109
ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ปริญญานิพนธ ของ สุขจิตต ไชยชมภู เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา พฤษภาคม 2550

ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

  • Upload
    others

  • View
    1

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ปริญญานิพนธ ของ

สุขจิตต ไชยชมภ ู

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศกึษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบณัฑติ สาขาวิชาพลศึกษา

พฤษภาคม 2550

Page 2: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

บทคัดยอ ของ

สุขจิตต ไชยชมภ ู

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศกึษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบณัฑติ สาขาวิชาพลศึกษา

พฤษภาคม 2550

Page 3: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

BASKETBALL SKILLS OF MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS IN LUMPHUN EDUCATIONAL SERVICE AREA IN THE ACADEMIC YEAR 2006

AN ABSTRACT BY

SUKKHACHIT CHAICHOMPOO

Presented in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master of Education degree in Physical Education

at Srinakharinwirot University May 2007

Page 4: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ปริญญานิพนธ ของ

สุขจิตต ไชยชมภ ู

เสนอตอบัณฑติวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อเปนสวนหนึ่งของการศกึษา ตามหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบณัฑติ สาขาวิชาพลศึกษา

พฤษภาคม 2550 ลิขสิทธิ์เปนของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 5: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ปริญญานิพนธ เร่ือง

ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ของ สุขจิตต ไชยชมภ ู

ไดรับอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยใหนับเปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ปริญญาการศึกษามหาบณัฑติ สาขาวิชาพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

........................................................... คณบดีบณัฑิตวิทยาลัย (ผูชวยศาสตราจารย ดร.เพ็ญศิริ จีระเดชากลุ) วันที่............เดอืนพฤษภาคม พ.ศ. 2550

คณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ คณะกรรมการสอบปากเปลา

…………………………….………….ประธาน

…………………………….………….ประธาน

(ผูชวยศาสตราจารยธงชัย เจริญทรัพยมณ)ี (รองศาสตราจารยเทเวศร พริิยะพฤนท) ……………………..…….………….กรรมการ

……………………..…….………….กรรมการ

(ผูชวยศาสตราจารยธาวุฒิ ปล้ืมสําราญ) (ผูชวยศาสตราจารยธงชัย เจรญิทรัพยมณ)ี

……………………..…….………….กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยธาวุฒิ ปล้ืมสําราญ)

……………………..…….………….กรรมการ (รองศาสตราจารยสุนทร แมนสงวน)

Page 6: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ประกาศคณุูประการ

ปริญญานิพนธฉบับนี้สําเร็จไดดวยความอนุเคราะหอยางสูงจาก ผูชวยศาสตราจารยธงชัย เจริญทรัพยมณี ประธานควบคุมปริญญานิพนธ ผูชวยศาสตราจารยธาวุฒิ ปล้ืมสําราญ กรรมการควบคุมปริญญานิพนธและรองศาสตราจารยเทเวศร พิริยะพฤนท รองศาสตราจารยสุนทร แมนสงวน กรรมการแตงตั้งเพิ่มเติม ผูวจิันรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาและกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอกราบขอบพระคุณอาจารยธงชาติ พูเจรญิ ผูชวยศาสตราจารยสมรรถชัย นอยศิริ และผูชวยศาสตราจารยวัฒนา สุทธิพันธ ที่ไดกรุณาเปนผูเชีย่วชาญและใหคําแนะนํา ตรวจแกไข ขอบกพรองตางๆ ในการสรางเครื่องมือที่ใชในการวิจัยนีใ้หมีคุณภาพ ขอขอบพระคุณผูที่มีสวนเกีย่วของในการทําปริญญานิพนธฉบับนี้ทุกทาน ที่ใหความรวมมือชวยเหลือในการเก็บรวบรวม และวเิคราะหขอมูล ผูวิจยัขอขอบพระคุณทกุทานทีใ่หความอนุเคราะหในการทําวิจยัคร้ังนี้ ขอนอมรําลึกถึงพระคุณบิดา มารดา ครูอาจารย และเพือ่นพองที่ใหการสงเสริมสนับสนุนชวยเหลือเปนกําลังใจใหมาโดยตลอด จนทําใหปริญญานิพนธฉบับนีสํ้าเร็จลุลวงไปดวยดี คุณคาและประโยชนอันพึงมีจากปริญญานิพนธฉบับนี้ ผูวิจยัขออุทิศสิ่งดีงามแกผูมีพระคุณทกุทาน และขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ณ โอกาสนี้ สุขจิตต ไชยชมภ ู

Page 7: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

สารบัญ

บทท่ี หนา 1 บทนํา .......................................................................................................................... 1

ภูมิหลัง ..................................................................................................................... 1 ความมุงหมายของการวิจยั ........................................................................................ 3 ความสําคัญของการวิจยั ........................................................................................... 3 ขอบเขตของการวิจัย ................................................................................................. 3 ประชากรและกลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยั ...................................................... 3 ตัวแปรที่ศึกษา ................................................................................................. 4 นิยานศพัทเฉพาะ ............................................................................................. 4 กรอบแนวคิดในการวิจัย ........................................................................................... 5 สมมติฐานในการวิจยั ............................................................................................... 6

