเข็มเจาะจะประกอบไปดวยปลอกเหล็กหนาท่ีติดกับหัวเจาะ

หินและวางอยูบนช้ันหิน แกนเหล็กหรือเหล็กเสริมเปนจํานวนมากจะถูกหุมดวยคอนกรีตท่ีเทจนเตม็สวนที่

ฝงลงในช้ันหิน ฐานรากคลุมหัวเข็มจะเปนเสาท่ีตอข้ึนไปเพื่อถายน้ําหนักบรรทุกลงสูเสาเข็ม เสาเข็มจะถูก

ออกแบบใหถายแรงกระทําท้ังหมดลงสูช้ันหิน

4.7 การจัดเรียงเสาเข็ม (Pier Configuration)

4.7.1 Bells

Xxx void ไมเหมาะกับฝมือการกอสรางในประเทศไทย xxxx

4.7.2 Pile Caps

ในกรณีท่ีใชฐานรากคลุมหัวเสาเข็ม ฐานรากจะตองลึกเพียงพอสําหรับเหล็กเสริมเสาเข็มและเหล็ก

เสริมของเสาโครงสรางท่ีจะตอเขากับฐานราก

4.7.3 ปลอกเหล็กถาวร (Permanent Steel Casing)

ในกรณีท่ีใชปลอกเหล็กถาวรเพ่ือโอบรัดคอนกรีตหรือเปนโครงสรางจะตองมีความหนาอยางนอย

0.0075 เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม ยกเวนในกรณีท่ีทราบวาแรงดันดินและแรงดันน้ํากอน

หรือในระหวางกอสรางมีคาสูงอาจจําเปนตองใชความหนามากกวานี้ ความเคนวิกฤติตอการโกง

เดาะ (Critical Buckling Stress) แปรผกผันกับรัศมีของปลอกเหล็กยกกําลังสาม

การเช่ือมท่ีไมไดคุณภาพและความชํารุดเนื่องจากการติดต้ังหรือการขนยายก็มีผลตอความสามารถ

ของปลอกเหล็กในการตานทางแรงดันจากภายนอก ในการคํานวณโมเมนตความเฉ่ือย (Moment of

Inertia) ของหนาตัดจะตองไมรวมปลอกเหล็กเขาในการคํานวณ ยกเวนในกรณีท่ีใชปลอกเหล็ก

ตอเนื่องไมเปนลอนลูกฟูก (Noncorrugated) ตลอดความยาวเสาเข็ม

4.7.4 รอยตอในเสาเข็ม

ถาเปนไปไดควรจะตองหลีกเล่ียงรอยตอเนื่องจากการกอสรางในเสาเข็มเจาะ ในกรณีท่ีหลีกเล่ียง

ไมไดจะตองเตรียมผิวหนาของคอนกรีตใหขรุขระกอนเทคอนกรีตตอ ในกรณีท่ีเปนเสาเข็มเจาะท่ี

ไมเสริมเหล็กจะตองเตรียมเหล็กเดือยท่ีมีระยะฝงเพียงพอไวท้ังสวนบนและสวนลางของรอยตอ

พื้นท่ีหนาตัดของเหล็กเดือยท่ีใชจะตองไมนอยกวา 0.01 เทาของพื้นท่ีหนาตัดรวมของเสาเข็ม ใน

Page 17: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 17 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

กรณีท่ีมีเหล็กเสริมต้ังในเสาเข็มอยูแลว ใหเพิ่มเหล็กเดือยใหมีปริมาณเหล็กในหนาตัดเปน 0.01 ใน

กรณีท่ีเหล็กเสริมต้ังมีคาเทากับหรือมากวา ρ 0.01 ไมจําเปนตองใชเหล็กเดือย

ในสวนรอยตอระหวางเสาเข็มกับฐานรากในเขตพื้นท่ีซ่ึงมีความเส่ียงตอแผนดินไหว ฐานรากและ

สวนบนของเสาเข็มอาจจะตองทําหนาท่ีรับโมเมนตดัดท่ีมีขนาดเกือบเทากับกําลังรับโมเมนตดัด

ประลัยของเสาโครงสรางท่ีฐานรากนั้นรองรับอยู และจะตองรองรับแรงเฉือนในปริมาณสูง ผลของ

แรงกระทํารวมอาจทําใหเกิดการเล่ือนแยกออกจากกันระหวางหัวเสาเข็มกับฐานรากได ดังนั้น

จะตองใหความระมัดระวังเปนพิเศษในการจัดเหล็กเสริมในจุดตอระหวางเสาเข็มกับฐานรากและ

ระหวางฐานรากกับเสาอาคาร และจัดเหล็กเสริมรัดรอบใหเพียงพอในฐานรากและในสวนท่ีอาจ

ไดรับผลกระทบของเสาเข็ม

4.7.5 เสาเข็มท่ีไมมีการยึดร้ังทางขาง (Unbraced Piers)

ในดินท่ีมีคา Standard penetration N > 1 หรือคากําลังรับแรงเฉือนแบบไมระบายนํ้าสูงกวา 5 กิโล

ปาสคาล อาจถือวาดินนั้นมีแรงตานแรงกระทําดานขางและสามารถปองกันการโกงเดาะของเสาเข็ม

ในขณะท่ีรับน้ําหนักบรรทุกใชงาน เสาเข็มท่ียื่นโผลพนพื้นดินหรือเจาะทะลุหรือถาชองวางในดิน

ขนาดใหญและโอบรัดดานขางโดยอากาศ น้ํา หรือวัสดุอ่ืนใดท่ีมีกําลังไมเพียงพอท่ีจะโอบรัดเสาเขม็

และมีแรงตานดานขางได จะตองออกแบบเปนเสา (Column) โดยความยาวประสิทธิผลของเสา

จะตองประมาณโดยคํานึงถึงสภาพการยึดปลายเสา โดยสามารถประมาณความยาวประสิทธิผลของ

เสาไดเม่ือสวนบนของเสาเปนจุดยึดแบบหมุน (Pin) และใชคาความยาวของสวนท่ีไมมีการยึดร้ังอ่ืน

ใด บวกกับสองเทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม

4.7.6 แรงกระทําซํ้าเปนรอบ

แรงกระทําซํ้าแบบเปนรอบมีแนวโนมท่ีจะลดคาโมดูลัสทางดานขางของช้ันดิน (Lateral Subgrade

Modulus) ซ่ึงอาจลดลงถึง 30 เปอรเซ็นตของคาเร่ิมตน ในกรณีของเสาเข็มกลุมท่ีรับแรงกระทําซํ้า

แบบเปนรอบอาจลดลงถึง 10 เปอรเซ็นตของคาเร่ิมตน ระดับของความเคนในรูปรอยละของความ

เคนท่ีการโกงของเสาสูงสุดจะตองถูกนํามาพิจารณา ระดับของความเคนท่ีตํ่าอาจทําใหไมตอง

พิจารณาถึงการลดลงของโมดูลัสทางขางของช้ันดินเนื่องจากแรงกระทําซํ้าเปนรอบ วิศวกรปฐพี

จะตองประเมินการลดคาโมดูลัสทางขางของดิน ซ่ึงอาจใชวิธีการทดสอบ (ถาเปนไปได)

Page 18: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 18 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

4.7.7 การยึดโยงภายใน (Interconnecting Ties)

ในการออกแบบของกรณีแผนดินไหวและแรงกระทําดานขางอ่ืนใด อาจตองการการยึดโยงระหวาง

เสาเข็มเดี่ยวกับเสาเข็มเดี่ยวดวยโครงสรางยึดร้ัง (Tie) Uniform Building Code (UBC 1985) แนะนํา

วาตัวยึดโยงแตละตัวจะตองสามารถถายแรงดึงหรือแรงอัดไดเทากับ 10 เปอรเซ็นตของแรงท่ีกระทํา

ตอเสาเข็มตนท่ีใหญกวา ตัวยึดโยงอาจจําเปนในการตานทานโมเมนตดัดที่อาจเกิดข้ึน โมเมนตดัด

จะทําหนาท่ีกระจายซํ้า (Redistribute) แรงกระทําทางขางสูเสาเข็มทําใหจําเปนตองใชวิธีการ

วิเคราะหท่ีซับซอนมากข้ึน ตัวยึดร้ังยังทําหนาท่ีพัฒนาแรงดันดินแพซซีฟ (Passive Pressure) ในดิน

เม่ือมีแรงลมกระทําและตัวยึดร้ังยังทําหนาท่ีลดการทรุดตัวท่ีไมเทากันดวย

4.7.8 ระยะคอนกรีตหุมเหล็กเสริมเสาเข็ม เหล็กเสริมเสาโครงสราง

ในกรณีท่ีใชปลอกเหล็กถาวร ความหนาของระยะหุมโดยคอนกรีตจะตองไมตํ่ากวา 75 มิลลิเมตร

หรือ 3 เทาของขนาดมวลรวมท่ีโตสุด โดยเลือกใชระยะท่ีมากกวา จะตองพิจารณาระยะหางระหวาง