2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวของ .................................................................................. 7 ทักษะการเลนกีฬาบาสเกตบอล ................................................................................ 7 แบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล ............................................................................... 10 ประโยชนของการทดสอบทางพลศึกษา ................................................................... 11 คุณลักษณะแบบทดสอบที่ดี ...................................................................................... 14 หลักเกณฑการเลือกแบบทดสอบ .............................................................................. 16 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ............................................................................ 17 งานวิจยัที่เกี่ยวของ ..................................................................................................... 20

งานวิจยัในตางประเทศ ..................................................................................... 20 งานวิจยัในประเทศ ........................................................................................... 22

3 วิธีดําเนินการวิจัย ........................................................................................................ 29

การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง ....................................................... 29 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ........................................................................................... 30

Page 8: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

สารบัญ(ตอ) บทท่ี หนา วิธีการสรางเครื่องมือ ................................................................................................ 31 การเก็บรวบรวมขอมูล .............................................................................................. 32 การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล ............................................................. 32

4 ผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................................ 33 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ....................................................................... 33 การเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ................................................................................ 33 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................... 34

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ....................................................................... 55 สรุปผลการวิจัย .......................................................................................................... 56 อภิปรายผล ................................................................................................................ 59 ขอเสนอแนะ .............................................................................................................. 61 ขอเสนอแนะสําหรับการวิจยัคร้ังตอไป ..................................................................... 61 บรรณานุกรม .......................................................................................................................... 62 ภาคผนวก ............................................................................................................................... 65 ภาคผนวก ก แบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล ................................................. 66

ภาคผนวก ข ใบบันทึกการทดสอบทักษะบาสเกตบอล ........................................... 71 ภาคผนวก ค รายช่ือผูเชี่ยวชาญ ............................................................................... 73 ภาคผนวก ง ตารางแสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอล ........................... 75 ประวัติยอผูวิจัย ....................................................................................................................... 96

Page 9: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บัญชีตาราง

ตาราง หนา 1 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง ........................................................................... 30 2 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอล

ในแตละรายการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 .................................................................................................... 34

3 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการสงลูกบาสเกตบอล กระทบเปาของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ .......................................................................................... 35

4 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอล ซิกแซกของนกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ ........................................................................................... 36

5 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการยิงประตูเร็วของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ ..................................................................................................... 37

6 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตู ดานซายและขวาของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ ....................................................................... 38

7 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะบาสเกตบอลของนักเรยีน ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549 จําแนกตามอําเภอ ..................................................................................................... 39

8 ระดับทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ............................................................ 40

9 ระดับทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ............................................................ 41

10 ระดับทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ..................................................................................................... 42

Page 10: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บัญชีตาราง(ตอ)

ตาราง หนา 11 ระดับทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตดูานซายและขวาของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษา

ปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ............................................ 43 12 ระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน

ปการศึกษา 2549 .................................................................................................. 44 13 การวิเคราะหความแปรปรวนทางเดยีวของทักษะบาสเกตบอลแตละรายการของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน ระหวางอําเภอ ปการศึกษา 2549 .................................................................................................. 45

14 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ซิกแซกของนกัเรียนชายทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ................................. 46

15 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการยิงประตูเร็วของ นักเรยีนชายทัง้ 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ..................................................... 47

16 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตู ดานซายและขวาของนักเรยีนชายทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวธีิของเชฟเฟ ................... 48

17 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะบาสเกตบอลของนักเรียน ชายทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ .................................................................. 49

18 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการสงลูกกระทบเปา ของนักเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ............................................ 50

19 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ซิกแซกของนกัเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ................................ 51

20 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียน หญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ................................................................ 52

21 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตู ดานซายและขวาของนักเรยีนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ .................. 53

22 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะบาสเกตบอลของนักเรียน หญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ ................................................................. 54

Page 11: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บัญชีตาราง(ตอ)

ตาราง หนา 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายชัน้มธัยมศึกษาปที่ 4

ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ...................................................... 75 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมธัยมศึกษาปที่ 4

ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ..................................................... 83

Page 12: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

สุขจิตต ไชยชมภู. (2550). ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการควบคุม : ผูชวยศาสตราจารยธงชัย เจริญทรัพยมณ,ี ผูชวยศาสตราจารยธาวฒุิ ปล้ืมสําราญ.

การศึกษานี้มีความมุงหมายเพื่อศึกษาทักษะ สรางระดับทักษะและเปรยีบเทียบทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ระหวางอําเภอในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย เปนนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 จํานวน 450 คน เปนชาย 150 คน เปนหญิง 300 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล 4 รายการ คือ แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็วและแบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนที วิเคราะหความแปรปรวนทางเดยีวและเปรียบเทยีบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ ผลการศึกษาพบวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชาย ในการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา เทากับ 56.08 และ 8.60 คะแนน ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก เทากับ 21.35 และ 3.43 คะแนน ทักษะการยิงประตูเร็ว เทากับ 5.99 และ 3.00 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา เทากับ 5.18 และ 2.13 คะแนน และทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิง ในการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา เทากบั 49.16 และ 8.77 คะแนน ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก เทากบั 18.48 และ 3.31 คะแนน ทักษะการยิงประตูเร็ว เทากบั 4.60 และ 2.41 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา เทากับ 4.16 และ 1.95 คะแนน

2. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนทีที่ 55 – 62 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนททีี่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนทีที่ 38– 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนทีที ่ 37 ลงมา

3. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนกัเรียนหญิงระหวางอําเภอแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 13: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

Sukkhachit Chaichompoo. (2007). Basketball Skills of Mathayom Suksa 4 Students in Lamphun Educational Service Area in the Academic Year 2006. Master thesis. M.Ed. (Physical Education). Bangkok : Graduate School, Srinakharinwirot University. Advisor Committee : Assist. Prof. Thongchai Charoensupmanee, Assist. Prof. Thawuth Pluemsamran.

This study aimed to investigate, develop, and compare basketball skills test of Mathayom Suksa 4 students in Lamphun Educational Service Area in the academic year 2006. The subjects comprised 450 Mathayom Suksa 4 students with 150 males and 300 female. The instrument for collecting data were basketball skills test including goal passing skill, dribble skill, speed shooting skill, and dribble for left and right shooting skill. Then data were analyzed and presented by mean, standard deviation, T – score, one – way analysis of variance and Scheffe’s test. The result revealed that :

1. Mean and standard deviation of male basketball skills test on goal passing skill were 56.08 and 8.60, on dribble skill were 21.35 and 3.43, on speed shooting skill were 5.99 and 3.00, dribble for left and right shooting skill were 5.18 and 2.13 whereas mean and standard deviation of female basketball skills test on goal passing skill were 49.16 and 8.77, on dribble skill were 18.48 and 3.31, on speed shooting skill were 4.60 and 2.41, dribble for left and right shooting skill were 4.16 and 1.95

2. When considered with T – score, it was found that male and female basketball skills at a very high level was more than T – score of 63 , a high level was T – score of 55 – 62, a moderate level was T – score of 46 – 54, a low level was T – score of 38 – 45, and a very low level was lower than T – score of 37 The comparison of male and female students’ basketball skills between districts in Lamphun Educational Service Area, significant difference at .05 level.

Page 14: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บทที่ 1 บทนํา

ภูมิหลัง บาสเกตบอลเปนกีฬาชนิดหนึ่งในกิจกรรมทางพลศึกษาที่มีกระบวนการหลายรูปแบบเปนองคประกอบในการพัฒนา ปรับปรุง และสงเสริมใหประชากรไดมกีารพัฒนาที่ดี ทัง้ทางดานรางกายและจติใจ มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ แข็งแรง จิตใจที่เพยีบพรอมไปดวยคุณธรรม จริยธรรม มีน้ําใจนกักฬีา รูแพ รูชนะ รูอภัย ยึดมั่นในความสามัคคี มีระเบียบวินยัประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑสภาวะของสังคมไดเปนอยางดี (สาโรช คุณีพงษ. 2544 : คํานํา) ซ่ึงสอดคลองกับ เฉลี่ย พิมพันธุ (2529 : 1) ที่กลาววา กีฬาบาสเกตบอลเปนกิจกรรม พลศึกษาประเภทหนึ่งที่สามารถพัฒนาทางรางกาย จิตใจ อารมณ สังคมและสติปญญา การเลนบาสเกตบอลนั้นทําใหเกดิความเพลิดเพลิน สนุกสนาน นอกจากนีลั้กษณะของกฬีาบาสเกตบอลยังเปนสังคมยอยๆ ที่มีผูเลนซ่ึงตองดําเนินไปตามขอบเขตของกฎ กตกิา เปนไปตามระเบียบทีด่ี รวมทั้งชวยใหผูเลนมีรางกายแข็งแรง สมบูรณ ทรหด อดทน ระบบอวัยวะตางๆในรางกายไดทํางานอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ฉัฐรส บัญชาชาญชัย (2540 : 2) กลาววา การเรียนการสอนรายวิชาบาสเกตบอลนั้น จะเนนทักษะเบื้องตนเปนพืน้ฐานในการเลนกีฬาบาสเกตบอล ซ่ึงไดแก การรับ – สงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการยิงประตบูาสเกตบอล ใหเกิดความรูความเขาใจในทักษะพื้นฐานที่ดีพอสมควร และนําทักษะพื้นฐานไปใชผสมผสานในการเลนเปนทมีตอไป ผูสอนตองพยายามคนควาหาวิธีการสอนเพื่อพัฒนานักเรยีนใหสามารถเลนบาสเกตบอลได และมีบรรยากาศที่สนุกสนานดวย ตลอดจนการวัดผลเพื่อจะไดทราบวาผูเรียนบรรลุตามจดุประสงคที่วางไวหรือไม การวัดผลในการเรียนการสอนพลศึกษา จะวดัดานความรู ไดแก กติกา มารยาทในการเลนกฬีา วัดดานความสามารถ ไดแก สมรรถภาพรางกาย และทกัษะกีฬา ในการวัดทักษะกฬีานั้นแบบทดสอบที่ใชจะตองเปนแบบทดสอบที่มีคุณภาพและเหมาะสมกบัผูเขารับการทดสอบ ในการวัดผลการเรียนการสอนวิชาบาสเกตบอลนั้นผูสอนจะตองสังเกตจากความถูกตองจากการปฏิบัติของนักเรียนแตละคนโดยมแีบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอลเปนเกณฑในการตดัสินผลการเรียนการสอน ซ่ึงสอดคลองกับ ประโยค สุทธิสงา (2541 : 3) กลาววา โปรแกรมการวัดผลทางพลศึกษาเปรียบเสมือนเข็มทิศและแผนที่ ซ่ึงเปนเครื่องมือในการเดินทาง การวัดผลทางพลศึกษานอกจากจะทําใหผูสอนทราบถึงสิ่งที่ตองการจะวัดแลว ส่ิงจําเปนที่ควรทราบอีกอยางหนึ่ง คือ การวัดความสามารถ (Performance test) การวัดวิธีนี้ ผูรับการทดสอบจะตองลงมือปฏิบัติในกิจกรรมที่ผูทดสอบตองการทราบ เพื่อที่จะดูความสามารถและการวัดความสามารถมีคะแนนมากกวาการวดัผลทางดานอื่นในวิชาพลศกึษา เชน การวัดผลทักษะกฬีาหากตองการทราบวา