เหล็กเสริมและผนังของปลอกเหล็กเม่ือจะตองถอนปลอกเหล็กออก โดยเฉพาะในกรณีท่ีกรงเหล็ก

เสริมและปลอกเหล็กมีความยาวมาก เม่ือมีระยะหางเพียงพอจะลดโอกาสที่ปลอกเหล็กจะรูดเหล็ก

เสริมลงได

5 วิธีการกอสราง

5.1 การเจาะดินและการใชปลอกเหล็ก

5.1.1 วิธีการกอสราง

จะตองใชวิธีการกอสรางท่ีจะใหตําแหนงของเสาเข็มตรงตําแหนงท่ีออกแบบและไดดิ่ง การกอสราง

จะตองไมทําใหดินรอบหลุมเจาะถูกรบกวนจนเกินจําเปน และการเจาะจะตองทําใหไดหลุมเจาะท่ีมี

หนาตัดสมํ่าเสมอตลอดความลึกของเสาเข็ม เสาเข็มแตละตนจะตองฝงอยูในหรืวางอยูบนช้ันดินท่ี

ไดกําหนดไว การเทคอนกรีตจะตองเปนไปอยางตอเนื่องและไดกําลังของคอนกรีตและขนาดหนา

ตัดข้ันตํ่าท่ีไดระบุไวตามตองการ

5.1.2 การเจาะเสาเข็ม

การเจาะเสาเข็มอาจทําโดยใชแรงงานคน สวานเจาะ ถังเจาะเก็บดิน แคลมเชลล หรืออุปกรณ

นอกเหนือจากนี้ หรือใชอุปกรณหลายชนิดรวมกัน ทําใหไดขนาดของหลุมเจาะท่ีไดออกแบบไว

ควรจะหลีกเล่ียงการเจาะเกินขนาดออกแบบ

Page 19: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 19 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

5.1.2.1 ในขณะทําการขุดเจาะเสาเข็ม

ในขณะทําการขุดเจาะเสาเข็ม ผูกอสรางเสาเข็มจะตองหมั่นตรวจสอบความดิ่งของเสาเข็ม

การตรวจสอบอยางหยาบอาจใชระดับน้ําทาบกับกานเจาะ สาเหตุบางประการท่ีทําให

เสาเข็มเบ่ียงไปจากแนวดิ่งมากเกินเกณฑท่ีกําหนด ไดแก

ก. ไมสามารถวางตําแหนงเคร่ืองเจาะและตําแหนงท่ีเจาะใหตรงศูนยของเสาเข็มท่ีไดออกแบบไว ในกรณีท่ีอาจจําเปนตองยายเคร่ืองเจาะออกในระหวางเจาะเสาเข็ม จะตอง

ระวังใหตําแหนงของการเจาะตรงกับตําแหนงเดิมและกานเจาะไดดิ่งกอนเร่ิมการเจาะ

ตอจากเดิม

ข. เม่ือการเจาะพบอุปสรรคใตดิน เชน กอนหินขนาดใหญ ฐานรากของอาคารเดิม หรือดิน

ท่ีถมดวยเศษปูน การเจาะอาจเฉไปจากแนวและเบ่ียงไปจากด่ิง

ค. ถาเคร่ืองจักรเจาะยืนอยูบนช้ันดินออน อาจเกิดการทรุดตัวท่ีไมเทากันและทําใหกาน

เจาะเบ่ียงไปจากแนว

ง. การเจาะดินแนนมากท่ีตองใชแรงบิดท่ีกระทําตอกานเจาะเพ่ิมข้ึน อาจทําใหแนวกาน

เจาะเบ่ียงไปได

5.1.3 การใชปลอกเหล็ก

ในดินแข็งแนนท่ีไมมีน้ําใตดิน หรือมีนอยมากน้ัน ไมจําเปนจะตองใชปลอกเหล็กแตอาจใชปลอก

เหล็กเพื่อความปลอดภัย ปลอกเหล็กท่ีมีขนาดหนาตัดเล็กกวาหลุมเจาะท่ีใชสําหรับผูปฏิบัติงานลง

ไปสํารวจหลุมเจาะ จะตองเปนเหล็กหนาไมนอยกวา 6 มิลลิเมตรซ่ึงโดยปกติจะตองดึงข้ึนจากหลุม

เจาะหลังจากสํารวจเรียบรอยแลว ในกรณีอ่ืนอาจใชปลอกเหล็กช่ัวคราว Slurry หรือท้ังสองอยางใน

การปองกันดินรอบหลุมเจาะพังทลาย ซ่ึงข้ึนอยูกับวิธีการกอสราง ระดับน้ําใตดิน และอาคารและ

สาธารณูปโภคท่ีอยูขางเคียง ในกรณีท่ีจะตองจํากัดการทรุดตัวของดิน จะตองระบุระบบการปองกัน

ดินลงในสัญญากอสราง

5.1.4 - Belling of pier – ไมเหมาะ

5.1.5 การที่ระบุใหมีการฝงเสาเข็มลงในช้ันหนิ

ในกรณีท่ีระบุใหเจาะฝงเสาเข็มลงในช้ันหิน จะตองเจาะโดยวิธีท่ีไดอนุมัติแลว ตัวอยางเชน การเจาะ

หมุน การเจาะหินแบบแทง (Coring) การใชวิธีสกัด (Chipping) และการกระแทก (Chopping) วิธี

Page 20: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 20 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

เจาะดวยการระเบิดจะตองไมนํามาใชในพื้นท่ีจํากัด ซ่ึงแรงเน่ืองจากการระเบิดอาจทําลายปลอก

เหล็ก หรือสงผลตอดินและส่ิงปลูกสรางขางเคียง

5.1.6 การวางเสาเข็มบนช้ันหนิ

ในกรณีท่ีจะตองวางเสาเข็มลงบนช้ันดิน จะตองเจาะลงในช้ันหินและทํากนหลุมใหเปนข้ันหรือทํา

ใหเรียบ โดยมีความเอียงไมเกินกวา 10 องศา

5.1.7 เสาเข็ม Bearing Pile in Shales

ในกรณีท่ีเสาเข็มถูกออกแบบใหวางบนช้ันหิน Shales หรือช้ันดินแข็งท่ีมีลักษณะคลายกัน อาจ

พิจารณาใหแรงกระทําตอเสาเข็มอาจถายลงสูช้ันดินโดยแรงเสียดทานผิวท่ีเกิดข้ึนในช้ันหินนั้น โดย

ปฏิบัติในบางพ้ืนท่ีจะเซาะรองลงบนผนังหลุมเจาะตามเสนรอบวงใหมีลักษณะเปนวงแหวนใน

บริเวณปลายเข็มเพื่อใชเปนเดือยถายแรงเฉือนดังรูปท่ี 2 แตในบางกรณีอาจไมจําเปนตองใชเดือย

ถายแรงเฉือนเพื่อใหเกิดแรงเสียดทานก็ได การเซาะรองเดือยถายแรงเฉือนบนผนังหลุมเจาะอาจใช

เล็บตัดติดบนเคร่ืองมือเจาะเสาเข็ม

5.1.8 ระยะหางข้ันตํ่าระหวางเสาเข็มกําลังกอสรางกับเสาเข็มเพิ่งกอสรางเสร็จ

ในการเจาะเสาเข็ม จะตองไมเจาะเสาเข็มใกลกับเสาเข็มท่ีเพิ่งเทคอนกรีตเสร็จใหมซ่ึงคอนกรีตยังไม

กอตัว (Setting) ระยะหางข้ันตํ่าท่ีจะไมทําใหเกิดการพังของหลุมเจาะท่ีคอนกรีตยังไมกอตัวจาก

หลุมหนึ่งไปยังอีกหลุมหนึ่งนั้นข้ึนกับคุณสมบัติของดิน รูปทรงเรขาคณิตของเสาเข็ม และระยะเวลา

กอตัวของคอนกรีต ซ่ึงจะตองระบุโดยวิศวกรปฐพี

5.2 การติดตั้งเหล็กเสริม (Placing Reinforcement)

5.2.1 เหล็กเสริม

เหล็กเสริม เหล็กเดือย จะตองวางไวใหตรงตําแหนงตามแบบ และยึดไวอยางเพียงพอท่ีจะรักษา

ตําแหนงท่ีวางไวในขณะทํางาน ถาวิธีการกอสรางเสาเข็มโดยใชปลอกเหล็กช่ัวคราวและจะตอง

ถอนปลอกเหล็กข้ึน จะตองระมัดระวังมิใหเหล็กเสริมหรือเหล็กเดือยท่ีฝงไวถูกกระทบกระเทือน