Page 15: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

2

ผูเรียนคนใดมทีักษะทางกฬีาใดกใ็หเขาไดปฏิบัติในกฬีานั้นๆ ซ่ึง วิริยา บุญชัย (2529 : 257) กลาววา ครูพลศึกษาหรือนกัพลศึกษาสามารถทราบสภาพ ความสามารถ หรือขอบกพรองของนักเรียนได โดยการใชแบบทดสอบทักษะทางกีฬาเปนเครื่องมือในการดําเนินการ ดงันั้นการวัดผลและการประเมินผลจึงเปนสิ่งจําเปนที่ขาดไมได ซ่ึงขอมูลหรือผลที่ไดจากการทดสอบสามารถนําไปใชประโยชนไดหลายประการ เชน เพื่อการจัดตําแหนงการวนิจิฉัยวาเด็กเกง หรือไมเกงในวิชาเรียน การเปรียบเทียบระหวางเดก็แตละคนหรือแตละหองเรียน การพยากรณวาเด็กควรจะเรียนอะไรจึงจะสําเร็จ และเพื่อการประเมนิคาการเรียนการสอนของครูและนักเรยีน (ผาณิต บิลมาศ. 2524 : 24)

บาสเกตบอลเปนรายวิชาหนึ่งที่มีการจัดการเรียนการสอนซึ่งโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนูมีการจัดการเรียนการสอนอยูในชวงชั้นที่ 4 เปนสวนใหญ เขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน มี 7 อําเภอ 1 กิ่งอําเภอ ประกอบดวย อําเภอเมอืงลําพูน อําเภอบานธิ อําเภอปาซาง และอําเภอแมทา อําเภอบานโฮง อําเภอทุงหวัชาง อําเภอลี ้ และกิ่งอําเภอเวียงหนองรอง มีโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพูน ที่มีการจัดการเรียนการสอนรายวิชาบาสเกตบอลอยูในกลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศกึษา ของหลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 จํานวน 10 โรงเรียน ในแตละโรงเรยีนมีปจจัยตางๆ ที่เอื้อตอการเรียนการสอนทีแ่ตกตางกันออกไปตามสภาพความพรอมของแตละโรงเรียนและการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของแตละโรงเรียนก็ใชแบบทดสอบที่แตกตางกัน ทาํใหไมสามารถทราบไดวาระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนในโรงเรียนตางๆ แตกตางกันหรือไมอยางไร ดวยเหตดุังกลาวผูวิจยัจึงมีความสนใจทีจ่ะทราบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนและสรางระดับทักษะบาสเกตบอลเพื่อใชเปนเกณฑในการประเมินทักษะของนักเรยีนและเปรียบเทยีบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนระหวางอําเภอในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูนเพื่อเปนแนวทางในการประเมินทกัษะบาสเกตบอลและพัฒนาทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนใหสูงขึ้นและเปนประโยชนในการศึกษาสําหรับผูที่สนใจศึกษาคนควาตอไป

Page 16: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

3

ความมุงหมายของการวิจัย 1. เพื่อทราบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษา

ลําพูน ปการศกึษา 2549 2. เพื่อสรางระดบัทักษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่

การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 3. เพื่อเปรียบเทยีบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

ระหวางอําเภอในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ความสําคัญของการวิจัย ทําใหทราบทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศกึษา 2549 ทําใหมีเกณฑในการประเมินระดับทักษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนเปนแนวทางในการประเมนิผลการเรียนการสอนรายวิชาบาสเกตบอลและทราบความแตกตางทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและหญิงระหวางอําเภอในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เพื่อเปนประโยชนในการศึกษาสําหรับผูสนใจศึกษาคนควาตอไป ขอบเขตของการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัย ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังไดแกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 ซ่ึงกําลังศึกษาวิชาบาสเกตบอล 1 ในภาคเรยีนที่ 2 ปการศึกษา 2549 จํานวนทั้งหมด 1,813 คน เปนชายจํานวน 641 คน เปนหญิงจํานวน 1,172 คน

กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจัย

กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยัคร้ังนี้ เปนนกัเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 จํานวนทั้งหมด 450 คน เปนชายจํานวน 150 คน เปนหญิงจํานวน 300 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling)

Page 17: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

4

ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ

- เพศ จําแนกเปน เพศชายและเพศหญิง - อําเภอ จําแนกเปน อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอ

บานธิ อําเภอบานโฮง 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ คะแนนที่ไดจากการทดสอบทักษะ

บาสเกตบอลของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 4 นิยามศัพทเฉพาะ ทักษะบาสเกตบอล หมายถึง วิธีการเลนตางๆ ที่ใชในการเลนบาสเกตบอล เชน การรับ