หรือโผลยื่นมาสัมผัสกับดินในขณะถอนปลอกเหล็ก

5.2.2 ระยะหางระหวางเหล็กเสริมต้ัง

ระยะหางระหวางเหล็กเสริมต้ังจะตองไมตํ่ากวา 3 เทาของขนาดมวลรวมหยาบโตสุด หรือ 3 เทา

ของเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริม โดยเลือกใชระยะท่ีมากกวา

Page 21: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 21 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

5.2.3 การทาบเหล็กเสริมในแนวดิง่

การทาบเหล็กเสริมในแนวดิ่งจะตองเปนไปตามขอกําหนด ACI 318 โดยท่ัวไปจะไมยอมใหมีการ

ตอทาบเหล็กเสริมท่ีตําแหนงเดียวกันเกินกวา 50 เปอรเซ็นต

5.3 การเทคอนกรีตและการถอนปลอกเหล็ก

5.3.1 การใชปลอกเหล็ก

จะตองใชปลอกเหล็กเพื่อกันน้ําไมใหเขามาในหลุมเจาะ เม่ือสามารถตอกปลอกเหล็กใหจมไปจนถึง

ช้ันดินทึบน้ําได

5.3.2 การอัดตัวของคอนกรีตแบบปลอยใหตกอยางอิสระ

คอนกรีตท่ีเทโดยปลอยใหตกอยางอิสระโดยมีคายุบตัวของคอนกรีตสดเทากับ 10 เซนติเมตร จะมี

การอัดตัวใหแนนเพียงพอ การเทคอนกรีตผานกรวยท่ีตอไวดวยทอขนาด ส้ันท่ีวางไวตรงกลางหลุม

เจาะเปนวิธีการที่แนะนําสําหรับการเทคอนกรีตแบบตกอยางอิสระโดยไมมีส่ิงกีดขวาง การเท

คอนกรีตลงในเสาเข็มท่ีมีเสนผานศูนยกลางเล็กและมีเหล็กเสริมเปนจํานวนมากอาจจะตองใชทอตอ

จากกรวยใหยาวข้ึน หรือใชขนาดมวลรวมโตสุดใหมีขนาดเล็กลงและมีคายุบตัวท่ีสูงข้ึน

5.3.3 การถอนปลอกเหล็ก

การเจาะเสาเข็มในช้ันดินท่ีสามารถถอนปลอกเหล็กออกไดขณะเทคอนกรีตเสาเข็ม จะตองแนใจวา

อุปกรณและข้ันตอนการถอนไมรบกวนหรือดึงใหแยกจากกัน

5.3.4 สภาพของปลอกเหล็ก

ปลอกเหล็กจะตองมีสภาพและรูปรางท่ีเหมาะสมและปราศจากคอนกรีตท่ีแข็งตัวจับกับเหล็กผิวใน

ของปลอกซ่ึงทําใหการถอนปลอกข้ึนไดยาก เม่ือคาดวาจะมีการเคล่ือนตัวของดินจะตองมีการ

ตรวจสอบเปนระยะโดยผูรับเหมาเสาเข็มถึงขนาดเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มอยางนอยสองจุด

ท่ีต้ังฉากกัน ปลอกเหล็กจะตองมีความยาวท่ีเพียงพอเพื่อท่ีจะตอกใหทะลุช้ันดินท่ีมีโอกาสพังทลาย

ได เสนผานศูนยกลางของปลอกเหล็กจะตองมีคาใกลเคียงกับเสนผานศูนยกลางของหลุมเจาะเม่ือ

ถอนปลอกเหล็กออกแลว

5.3.5 การประเมินขนาดของเสาเข็มจากปริมาตรคอนกรีตท่ีใชจริง

จะตองคํานวณปริมาตรทางทฤษฎีของคอนกรีตท่ีตองการเพื่อการเทแทนท่ีหลุมเจาะ ถาปริมาตรของ

คอนกรีตท่ีใชจริง (ประมาณไดจากปริมาณท่ีรถบรรทุกปูนสงมาในแตละคร้ัง) นอยกวาปริมาตรทาง

ทฤษฏีมาก อาจเปนไปไดวาเสาเข็มตนนั้นอาจมีการคอด มีการพังทลายของผนังหลุมเจาะ หรือมีการ

Page 22: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 22 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

ปนเปอนของคอนกรีต ถาสันนิษฐานวาเสาเข็มจะมีความบกพรองอาจดําเนินการเจาะเสาเข็มซํ้าทัน

ท่ีกอนคอนกรีตจะกอตัว การไมยอมรับเสาเข็มท่ีบกพรองจะตองมีการเจาะเสาเข็มเพิ่มเติมใน

ตําแหนงท่ีสามารถรองรับโครงสรางสวนบนไดดังเดิม ซ่ึงจะตองมีการออกแบบโครงสรางเพ่ือถาย

แรงใหม

5.4 การกอสรางดวยวิธีการแทนท่ี (Slurry)

5.4.1 การเจาะดิน

วิธีการเจาะและอุปกรณในการเจาะดินจะตองทําใหไดผนังของหลุมเจาะและกนหลุมเจาะท่ี

ปราศจากดินหลวมอันจะทําใหหนาสัมผัสท่ีไมดีระหวางคอนกรีตกับดินแนน ในกรณีท่ีใชสวาน

เจาะ การดึงสวานข้ึนและการกดสวานลงจะตองกระทําอยางชาๆ เพื่อของเหลวท่ีพยุงหลุมเจาะจะได

ไมหมุนวนหรือเกิดแรงดูดกระทําตอผนังหลุมเจาะในขณะท่ีสวานเคล่ือนท่ี การหมุนวนของ

ของเหลวจะทําใหเกิดการกัดเซาะผนังหลุมเจาะ และการเกิดแรงดูดทําใหผนังหลุมเจาะพังทลาย ใน

การกอสรางเสาเข็มท่ีออกแบบเปนเสาเข็มรับแรงเสียดทานจะตองทําความสะอาดหลุมเจาะเม่ือมี

ตะกอนกนหลุมเกินกวา 150 มิลลิเมตร

ดินจากหลุมเจาะจะตองขนยายใหหางจากปากหลุมเจาะเพื่อปองกันดินไหลลงไปในหลุมเจาะ

หลังจากทําความสะอาดหลุมเจาะแลว

5.4.2 วิธีการติดต้ัง

ในกรณีท่ีจะตองเจาะเสาเข็มใตระดับน้ําใตดินในดินทราย จะตองใชปลอกเหล็กช่ัวคราวหรือของเห

ลงพยุงหลุมเจาะเพ่ือใหหลุมเจาะมีเสถียรภาพ ระดับของ Slurry ในการเจาะตองตองรักษาระดับไว

ไมต่ํากวา 1.50 เมตรเหนือระดับน้ําใตดินและเหนือบริเวณท่ีดินไมมีเสถียรภาพเพื่อปองกันการ

พังทลายของดินในบริเวณนั้นลงในหลุมเจาะ ผูเจาะเสาเข็มจะตองแสดงใหเห็นวาหลุมเจาะมี

เสถียรภาพ อาจใชวิธีวัดระดับของกนหลุมเม่ือหยุดการเจาะเปนระยะเวลาหนึ่ง

ในกรณีท่ีใชของเหลวพยุงหลุมเจาะเพื่อพยุงผนังหลุมเจาะไว กอนจะติดต้ังปลอกเหล็ก ของเหลวท่ี

ใชในระหวางนี้อาจเปนน้ําก็ได ยกเวนแตในกรณีท่ีทราบจากประสบการณวาจําเปนจะตองใช

Slurry ถาการเจาะไมใชปลอกเหล็กจะตองรักษาระดับของ Slurry ไวเปนพิเศษ จะตองผสม Slurry

ในถังผสมในพื้นท่ีกอสรางหรือผสมเสร็จแลวจึงสงมายังพื้นที่กอสรางโดยจะตองไมทําการผสม

Slurry ในหลุมเจาะ ในกรณีของ Polymer Slurry อาจทําการผสมในหลุมเจาะได Slurry จะตอง

ประกอบไปดวยน้ําหรืออนุภาคแขวนลอยของของแข็งหลายชนิด หรือใชเปนโพลีเมอรท่ีผสมใหเขา

Page 23: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 23 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

กันดวยน้ําทําใหไดคุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับการเจาะเสาเข็ม เบนโทไทนและ Attapulgite จะตอง

เปนไปตามขอกําหนดของ API 13A ชนิดของสารท่ีใชข้ึนอยูกับสภาพช้ันดินและคุณสมบัติของนํ้าท่ี

ใชผสม จะตองมีรายการผลการทดสอบจากผูผลิตท่ีระบุคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทาง

เคมีของสารท่ีนํามาใช เสนอตอวิศวกรปฐพีกอนการเร่ิมเจาะเสาเข็มจะตองผสม จัดเก็บ และขนยาย

Slurry โดยใชอุปกรณท่ีมักใชงานกันในโครงการเจาะเสาเข็ม น้ําท่ีใชในการผสมเพื่อเตรียม Slurry

จะตองสะอาด และเปนน้ําจืดท่ีมีคุณภาพ ไดรับการอนุมัติจากวิศวกรปฐพีแลว จะตองมีการทดสอบ

และบันทึกผลการทดสอบคุณสมบัติของ Slurry เพื่อใชควบคุมคุณภาพเสาเข็มเจาะ ผูรับเหมาเสาเข็ม

จะตองจัดเตรียมอุปกรณเพื่อการทดสอบในสนาม จะตองมีการทดสอบดวยความถ่ีสองคร้ังตอหนึ่ง

กะการทํางาน โดยการทดสอบคร้ังแรกกระทําเม่ือเร่ิมตนกะการทํางาน การทดสอบ Slurry อาจจะ

จําเปนตองทําหลายคร้ังเพื่อใหแนใจวา Slurry ท่ีใชนั้นมีคุณสมบัติท่ียอมรับได ผูรับเหมาเสาเข็ม

จะตองจัดเตรียมอุปกรณท่ีใชเก็บตัวอยาง Slurry ท่ีสามารถเก็บตัวอยาง Slurry ท่ีความลึกใดก็ไดใน

หลุมเจาะ ถาไดรับการรองขอจากวิศวกรปฐพี

ผูกอสรางจะตองใชเคร่ืองมือเจาะและข้ันตอนการเจาะท่ีจะไมกอใหเกิดแรงดูดข้ึนในหลุมเจาะสูง

มากเกินไป หลังจากเสร็จส้ินการขุดเจาะจะตองทําความสะอาดกนหลุมดวยการดูดตะกอนกนหลุม

ข้ึนมาและแทนท่ีดวย Slurry ท่ีกําจัดตะกอนออกแลว การทําความสะอาดกนหลุมเจาะอาจใชถังทํา

ความสะอาดแบบเขาไดทางเดียวเพื่อปองกันตะกอนหลุดออกจากถังทําความสะอาดในขณะถอน

กานเจาะข้ึน Slurry ท่ีอยูในหลุมเจาะจะตองเปนไปตามขอกําหนดกอนการเทคอนกรีต ถาการทํา

ความสะอาด เปล่ียนถาย กําจัดตะกอนทราย หรือเปล่ียน Slurry ใหมเปนส่ิงท่ีจําเปนตองทํา

ผูรับเหมาจะตองทําเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนด การเทคอนกรีตเสาเข็มจะตองกระทําตอเนื่อง

หลังจากเจาะหลุมเจาะเสร็จ ถาไมสามารถเทคอนกรีตไดจะตองควานหลุมเจาะอีกคร้ัง ทําความ

สะอาดหลุมเจาะ และทดสอบ Slurry กอนการเทคอนกรีต อาจทําการเขียนกราฟความสัมพันธ

ระหวางปริมาตรคอนกรีตทางทฤษฎีกับความลึกของเสาเข็มแตละตน และเปรียบเทียบกับปริมาตร

คอนกรีตท่ีใชจริงจากปริมาตรท่ีรถบรรทุกคอนกรีตสงมายังหนางาน สําหรับเสาเข็มท่ีมีแรงตาน

ปลายเข็มเปนหลัก ปริมาณตะกอนทรายจะตองไมเกิน 4 เปอรเซ็นต สําหรับในกรณีอ่ืนปริมาณทราย

จะตองไมเกินกวา 10 เปอรเซ็นต สําหรับในบางพ้ืนท่ียอมใหมีปริมาณทรายไดสูงถึง 25 เปอรเซ็นต

ความหนาแนนของ Slurry จะตองไมเกิน 1.2 ตันตอลูกบาศกเมตร สําหรับเสาเข็มท่ีมีแรงตานปลาย

Page 24: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 24 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

เข็มเปนหลัก จะตองเก็บตัวอยางและทดสอบ Slurry ในถังเก็บและจากตัวอยางท่ีเก็บมาจากกนหลุม

โดยเก็บหางจากกนหลุมเปนระยะ 0.3 เมตร

จะตองตรวจสอบกนหลุมเจาะเพื่อยืนยันวาไมมีเศษดินจากหัวเจาะหรือดินจากผนังหลุมเจาะรวง

หลนลงไปยังกนหลุมเจาะ ปริมาณเศษดินท่ีตกลงสูกนหลุมเจาะจะตองไมเกิน 150 มิลลิเมตรโดยไม

มีการทําความสะอาดกนหลุม ในกรณีท่ีเปนเสาเข็มท่ีออกแบบใหไมมีการรับแรงท่ีปลาย

5.4.3 เหล็กเสริมเสาเข็ม

การติดต้ังเหล็กเสริมลงในหลุมเจาะจะตองกระทําหลังจากท่ีวิศวกรปฐพีไดทําการตรวจสอบและ

ออกคําอนุมัติ หลังจากท่ีไดรับอนุมัติใหติดต้ังเหล็กเสริม เหล็กเสริมจะตองวางไวกลางหลุมเจาะ

โดยมีระดับท่ีถูกตองโดยใชลูกปูนหนุนเหล็กเสริมเสาเข็มจะตองไมสัมผัสกับผนังหลุมเจาะและ

จะตองถูกหุมดวยคอนกรีตโดยใชอุปกรณหนุน เชน ลูกปูน หนุนไวอยางเพียงพอ จะตองรักษาระยะ

หุมคอนกรีตข้ันตํ่าไวเทากับ 75 มิลลิเมตร และชองวางระหวางเหล็กเสริมในแนวนอนจะตองไม

นอยกวา 100 มิลลิเมตร และ ชองวางระหวางเหล็กเสริมต้ังจะตองไมตํ่ากวา 3 เทาของขนาดโตสุด

ของมวลรวมหยาบ (อยางตํ่า 75 มิลลิเมตร)

5.4.4 คอนกรีต

คอนกรีตท่ีใชจะตองสอดคลองกับขอกําหนดดังนี้

ก. คอนกรีตท่ีใชในวิธีการเจาะเสาเข็มระบบเจาะเปยกจะตองมีคายุบตัว (Slump) อยูระหวาง 175-

225 มิลลิเมตร

ข. มวลรวมโตสุดมีขนาดไมเกิน 125 มิลลิเมตร

ค. มีสารหนวงท่ีทําใหคอนกรีตมีคายุบตัวท่ี 125 มิลลิเมตรหรือมากกวาหลังจาก 4 ช่ัวโมง โดยชนิด

ของสารหนวงจะตองไดรับอนุมัติจากวิศวกรกอนการใชงาน

การเทคอนกรีตจะเร่ิมไดหลังจากท่ีหลุมเจาะไดรับการยอมรับจากวิศวกรปฐพีและไดรับการยอมรับ

การติดตั้งเหล็กเสริมจากวิศวกรคุมงานจะตองมีการทําความสะอาดหลุมเจาะกอนเร่ิมเทคอนกรีต

การทําความสะอาดของเหลวหนืดอาจใชวิธี Air Lift หรือการสูบของเหลวจากกนหลุมแลวเติม

ของเหลวหนืดท่ีสะอาดคืนลงหลุมเจาะ การเก็บตะกอนกนหลุมเจาะอาจใชถังเก็บตะกอน (Clean

Out Bucket) ซ่ึงข้ึนกับขอกําหนดท่ีระบุไวในสัญญา ถาเสาเข็มถูกออกแบบใหเปนเสาเข็มรับแรงท่ี

ปลาย จะตองตรวจสอบกนหลุมอีกคร้ังหลังจากติดต้ังเหล็กเสริมและกอนการเทคอนกรีตดวยเทปท่ี

ถวงตุมน้ําหนักไวท่ีปลายเทป จะตองเทคอนกรีตใหเสร็จในระหวางท่ีหลุมเจาะมีเสถียรภาพและ

Page 25: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 25 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

คอนกรีตยังคงสภาพเหลว จะตองไมเร่ิมเทคอนกรีตหากยังไมไดรับการยืนยันวามีคอนกรีตเพียงพอ

สําหรับการเทใหเสร็จในคร้ังเดียว

5.4.5 การเทคอนกรีต

การเทคอนกรีตอาจใชวิธีการเทคอนกรีตใตน้ํา (Tremie) หรือวิธีการเทโดยปม ท้ังสองวิธีจะตองใช

ตัวอุดทอเพื่อปองกันการปนเปอนของคอนกรีตสดกับสเลอร่ี จะตองติดต้ังทอเทคอนกรีตใหถึงกน

หลุมกอนเร่ิมเทคอนกรีต และจะตองใหความระวังในการเทคอนกรีตใหไลสเลอร่ีท่ีอยูในทอออกไป