ลูกบาสเกตบอล การสงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การยิงประตูบาสเกตบอล นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปท่ี 4 หมายถึงนกัเรียนในระดบัชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขต

พื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ที่กําลังศึกษาบาสเกตบอล 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549

เขตพื้นท่ีการศึกษาลําพูน หมายถึง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาเดิม ที่อยูในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน และไดเปดการเรียนการสอนวิชาบาสเกตบอล มีพื้นที่ 5 อําเภอ จํานวน 10 โรงเรียน คือ

อําเภอเมือง ไดแก โรงเรียนจักรคําคณาทร ลําพูน, โรงเรียนสวนบญุโญปถัมภ, โรงเรียนอุโมงควิทยาคม

อําเภอแมทา ไดแก โรงเรียนทาขุมเงินวทิยาคาร, โรงเรียนแมทาวิทยาคม อําเภอปาซาง ไดแก โรงเรียนวชิรปาซาง, โรงเรียนน้ําดบิวิทยาคม อําเภอบานธ ิ ไดแก โรงเรียนปาตาลบานธิพิทยา อําเภอบานโฮง ไดแก โรงเรียนธีรกานทบานโฮง, โรงเรียนบานโฮงรัตนวิทยา

Page 18: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

5

กรอบแนวคดิในการวิจัย

ตัวแปรตาม ตัวแปรอิสระ

แบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ผูวิจัยสรางขึ้นโดยผานการพจิารณาของผูเชี่ยวชาญมีทั้งหมด 4 รายการคือ 1. แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของเลซเทน 2. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของจอหนสัน 3. แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็วของจอหนสัน 4. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของ เสกสันติ์ สายพรหมทอง

ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก 1. เพศ จําแนกเปน เพศชาย เพศหญิง 2. อําเภอ จําแนกเปน อําเภอเมือง

อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธิ อําเภอบานโฮง

ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 4

Page 19: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

6

สมมติฐานในการวิจัย 1. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายระหวางอําเภอแตกตางกัน 2. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงระหวางอําเภอแตกตางกัน

Page 20: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในงานวิจยัคร้ังนี้ ผูวิจยัไดศกึษาเอกสารและงานวจิัยที่เกี่ยวของ และไดนําเสนอตามหัวขอตอไปนี ้

1. ทักษะการเลนกีฬาบาสเกตบอล 2. แบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล 3. ประโยชนของการทดสอบทางพลศึกษา 4. คุณลักษณะแบบทดสอบที่ดี 5. หลักเกณฑการเลือกแบบทดสอบ 6. สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน 7. งานวิจยัที่เกี่ยวของ

- งานวิจยัในตางประเทศ - งานวิจยัในประเทศ

ทักษะการเลนกีฬาบาสเกตบอล

เฉลี่ย พิมพันธุ (2529 : 42 - 129) กลาววา ทักษะบาสเกตบอลประกอบดวย 1 การทรงตัวและการเคลื่อนที ่

1.1 การเปลี่ยนทิศทาง 1.2 การเปลี่ยนชวงกาว 1.3 การวิ่งตัด 1.4 การหยดุ 1.5 การหมุนตวั 1.6 การลอหลอก 1.7 การกระโดด

2 การครอบครองลูกบาสเกตบอล 2.1 การถือลูกบอล 2.2 การรับลูกบอล

Page 21: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

8

2.3 การสงลูกบอล - การสงลูกบอลสองมือจากอก - การสงลูกกระดอน - การสงลูกสองมือเหนือศีรษะ - การสงลูกมือเดียวเหนือไหล - การสงลูกลาง - การสงลูกตวัด - การสงลูกพลิกแพลง - การสงลูกบอลตามยุทธวิธี

3 การเลี้ยงลูกบอล 3.1 การเลี้ยงลูกบอลเปลี่ยนชวงกาว 3.2 การเลี้ยงลูกบอลโดยการลากขา 3.3 การเลี้ยงลูกบอลเปลี่ยนทิศทางแบบครอส – โอเวอร (Cross – Over) 3.4 การเลี้ยงลูกบอลหมุนตัว

4. การยิงประต ู4.1 การยืนยิงประตู

- การยืนยิงประตูสองมือลาง - การยืนยิงประตูเหนือศีรษะ

4.2 การกระโดดยงิประตู 4.3 การวิ่งกระโดดยิงประต ู

เทพประสิทธิ์ กุลธวัชชัย (2541 : 11 - 88) กลาววา ทักษะบาสเกตบอลประกอบดวย 1. ทักษะสวนบุคคลมือเปลา

1.1 การยืน 1.2 การกาวเคลื่อนที่ตามกัน 1.3 การวิ่ง – การหยุด 1.4 การกระโดด

2. การถือครอบครองลูกบอล 2.1 การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล 2.2 การรับ – สงลูกบาสเกตบอล

Page 22: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

9

- การสงลูกบอลสองมือจากอก - การสงลูกสองมือเหนือศีรษะ - การสงลูกสองมือเหนือหวัไหลดานขาง - การสงลูกสองมือลางดานขาง - การสงลูกสองมือลาง - การสงลูกสองมือเหนือหวัไหล - การสงลูกมือเดียวเหนือหวัไหลดานขาง - การสงลูกมือเดียวมือลาง - การสงลูกมือเดียวขางลําตวั - การสงลูกมือเดียวขามไหล - การสงลูกกระดอน - การสงลูกพลิกแพลง