ในการเทคอนกรีตชุดแรก ทอเทคอนกรีตจะตองฝงอยูในคอนกรีตสดอยางนอย 1 เมตร ถึง 1.5 เมตร

และรักษาระยะฝงนี้ไวตลอดการเทคอนกรีตเพื่อปองกันสเลอร่ีทะลักเขามาในทอเทคอนกรีต

คอนกรีตท่ีเทลงในทอเทชุดแรกเม่ือไหลข้ึนมาถึงหัวเสาเข็มเปนคอนกรีตท่ีปนเปอนกับดินโคลนซ่ึง

จะตองปลอยท้ิงจนไดคอนกรีตสดท่ีสะอาด ไมควรจะยอมใหมีการยกทอเทคอนกรีตข้ึนลงอยาง

รวดเร็ว กอนการเร่ิมงานจะตองสงรายละเอียดอุปกรณและวิธีการเทคอนกรีตใหวิศวกรอนุมัติ

เสียกอน ในระหวางการเทคอนกรีตจะตองไมยกปลายทอเทข้ึนเหนือระดับคอนกรีตท่ีเทไปแลว

ทอเทจะตองไมมีการ่ัวซึม จะตองไมใชอุปกรณและทอท่ีทําจากอลูมิเนียมในการเทคอนกรีต จะตอง

ปองกันความเสียหายของคอนกรีตท่ีโผลข้ึนเหนือดิน และจะตองบมคอนกรีตดวยวิธีท่ีเหมาะสม

5.5 ความปลอดภยัในงานเสาเขม็เจาะ (Safety)

ขอกําหนดท่ีระบุนี้เปนขอกําหนดข้ันตํ่า ขอกําหนดเฉพาะงานท่ีเขมงวดกวานี้ใหเปนไปตามเกณฑของ

องคกรท่ีดูแลดานความปลอดภัย

5.5.1 กาซในหลุมเจาะ

บุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการเจาะเสาเข็มจะตองระมัดระวังกาซพิษและกาซท่ีระเบิดไดท่ีอาจมีอยูใน

ช้ันดินและถูกปลดปลอยเม่ือเจาะเสาเข็ม ในพื้นท่ีปฏิบัติงานจะตองจัดเตรียมหนากากกันกาซ เคร่ือง

ตรวจจับกาซ และเคร่ืองมือปฐมพยาล พรอมท้ังเคร่ืองเปาลมไปยังกนหลุม สําหรับในกรณีฉุกเฉิน

ถาตรวจพบกาซหรือคาดวาจะมีกาซในขณะขุดเจาะ จะตองไมอนุญาตใหผูปฏิบัติงานเขาไปเจาะ

หลุมเจาะจนกวาจะระบายกาซออกจนปลอดภัย

5.5.2 การปองกันปากหลุม

เม่ือหยุดการขุดเจาะช่ัวคราวหรือเม่ือขุดเจาะเสร็จจะตองปดปากหลุมเจาะ วัสดุท่ีปดปากหลุมเจาะ

จะตองมีความแข็งแรงเพียงพอท่ีจะปองกันการพลัดตกลงไปในหลุมเจาะ

Page 26: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 26 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6 การตรวจสอบและทดสอบ

6.1 ขอบเขต

วัตถุประสงคของการตรวจสอบและทดสอบเพ่ือดูวาเสาเข็มท่ีกอสรางนั้นเปนตามสมมุติฐานในการ

ออกแบบและขอกําหนดในการกอสรางหรือไม มีคาคลาดเคล่ือนอยูในชวงท่ียอมรับได ถามีการเบ่ียงเบน

ไปจากท่ีกําหนด

6.1.1 สาเหตุหลักของความผิดพลาดในการกอสราง

สาเหตุหลักท่ีพบบอยซ่ึงทําใหเกิดความผิดพลาด ไดแก

ก. การเกิดโพรงขึ้นในเนื้อคอนกรีตเสาเข็ม เนื่องจากการถอนปลอกเหล็กท่ีไมเหมาะสม และใช

คอนกรีตท่ีมีคายุบตัวตํ่าเกินไป

ข. เทคอนกรีตลงบนนํ้าท่ีไหลนองในเสาเข็ม

ค. การพังทลายของผนังหลุมเจาะลงในคอนกรีตเหลวทําใหคอนกรีตปนเปอน

ง. ใหตําแหนงของเสาเข็มผิด เสาเข็มไมไดดิ่ง หรือติดต้ังเหล็กเสริมไวไมดี

จ. การพังทลายของผิวดินลงในหลุมเจาะทําใหปนเปอนกับคอนกรีตสด หรือเปนดินท่ีฝงอยูในเนื้อ

คอนกรีต

ฉ. การลงทอเทคอนกรีตไมถูกตอง ทําใหเกิดการแยกตัวของมวลรวม หรือเกิดการผสมกันกับ

Slurry หรือน้ํา

ช. เสนผานศูนยกลางของหลุมเจาะเล็กลงเนื่องจากผนังตีบกอนการเทคอนกรีต หรือในขณะเท

คอนกรีต

ซ. การวิบัติของปลอกเหล็ก

ฌ. น้ําสวนเกินหรือคอนกรีตปนเปอนท่ีรอยตอแบบ cold joint ทําใหคุณสมบัติคอนกรีตตํ่าลง

ญ. เกิดการร่ัวของน้ําเขาไปทําใหปริมาณนํ้าในคอนกรีตสดเพิ่มข้ึนทําใหคุณสมบัติคอนกรีตตํ่าลง

ฎ. คอนกรีตสดท่ีสงมาจากโรงงานมีคุณภาพตํ่า ฏ. ช้ันดินใตเสาเข็มมีคุณภาพตํ่าหรือมีตะกอนมาก

ฐ. คอนกรีตสดท่ีเทดวยทอเทดันแทนท่ี Slurry ไมสมบูรณ

ฑ. ตะกอนทรายตกทับบนผิวหนาของคอนกรีตใน Slurry ทําใหคายุบตัวของคอนกรีตลดลงและ

พังทลายทับตะกอนทราย ทําใหมีตะกอนทรายในเน้ือคอนกรีตเสาเข็ม

Page 27: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 27 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.2 Geotechnical Field Representative

จะตองมีวิศวกรปฐพีท่ีทําหนาท่ีตรวจสอบการกอสรางเสาเข็มเจาะ ผูทําหนาท่ีในสนามจะตองเปนพนักงาน

ภายใตวิศวกรปฐพีและจะตองมีคุณสมบัติตรงกับงานกอสรางเสาเข็มเจาะ และมีพื้นฐานการศึกษาดาน

เทคนิคเพียงพอท่ีจะตีความผลการสํารวจและส่ือสารขอมูลอยางถูกตอง

ขอแนะนํา: ใหมีผูตรวจสอบงานตลอดการกอสรางเสาเข็มแตละตน

6.3 Preliminary Procedures

กอนการออกแบบเสาเข็มจะตองมีการศึกษาถึงช้ันดินโดยวิศวกรปฐพีท่ีมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

ควบคุม โดยจะตองมีผูเจาะสํารวจ เก็บตัวอยางและทดสอบท่ีมีประสบการณ ในการศึกษาช้ันดินจะตองไม

มีขอจํากัดในปริมาณการเจาะสํารวจโดยเจาของงานหรือวิศวกรผูควบคุมงาน

ในการเจาะสํารวจเพื่อระบุตําแหนง กําลังและการยุบตัวของช้ันดินในบริเวณท่ีจะกอสรางเสาเข็มอาจจะ

ทําการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อใชคาดเดาปญหาท่ีอาจเกิดข้ึนในขณะทําการกอสราง ในบางกรณีอาจจําเปนตอง

เจาะหลุมเจาะตรงตําแหนงของเสาเข็มเจาะ เชน ในกรณีท่ีเสาเข็มท่ีตองเจาะผานดินถมที่เปนเศษคอนกรีต

หรือช้ันดินคอนขางแปรปรวน จะตองสงขอมูลผลการเจาะสํารวจและผลการทดสอบใหกับผูรับเหมากอน

การประมูลงาน กอนการลงนามในสัญญาจะตองมีขอตกลงระหวางวิศวกรปฐพี วิศวกรโครงสราง และ

ผูรับเหมา ในเร่ืองการออกแบบฐานรากและปญหาที่อาจพบในระหวางการกอสราง ผูรับเหมาจะตองสง

แผนการกอสรางฐานรากใหวิศวกรปฐพี และ/หรือ วิศวกรโครงสรางพิจารณา และถามีขอคิดเห็นใดท่ี

แตกตางจะตองทําความตกลงใหเสร็จในการประชุมกอนการกอสราง เพื่อทบทวนกระบวนการกอสราง

เปนส่ิงสําคัญ จะตองเตรียมขอกําหนดเพ่ือจัดการกับกรณีท่ีคาดไมถึง และวิธีท่ีจะจัดการกับกรณีนั้น

จะตองเปนท่ีตกลงกันทุกฝายและเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสราง

6.4 ขั้นตอนการตรวจสอบ (Inspection Procedures)

ถาเปนไปไดในทางปฏิบัติจําเปนจะตองมีการตรวจสอบหลุมท่ีเจาะไวกอนการเทคอนกรีตเสาเข็ม หรือการ

ทดสอบเพื่อตรวจสอบหลุมเจาะท่ีเพียงพอ อาจจะตองใชวิธีการตรวจสอบหลุมเจาะจากผิวดิน เนื่องจากการ

ใหผูตรวจสอบลงในหลุมเจาะมีความเส่ียงอันตราย หรือลงไปตรวจสอบไมไดเนื่องจากมี Slurry อยูใน

หลุมเจาะ โดยปกติเสาเข็มท่ีรับแรงเสียดทานผิวเปนหลักมักจะไมตองการตรวจสอบหลุมเจาะ ยกเวนใน

กรณีท่ีมีการเซาะรองในผนังหลุมเจาะเพื่อเพิ่มแรงเฉือนดานขาง

Page 28: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 28 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.4.1 ตําแหนงศูนยกลางเสาเข็ม

จะตองมีการวัดคาการเย้ืองศูนยทางแนวราบของเสาเข็มท่ีกอสรางเสร็จแลวเทียบศูนยกลางเสาเข็มท่ี

ไดออกแบบไว ณ ระดับตัดหัวเสาเข็ม โดยจะตองใชอุปกรณท่ีเหมาะสมและทําการบันทึกคาไว

6.4.2 ความดิ่ง

ความดิ่งของเสาเข็มคือคาท่ีเสาเข็มเอียงจากแนวดิ่ง

6.4.3 การยายส่ิงกดีขวางใตดนิ

ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองตรวจสอบวาอุปสรรคใตดินท่ีจะมีผลตอการกอสรางเสาเข็มให

สมบูรณไดถูกยายออกไปแลวและไดลงบันทึกไวดวย

6.4.3.1 ปลอกเหล็ก

ในกรณีท่ีมีการกําหนดความหนา ความยาว เสนผานศูนยกลางหรือคุณสมบัติอยางอ่ืนของ

ปลอกเหล็กไว ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองตรวจสอบวาปลอกเหล็กที่ใชนั้นตรง

ตามขอกําหนดท่ีไดกําหนดไวหรือไม

6.4.3.2 การทรุดตัวของดิน

การทรุดตัวของดินอาจเกิดจากการพังทลายของผนังหลุมเจาะ การเคล่ือนตัวของผนังหลุม

เจาะท่ีเปนดินเหนียวเขามาในหลุมเจาะ การไหลของทรายหรือ Silt อ่ิมตัวเขามาในหลุมเจาะ

และการสูบน้ําเพื่อลดระดับน้ําใตดินแลวดินไหลตามไปกับน้ํา

ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองหม่ันตรวจสอบน้ําท่ีสูบข้ึนมาเพื่อลดระดับน้ําใตดิน

อยางสมํ่าเสมอ เพื่อระบุปริมาณดินเม็ดละเอียดท่ีถูกสูบข้ึนมากับน้ํา ในการนี้อาจใชถัง

สําหรับดักตะกอนชวยในการตรวจสอบก็ได การเคล่ือนตัวของดินซ่ึงทําใหเกิดการทรุดตัว

ของดินท่ีอาจกอใหเกิดความเสียหายใดๆ ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองแจงใหผู

กอสรางเสาเข็ม และวิศวกรผูควบคุมงานทราบ เม่ือพบวาการสอดหัวเจาะดินลงในหลุม

หรือการถอนหัวเจาะข้ึนมาคอนขางยากจะเปนตัวบงช้ีวาผนังหลุมเจาะมีการบีบตัวเขามา

การเปรียบเทียบปริมาตรคอนกรีตท่ีใชจริงกับปริมาตรคอนกรีตในทางทฤษฎีเปนประโยชน

ในการบงช้ีถึงขนาดหนาตัดเฉล่ียของหลุมเจาะ

6.4.3.3 การควบคุมน้ําใตดิน

น้ําในหลุมเจาะเสาเข็มสามารถไหลจากการที่ปลอกเหล็กร่ัว (หรือไหลจากระดับผิวดินลง

ในหลุมถาไมใชปลอกเหล็กกันสวนบนของหลุมเจาะไว) ไหลจากการที่มีช้ันดินทรายหรือ

Page 29: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 29 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

กรวดอ่ิมน้ํา หรือไหลเขาในหลุมเจาะจากกนหลุมเจาะ ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตอง

ตรวจสอบและรายงานถึงวิธีการควบคุมน้ําใตดิน ในการตรวจสอบการทําความสะอาดกน

หลุม, การตรวจสอบวัสดุกนหลุมเจาะ และวิธีการเทคอนกรีตท่ีเหมาะสม จะตองรักษา

ระดับน้ําใตดินกนหลุมใหสูงไมเกิน 50 มิลลิเมตร ในกรณีท่ีไมสามารถควบคุมการไหลของ

น้ําจากผิวดินลงไปในหลุมเจาะได อาจจะตองใชวิธีหรือเทคนิคพิเศษซ่ึงตองไดรับการ

อนุมัติจากวิศวกรผูควบคุมงานกอนการนํามาใช ในบางคร้ังอาจจะตองมีการเจาะแทง

คอนกรีตเสาเข็มท่ีหลอเสร็จแลวข้ึนมาตรวจสอบความตอเนื่องและความสมํ่าเสมอของเน้ือ

คอนกรีต ในกรณีท่ีไมตองการเจาะแทงคอนกรีตอาจจะใชวิธีตรวจสอบความสมบูรณของ

คอนกรีตเสาเข็มโดยใชวิธี Sonic Logging หรือ Gamma Logging ผานทอท่ีไดจัดเตรียมไว

ในขณะกอสรางเสาเข็มก็ได

6.4.3.4 ความลึกของเสาเข็ม

ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองระบุวาเม่ือใดการเจาะไดถึงช้ันดินท่ีจะเปนปลายเสาเข็ม

และเม่ือใดท่ีความลึกของเสาเข็มเพียงพอ การระบุสามารถใชการทดสอบหรือการ

ตรวจสอบท่ีเหมาะสมกับตัวอยางดินท่ีเก็บจากกนหลุมและเปรียบเทียบกับผลการเจาะ

สํารวจดินท่ีใชออกแบบ

6.4.3.5 Belled Pier

- Void -

6.4.3.6 การทําความสะอาดหลุมเจาะ

จะตองมีการทําความสะอาดหลุมเจาะโดยการเก็บดินออน ดินหลวม ดินท่ีถูกรบกวน จาก

กนหลุมของเสาเข็มท่ีเปน End Bearing Pile ปริมาณของเศษดินจะตองไมมากกวา 10

เปอรเซ็นตของพื้นท่ีหนาตัดท่ีปลายของเสาเข็ม และจะตองไมหนาเกินกวา 50 มิลลิเมตร

การตรวจสอบโดยวิธีหยอนเคร่ืองมือหรือผูตรวจสอบลงในหลุมมีความจําเปน เพื่อท่ีจะ

ตรวจสอบวาปริมาณเศษดินไมเกินกวาขอกําหนด ในกรณีท่ีทําความสะอาดกนหลุมดวย

เคร่ืองจักรหรืออุปกรณไมได อาจจําเปนตองใชแรงงานคนในการทําความสะอาด ถาการสง

คนงานหรือผูตรวจสอบลงในหลุมเจาะเนื่องจากการไหลของน้ําใตดินหรือการไหลของ Silt

หรือทราย อาจจะใชวิธีพิเศษในการตรวจสอบซ่ึงจะตองมีการตกลงกับวิศวกรปฐพีและ

เจาของงานและอาจจะตองมีการเพิ่มคาใชจายในกรณีนี้ดวย

Page 30: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 30 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.4.3.7 ช้ันดินปลายเสาเข็มเจาะ

ในช้ันดินแข็งและช้ันหินไมแข็งจะตองทําการตรวจสอบและทดสอบดินท่ีปลายเสาเข็มเปน

อยางดีและตองการการตัดสินใจจากผูมีประสบการณ

ในช้ันดินเหนียว ช้ันดินดานไมหนาหรือหินเชลลไมแข็งมาก จะตองมีการทดสอบเพ่ือหา

กําลังของดินเพื่อใหแนใจวามีกําลังแบกทานเพียงพอ จะตองใหความระวังในการสํารวจ

และทดสอบเพ่ือใหม่ันใจวาตัวอยางท่ีไดเปนตัวอยางคงสภาพซ่ึงเปนตัวแทนของพ้ืนท่ีใต

เสาเข็ม วิธีปฏิบัติท่ีดี ไดแก การทําการทดสอบหลายจุดเพื่อหาระดับความแปรปรวนของ

ช้ันดิน เม่ือเสาเข็มกอสรางลงในช้ันดินบวมตัวหรือเชลล แรงท่ีกระทําบนช้ันดินจะตองสูง