2.3 การยิงประตูบาสเกตบอล 2.3.1 การยืนยิงประตูมือเดียว 2.3.2 การยืนยิงประตูสองมือ - การกระโดดยงิประตู - การเหวีย่งมือยงิประตู - การยิงประตแูบบสองมือลาง - การกาวเทายิงประตู

ธงชัย เจริญทรัพยมณี (2538 : 51 - 187) กลาววา ทักษะบาสเกตบอลประกอบดวย 1. ทักษะพื้นฐานสวนบุคคล

1.1 การทรงตัว - ทายืนของการทรงตัว - การเคลื่อนเทา - การเคลื่อนที่และการหยดุ - การกระโดด - การหมุนตวั

1.2 การครอบครองบอล - การถือบอล

Page 23: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

10

- การรับลูกบอล - การสงลูกบอล

1.3 การเลี้ยงลูกบอล 1.4 การยิงประต ู1.5 การหลอกลอ 1.6 การหมุนปองกันคูตอสู

2. ทักษะพื้นฐานการเลนเปนทมี 2.1 ทักษะพื้นฐานการเลนเปนทมี

- การรุกเปนเขตหรือโซน - การปองกันแบบคนตอคน - การปองกันแบบ 1:1, 1;2, 2:3, และ 3:4

แบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล วิริยา บุญชัย (2529 : 265 – 281) กลาวไววา การวัดทกัษะทางกีฬาเปนรากฐานที่สําคญัของการเรียนพลศกึษา และไดกลาวถึงแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล ดังนี้ จอหนสัน (Johnson) ไดศึกษาขอสอบทั้งหมด 19 รายการ แลวนําไปสอบความเชื่อถือได และความเทีย่งตรงในขั้นสุดทาย ไดเลือกแบบทดสอบไว 3 ประการ คือ

1. การยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) 2. การขวางลูกเพือ่ความแมนยํา (Basketball Throw for Accuracy) 3. ความเร็วในการเลี้ยงลูก (Dribble Test)

นอกซ (Knox) ไดปรับปรุงทดสอบทักษะกฬีาบาสเกตบอล เพื่อใชกับนกัเรียนระดับมัธยมศึกษา ประกอบดวยแบบทดสอบ 4 รายการ คือ

1. เล้ียงลูกเร็ว (Speed Dribble Test) 2. สงลูกกระทบฝาผนัง (Wall Bounce Test) 3. เล้ียงลูกเขายิงประตู (Dribble Shoot Test) 4. ใสเหรียญในกระปอง (Penny Cup Test)

สทรูพ (Stroup) ไดสรางแบบทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการเลนบาสเกตบอลโดยใชคะแนนจากการแขงขันเปนเกณฑในการวัดความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ ผูรับการทดสอบมีจํานวนทั้งหมด 121 คน ซ่ึงลงทะเบียนเรียนกจิกรรมพลศึกษาทั่วไป โดยในการเรียนแตละชัว่โมงได

Page 24: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

11

แบงนักศกึษาออกเปน 82 ทีม แตละทีมเลน 41 คร้ัง คร้ังละ 10 นาที ในตอนสดุทายของการแขงขันใหทดสอบดวยแบบทดสอบ 3 รายการ คือ

1. ยิงประตูเร็ว (Goal Shoot) 2. สงลูกกระทบฝาผนัง (Wall Passing) 3. เล้ียงลูก (Dribble)

เลซเทน (Lehsten) ไดสรางแบบทดสอบเพื่อวัดความสามารถในการเลนบาสเกตบอลของนักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบดวยขอทดสอบ 5 รายการ คือ

1. วิ่งหลบหลีก (Dodging Run) 2. วิ่งเร็ว 40 ฟตุ (The 40-foot Dash) 3. ยิงประตูเร็ว (Basketball per Minute) 4. ยืนกระโดดสูง (Vertical Jump) 5. สงลูกกระทบเปา (Wall Bounce)

บันน (Bunn) ไดสรางแบบทดสอบเพื่อวดัความสามารถในการเลนบาสเกตบอลประกอบดวยขอทดสอบทั้งหมด 6 รายการ ในการทดสอบใหเรียงลําดับจาก 6 - 1

1. ยิงประตูใตแปนสลับขาง (Alternating Lay-up Shot) 2. สงลูกกระทบเปา (Wall Bounce) 3. ใสเหรียญเพนนี (Penny Cup) 4. เล้ียงลูกออมสิ่งกีดขวาง (Dribble Maze) 5. การหยดุและการหมุนตัว (Stop and Pivot) 6. การเลี้ยงลูกเขายิงประตู (Dribble Shoot)

ประโยชนของการทดสอบทางพลศึกษา คอลลินส (ผาณิต บิลมาศ .53 – 55 ; อางอิงจาก Collins. 1978 : 4 – 5) กลาววา ประโยชนของการทดสอบทักษะกีฬามีอยางนอย 9 ประการ คือ

1. วัดผลสัมฤทธิ์ ความมุงหมายอันดับแรกของแบบทดสอบทักษะเพื่อวดัความกาวหนาของนักเรียนหรือระดับผลสัมฤทธิ์ เนื้อหา และทฤษฎีหลักการตางๆ ของแตละรายวชิา