พอท่ีจะตานทานแรงยกข้ึนท่ีระบุจากการทดสอบท่ีเหมาะสม หรือปลายเสาเข็มจะตองลึก

กวาระดับการแปรเปลี่ยนความช้ืนในดินหลังจากกอสรางเสร็จ จะตองมีการจัดการระบาย

น้ําผิวดินอยางดี เพื่อปองกันน้ําผิวดินซึมผานตามแนวผิวเสาเข็ม ถาไมมีการจัดการน้ําผิวดิน

อยางเหมาะสมควรออกแบบเสาเข็มใหสามารถตานทานแรงถอนไดดวย

ขนาดของแรงถอนและความสามารถของเสาเข็มในการรับแรงถอนจะตองถูกระบุโดย

วิศวกรปฐพี ในกรณีท่ีช้ันดินปลายเข็มเปนดินเม็ดหยาบอาจใชวิธีทดสอบในสนาม เชน

Standard Penetration Test, Cone Penetration Test หรือวิธีการทดสอบแบบอ่ืนท่ีสามารถให

คาท่ีใชในการออกแบบได

ในบางพ้ืนท่ีซ่ึงอาจมีโพรงในชั้นหินอาจจะตองทําการเจาะหลุมเจาะสํารวจใตเสาเข็มเจาะ

แตละหลุม อาจจําเปนตองทํากอนการเจาะเสาเข็ม

6.4.3.8 การตรวจสอบเสาเข็ม

ผู รับ เหมาจะตองตรวจสอบหลุมเจาะ เสา เ ข็มแตละตนว า มีก าซมี เทนและก าซ

คารบอนไดออกไซดกอนท่ีจะลงไปตรวจสอบกนหลุมเจาะ ถามีปริมาณกาซเกินกวาท่ียอม

ใหจะตองเปาไลออกไปกอนหรืออาจใชหนากากกันกาซก็ได จะตองไมยอมใหมีการสูบ

บุหร่ีหรือการเช่ือมจนกระท่ังแนใจวาไมมีกาซเหลืออยู

6.4.3.9 การตรวจสอบความปลอดภยั

สําหรับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจะตองเปนไปตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยท่ี

ไดประกาศใชแลว

Page 31: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 31 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.5 การเทคอนกรีต (Concreting)

จะตองมีการตรวจสอบในหัวขอตอไปนี้

6.5.1 ตรวจสอบเหล็กเสริมเสาเข็มวามีความสะอาด มีขนาด ความยาว และผูกไวตรงตามแบบหรือไม

6.5.2 ตรวจสอบสภาพกนหลุมกอนการเทคอนกรีต ถามีตะกอนกนหลุมใหทําความสะอาดกนหลุมใหม

และตรวจสอบซํ้ากอนการเทคอนกรีต

6.5.3 ตรวจสอบผนังหลุมเจาะดวยตาถาเปนไปได 6.5.4 ตรวจสอบดวยตาวาในขณะเทคอนกรีตมีการแยกตัวเกิดข้ึนหรือไม หรือมีการบนเปอนเนื่องจากการ

เทคอนกรีตใหตกอิสระผานกรวย

6.5.5 ทดสอบคายุบตัวของคอนกรีตสด และเก็บตัวอยางปูน แนะนําใหเก็บตัวอยางลูกปูนอยางนอยหนึ่ง

ลูกตอรถปูนหนึ่งคันและทดสอบกําลังท่ีอายุการบม 7 วันเพื่อใชเปนขอมูลบงช้ีถึงปญหาดานกําลัง

ของเสาเข็มท่ีอาจเกิดข้ึน

6.5.6 ตรวจสอบความตอเนื่องของการเทคอนกรีต การเทคอนกรีตจะตองเทอยางตอเนื่องโดยไมหยุดหรือ

ท้ิงชวงไวนานเกินไป และจะตองรักษาระดับของคอนกรีตในปลอกเหล็กใหสูงพอเพื่อใหเกิดสมดุล

กับแรงดันน้ําภายนอกปลอกเหล็ก และปองกันการไหลเขามาของน้ําใตดินในขณะถอนปลอกเหล็ก

ควรมีการเปรียบเทียบปริมาตรของคอนกรีตทางทฤษฎีกับปริมาตรของคอนกรีตท่ีใชจริง

6.5.7 ตรวจสอบระดับคอนกรีตในข้ันตอนเร่ิมถอนปลอกเหล็ก ถาเห็นวาคอนกรีตถูกยกข้ึนมาใหหยุดการ

ถอนและทําการแกไข และจะตองสํารวจความเสียหายเนื่องจากเนื้อคอนกรีตมีโอกาสที่จะขาดความ

ตอเนื่องเนื่องจากการถูกดึง

6.5.8 การพังทลายของผนังหลุมเจาะในขณะถอนปลอกเหล็ก ซ่ึงเกิดในขณะถอนปลอกเหล็กระดับของ

คอนกรีตสดในปลอกเหล็กสูงไมเพียงพอท่ีจะมีแรงตานการพังทลายของดิน ซ่ึงอาจเกิดไดจากการที่

คอนกรีตครูดไปกับปลอกเหล็กเนื่องจากคอนกรีตมีคายุบตัวตํ่าหรือคอนกรีตกอตัวเร็ว แรงดูดท่ีเกิด

จาการถอนปลอกเหล็กทําใหเกิดดินและน้ําทะลักเขามาใตปลอกเหล็ก ผูรับผิดชอบดานวิศวกรรม

ปฐพีในสนามและผูรับเหมาจะตองยืนยันวาไมมีกรณีเหลานี้เกิดข้ึน หรือถาเกิดข้ึนก็ไดทําการแกไข

แลว

6.5.9 เม่ือมีการเทคอนกรีตใตน้ําโดยใชทอเท จะตองมีการตรวจสอบในกรณีตอไปนี้

• ตองไมมีการไหลของน้ําในหลุมเจาะกอนการเทคอนกรีต

• มีการปองกันการผสมกันของคอนกรีตสดกับ Slurry ในการเทคอนกรีตคร้ังแรก

Page 32: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 32 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

• ตองติดต้ังใหปลายทอเทอยูท่ีกนหลุมเจาะ

• ทอเทจะตองมีคอนกรีตบรรจุอยูเต็มทอกอนการเร่ิมยกทอข้ึนจากกนหลุมเจาะ

• ตรวจสอบระดับของคอนกรีตในเสาเข็มดวยเทปวัดท่ีถวงปลายไวดวยตุมน้ําหนักและตรวจสอบ

ตําแหนงของทอเท และใหตรวจสอบระดับของคอนกรีตและระดับของทอเพื่อยืนยันวาทอเท

คอนกรีตจมอยูในคอนกรีตตลอดเวลา

• เปรียบเทียบปริมาตรคอนกรีตท่ีคํานวณไดทางทฤษฎีกับปริมาตรของคอนกรีตท่ีเทลงในหลุม

เจาะจริง

6.5.10 ถาเทคอนกรีตใช Slurry โดยไมมีการใชปลอกเหล็กและ Slurry ไดถูกออกแบบมาเปนพิเศษ

สําหรับเสาเข็มท่ีมีแรงเสียดทานผิวเปนหลัก จะตองทําการวัดความหนืด ความหนาแนน และ

ปริมาณทรายเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนด

6.6 วิธีการตรวจความสมบูรณของเสาเข็มเจาะ

วิธีท่ีใชในการตรวจสอบความสมบูรณของเสาเข็มเจาะ ไดแก การเจาะแทงคอนกรีตและใชวิธีตรวจสอบ

ของผนังของรูเจาะดวยกลองโทรทัศน หรือการใชวิธีการทดสอบโดยใชคล่ืนเสียงระหวางรูเจาะ ในการใช

วิธีการทดสอบโดยใชคล่ืนเสียงโดยไมไดเจาะรู ตัวอยางเชน การใชหลักการสะทอนของคล่ืนท่ีเดินทางใน

เนื้อคอนกรีตเสาเข็ม (Sonic Integrity Test) อยางไรก็ตามการทดสอบดวยวิธี Sonic Integrity Test เปนวิธี

ทางออมซ่ึงไมสามารถตรวจสอบสภาพของกนหลุมเจาะได

สําหรับเสาเข็มท่ีกอสรางดวยวิธีการเทคอนกรีตใตน้ําหรือใต Slurry โดยใชทอเทคอนกรีต หรือโดยใชปม

วิธีท่ีสะดวกสําหรับตรวจสอบความสมบูรณและคุณภาพของคอนกรีตหลังการเท ไดแกการใชวิธี Sonic

Logging Test โดยทดสอบผานทอท่ีมีขนาดเหมาะสมกับเคร่ืองมือทดสอบ ซ่ึงฝงลวงหนาไวในเสาเข็มโดย

มีความยาวเทากับความยาวเสาเข็มและโผลปลายทอไวท่ีหัวเสาเข็ม

6.7 รายงาน

รายงานประจําวันของผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคท่ีลงนามโดยวิศวกรปฐพีประจําหนวยงาน และลงนาม

โดยผูกอสรางเสาเข็มนั้นจะตองสรุปและรายงานใหวิศวกรโครงสรางผูควบคุมงานและผูรับเหมาหลัก (ถา

มี) ทราบ โดยรายงานจะตองประกอบไปดวยหัวขอดังนี้

6.7.1 ตําแหนงและขนาดของหลุมเจาะของเสาเข็มท่ีกอสรางแลว

6.7.2 ระดับหัวเสาเข็มและระดับปลายเข็มจริง

6.7.3 ชนิดของการเจาะท่ีใช

Page 33: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 33 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.7.4 ระบุลักษณะของดินท่ีพบในขณะขุดเจาะ

6.7.5 ระบุลักษณะของน้ําใตดินท่ีพบ

6.7.6 ระบุตําแหนงและขนาดของส่ิงกีดขวางใตดินท่ีพบและระบุดวยวาไดยายออกหรือไม 6.7.7 ระบุขนาดของปลอกเหล็กช่ัวคราว ความหนา ความยาว

6.7.8 ระบุถาหากมีการเคล่ือนตัวของดินหรือน้ําและการทรุดตัวของดิน

6.7.9 ระบุวิธีทําความสะอาดกนหลุม

6.7.10 ระบุระดับช้ันดินท่ีปลายเสาเข็มวางอยู 6.7.11 ระบุการทําความสะอาดกนหลุมพอเพียงหรือไม 6.7.12 บันทึกความลึกของน้ําในหลุมเจาะและอัตราการซึมของน้ําเขาในหลุมเจาะกอนการเทคอนกรีต

6.7.13 บันทึกการตรวจสอบเหล็กเสริมวามีตําแหนงและจํานวนตรงตามแบบหรือไม 6.7.14 ตรวจสอบวิธีการเทคอนกรีตและการถอนปลอกเหล็ก (ถามี) บันทึกระดับของคอนกรีตกอนการ

ถอนปลอกเหล็ก บันทึกระดับของคอนกรีตเม่ือเร่ิมการส่ันสะเทือน

6.7.15 บันทึกปญหาท่ีเกิดข้ึนในระหวางกอสราง ซ่ึงรวมถึงการพังของดินเขามาในหลุมเจาะ โพรงท่ีอาจ

เกิดข้ึน การตีบของผนังหลุมเจาะท่ีอาจเกิดข้ึน และโอกาสท่ีปลอกเหล็กจะเกิดการวิบัติ

6.7.16 สภาพของคอนกรีตท่ีสงมายังหนวยงาน รวมถึงคายุบตัวและการทดสอบอ่ืน และจะตองเก็บลูกปูน

เพื่อนําไปทดสอบกําลังดวย

6.7.17 บันทึกส่ิงท่ีไมเปนไปตามขอกําหนด

6.8 เกณฑการยอมรับ

เกณฑการยอมรับสําหรับเสาเข็มเจาะท่ีกอสรางเสร็จแลว ดังหัวขอตอไปนี้จะตองระบุไวในขอกําหนดของ

งาน โดยอาจจะเพิ่มขอกําหนดหรือลดคาท่ียอมใหลงโดยวิศวกรในเอกสารสัญญา การเปล่ียนแปลงใดๆ ท่ี

เกิดข้ึนจะตองไดรับการยินยอมโดยวิศวกรกอน

6.8.1 ตําแหนงเสาเข็มและความดิ่ง

ถาไมมีการเผ่ือระยะเยื้องศูนยของเสาเข็มไวในการออกแบบโครงสราง คาคลาดเคล่ือนท่ียอมใหใน

การกอสรางของความดิ่งของเสาเข็มจะตองเปนไปตาม ACI 336.1 คาคลาดเคล่ือนของตําแหนงหัว

เสาเข็มจะตองไมเกินกวา 4 เปอรเซ็นตของเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มหรือ 75 มิลลิเมตรในทุก

ทิศทาง โดยใหเลือกใชคาท่ีตํ่ากวาในสองกรณีนี้ สําหรับคาคลาดเคล่ือนท่ียอมใหท่ีมีคานอยกวา 50

มิลลิเมตรนั้นยากท่ีจะทําไดในทางปฏิบัติ

Page 34: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 34 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

6.8.2 ผนังเสาเข็ม ผนังเซาะรองรับแรงเฉือน

การตรวจสอบผนังเสาเข็มจะตองกระทําโดยผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคในหนวยงาน โดย

พื้นท่ีหนาตัดของผนังเสาเข็มจะตองไมตํ่ากวา 98 เปอรเซ็นตของพื้นท่ีหนาตัดท่ีระบุไวในแบบ

6.8.3 เหล็กเสริมเสาเข็ม

ใชมาตรฐาน ACI 117

6.8.4 การยอมใหเทคอนกรีตเสาเข็ม

จะตองไมมีการยอมใหเทคอนกรีตเสาเข็มหากไมไดรับการตรวจสอบตามที่ไดระบุไวในหัวขอ 6.4

เสียกอน

6.9 วิธีการแกไข

ในกรณีกอสรางเสาเข็มเสร็จและคาคลาดเคล่ือนท่ีเกิดข้ึนเกินกวาคาคลาดเคล่ือนท่ียอมให หรือมีขนาดเล็ก

กวาแบบ หรือมีกําลังตํ่ากวาท่ีกําหนด จะตองดําเนินการแกไขดวยวิธีท่ีเหมาะสม ในกรณีท่ีมีขอสงสัยใน

กําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มอาจจะใชวิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มแบบสถิต (Static Load

Test) หรือทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มแบบพลศาสตรแบบเกิดความเครียดสูง (High Strain

Dynamic Testing) ในกรณีท่ีพบวาเสาเข็มจะเกิดการเยื้องศูนยกอนท่ีจะเทคอนกรีตอาจใชวิธีการแกไขท่ีใช

คาใชจายต่ํา โดยการเพิ่มเหล็กเสริมในเสาเข็ม และ/หรือเพิ่มการยึดร้ังทางดานขางของโครงสราง

(Structural Lateral Restraint) วิธีนี้ตองมีการวิเคราะหโดยวิศวกรโครงสรางและคํานวณปริมาณเหล็กเสริม

ท่ีตองการ ถาเสาเข็มเยื้องศูนยมากจนกระท่ังวิธีนี้ไมเหมาะสม นทางปฏิบัติอาจจําเปนตองกลบหลุมเจาะ

ดวยปูนเกราทท่ีคอนขางแหง (Leanmix Grout) แลวทําการเจาะเสาเข็มใหมอยางระมัดระวัง และหม่ัน

ตรวจสอบความดิ่งและตําแหนงของเสาเข็ม ในกรณีนี้จะตองออกแบบใหกําลังของปูนเกราทและความแข็ง

ในขณะท่ีเจาะหลุมเทากับกําลังและความแข็งของดินโดยรอบหลุมเจาะ ทางเลือกอีกทางหนึ่งท่ีเปนไปได

คือ การเจาะเสาเข็มใหมีขนาดใหญกวาเสาเข็มตนเดิมโดยขนาดจะตองใหญกวาจนกระท่ังสามารถปรับแก

ตําแหนงและความเอียงของเสาเข็มใหอยูในคาคลาดเคล่ือนท่ียอมให

Page 35: ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ · หน า 4 มยผ.xxxx-xx : ร างมาตรฐานเสาเข ็มเจาะ E,Ec หมายถึง

หนา 35 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

7 เอกสารอางอิง

7.1 ACI 336.3R-93 (1993), Design and Construction of Drilled Piers.

7.2 ACI 336.1-01 (2001), Specification for the Construction of Drilled Piers.

7.3 BS8004 (1986), Code of Practice for Foundations.

7.4 ICE, Specification for Piling and Embedding Retaining Walls, 1996. Thomas Telford.

7.5 The Federation of Piling Specialists. The Essential Guide to the ICE Specification for Piling and

Embedded Retaining Walls, 1999. Thomas Telf.

7.6 มาตรฐาน ว.ส.ท. (2546), ขอกําหนดมาตรฐานสําหรับงานกอสรางเสาเข็มเจาะ

7.7 ณรงค ทัศนนิพันธ (2543), การสรางมาตรฐานงานกอสรางเสาเข็มระบบเจาะเปยกในประเทศไทยท่ี

สอดคลองกับมาตรฐานสากลในยุคโลกาภิวัฒน