2. การแขงขัน จากการที่นักเรียนไดทําการแขงขันหรือทําคะแนนใหไดมากๆ ในแตละรายการทดสอบ จะเปนเครื่องมือใหเหน็ถึงการประสบความสําเร็จของโครงการพลศึกษา

Page 25: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

12

3. การใหคะแนนหรือเกรด นกัเรียนอาจไดรับการประเมินพื้นฐานตางๆ ตามแบบทดสอบการกระทําทางทักษะ เมื่อนักเรียนไดเรียนรายวิชาผานไป ส่ิงที่นักเรียนไดคือเกรดหรือคะแนน ซ่ึงจะเปนเครื่องชี้ใหเห็นระดับความกาวหนาหรือผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนทีแ่สดงออกใหเห็นตามแบบทดสอบทักษะนั้นๆ

4. เปนการแบงกลุม การใชแบบทดสอบทักษะ ผูฝกสอนจะใหทดสอบเพื่อแบงผูเรียนตามระดับ เชน ระดบัต่ํา ระดับปานกลาง ระดับสูง แทนที่จะใชเวลาเล็กนอยในการสังเกตการกระทําหรือการแสดงออกทางทักษะ นอกจากนีก้ารแบงกลุมนี้จะทําใหเกิดความยุตธิรรมในการแขงขันกีฬาภายใน

5. เปนการจูงใจ นักเรียนจะมีการตอบสนองในทางบวกตอส่ิงที่มาทาทายเขาจะพยายามมากๆ จากการทดสอบจากแบบทดสอบทักษะ มากกวาจะใหเขาทําหรือแสดงออกเพื่อเอาชนะเพื่อนในชั้น ดวยเหตนุี้แบบทดสอบทักษะจึงเปนสิ่งจงูใจที่ดีมาก เพื่อใหนกัเรียนเกิดการพฒันาและกาวหนา

6. การฝกซอมหรือการปฏิบัติ คลายกับวัตถุประสงคการจงูใจ จะมีนักเรียนฝกซอมตามรายการของแบบทดสอบเพื่อใหไดคะแนนมากขึ้นอกี การกระทําดังกลาวถือเปนการสรางความกาวหนาใหแกตัวเองและเปนการทดสอบตัวเอง ซ่ึงเปนคุณสมบตัิที่สําคัญที่สุดที่จะทําใหประสบผลสําเร็จในทักษะกีฬาตางๆ หากครูหรือผูฝกสอนเห็นประโยชนและไดจัดใหนกัเรียนฝกตามรายการของแบบทดสอบทักษะหรือบางสวน โดยมีการสาธิตและอธิบาย

7. การวินจิฉัย การพัฒนาทางทักษะเปนพืน้ฐานอยางหนึ่งในการสอนพลศกึษาการวินิจฉยัถึงความสามารถของนักเรียนในแตละระดับถือวาเปนคุณสมบัตอิยางหนึ่งในการสอนพลศึกษาเมื่อใชแบบทดสอบทางทักษะตางๆ ทําใหผูสอนรูจุดบกพรองของนักเรียนเพื่อการแกไขตอไป

8. เครื่องชวยการสอน โดยธรรมชาติของการสอนทักษะกีฬา นักเรียนจะตองการรูถึงความกาวหนาและพัฒนาการทางทักษะของตัวเองทุกขณะ ดังนั้น หากผูฝกสอนใชรายการทดสอบในแบบทดสอบทักษะในการฝกทักษะและเนนมากๆ จะเปนเครื่องชวยในการสอนและชวยนักเรยีนมากขึ้น

9. เครื่องมือในการแปลความหมาย หนาที่อยางหนึ่งของการสอนพลศึกษาคือการแปลผลหรือการแปลความหมายจากการเรยีนของนักเรียนใหกับผูบริหาร ผูปกครอง นักเรียนและสาธารณะทั่วไปใหไดทราบ ซ่ึงจะแปลความหมายไดก็ตองไดผลมาจากแบบทดสอบทักษะที่มีคณุภาพและสิ่งนี้กจ็ะเปนการยกระดบัของโรงเรียนไปดวย

Page 26: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

13

วิริยา บุญชัย (2529 : 22 – 24) กลาววา ประโยชนของผลการทดสอบ มีดังนี ้1. เพื่อการใหเกรด คะแนนของการทดสอบจะนําไปใชเพื่อเปนเปาหมายในการให

เกรดมากกวาเหตุผลอ่ืนๆ ซ่ึงในบางลักษณะก็เปนผลดี เพราะเปนวิธีการที่มีความเปนปรนัยในการใหเกรด แตก็ยังมีปญหาหากใชคะแนนการทดสอบเพียงอยางเดยีว เพราะเปนเปาหมายอยางแคบๆ เทานั้น

2. การแบงกลุมผูเรียน (Classification) การวดัผลทางพลศึกษาจะทําใหผูสอนกําหนดผูเรียนไดวามีความสามารถอยูในระดับใด จะอยูกลุมเดียวกนัหรือไม เพราะกลุมที่มีลักษณะคลายกันหรือเหมือนกนั (Homogeneous group) มีประโยชนอยางยิ่งในการเรียนการสอน และสรางบรรยากาศทางสังคมไดประโยชนมากกวากลุมที่มีลักษณะแตกตางกนั (Heterogeneous group)

3. การกําหนดสถานะตางๆ ของผูเรียน ขอนี้อยูในจุดมุงหมายโดยตรงของพลศึกษาอยูแลว ผูเรียนแตละคนมีสถานภาพอยางไรบาง มีทักษะเฉพาะดานใดบาง ความสามารถในการเขากับคนอื่นๆ เปนอยางไร การจะกําหนดสถานภาพตางๆ ไดตองมีการวัดและประเมินผล การประเมินผลเพื่อกําหนดสถานะตางๆ ตองทํากอนสรางหรือวางโครงการเรียนการสอนพลศึกษาเพราะผลของการวัดผลนี้จะเปนพื้นฐานที่มีระบบของโครงการสรางการพลศึกษาตอไป

4. วัดความกาวหนา ความกาวหนาเปนสวนหนึ่งที่มีความสําคัญยิ่งในการสอน พลศึกษาเพื่อปรับปรุงและสงเสริมแรงจูงใจของทั้งผูเรียนและผูสอน การวัดผลเมื่อเร่ิมตนและสิ้นสุดการเรียนแตละครั้ง สามารถนําคะแนนของแตละบุคคลมาเปรียบเทียบดูความกาวหนาวามีมากนอยเพียงใด ความแตกตางของคะแนนจะเปนสิ่งเราใหนักเรียนปรับปรุงตนเอง

5. ชวยในการพจิารณาคะแนนอยางเปนปรนยั การวดัที่เชือ่ถือได ถูกตองแมนยํากลการวิธีประเมนิที่มีประสิทธิภาพ มีการใหคะแนนที่เปนปรนัยแกคะแนนที่ไดมาจากการวดั ส่ิงเหลานี้เทานั้นที่จะทําใหวิชาพลศึกษาดํารงความสําคัญอยูได

6. เพื่อการวนิิจฉยั เพื่อวนิิจฉยัหาสาเหตวุา การที่เด็กเรยีนวิชาหนึ่งไดไมดีเนื่องดวยอะไร และเปนการบอกใหทราบวาเด็กเกง ไมเกงหรือเดนดอยทางไหน อันเปนแนวทางชวยแกไขสงเสริมการเรียนของเดก็ ตลอดจนการปรบัปรุงการเรียนการสอนใหเกิดประโยชนและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

7. เพื่อเปนการกระตุนการเรยีนการสอน การประเมินผลการสอนของตนเองจะเปนเครื่องกระตุนใหนกัเรียนไดเรียนรูความคดิตางๆ และมทีักษะ การพยายามเอาเอาชนะตนเองโดยการเรียนใหไดคะแนนมากขึ้นเรือ่ยๆ จะเปนสิ่งเราใหเกิดการเรียนไดอยางดี

Page 27: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

14

8. เพื่อเปนแนวทางในการคนควาวจิัย การวัดผลเปนการรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจยั ขอมูลที่ไดจากการวัดผลสามารถนําไปวิจยัเกี่ยวกับการเรยีนรู ประสิทธิภาพของวิธีการสอน อุปกรณการสอน ตลอดจนหลักสูตรที่ใช

9. เพื่อเปนการปรับปรุงการเรียนการสอนการวัดผลจะชวยใหทราบวา เทคนิคหรือวิธีการสอน อุปกรณการสอน และเนื้อหาวิชาที่เราสอนไปนั้นมีประสิทธิภาพหรือไม นอกจากนีก้ารวัดผลชี้ใหเราเห็นถึงความเจริญงอกงามในเด็กแตละคน ดังนั้น จะเห็นไดวาการวัดผลสามารถบงบอกสวนดีและสวนเสียของโครงการสอนไดเปนอยางดี ซ่ึงเปนพื้นฐานในการปรับปรุงหลักสูตรเปนพื้นฐานในการเลือกวิธีสอนที่มีประสิทธิภาพ

10. เพื่อวัดโครงการพลศึกษา ผลจากการทดสอบเปนขอมูลที่ใชประเมินโครงการ พลศึกษาได โดยทราบเกีย่วกับขอบกพรองตางๆ เมื่อทราบขอมูลตางๆ ก็สามารถนํามาปรับปรุงโครงการพลศึกษา เพื่อใหบรรลุเปาหมายใหมากที่สุด คุณลักษณะของแบบทดสอบที่ดี แบบทดสอบที่ดีควรมีคุณลักษณะที่สําคัญซึ่ง สกอตและเฟรนซ (ผาณติ บิลมาศ. 2530 : 50 – 51 ; Scott and French. 1950 : 28 – 46) กลาววา คณุลักษณะของแบบทดสอบที่ดีโดยเฉพาะแบบทดสอบทักษะกลไกควรมีลักษณะ ดังนี ้

1. เปนแบบทดสอบที่วัดความสามารถสําคัญๆ (Test Should Measure Import Abilities)

2. แบบทดสอบที่คลายการเลนจริง (Test Should be Like Game Situation) 3. เปนแบบทดสอบที่วัดการกระทําของบุคคลหนึ่งๆ โดยเฉพาะ (Test Should

Involve One Performer Only) 4. แบบทดสอบที่เนนทาทางทีด่ี (Test Should Encourage Good Form) 5. เปนแบบทดสอบที่มีวิธีการใหคะแนน (Test Should Provide Accurate Scoring) 6. เปนแบบทดสอบที่กําหนดจาํนวนครั้งในการทดสอบเพียงพอ (Test Should

Provide a Sufficient Number of Trials) 7. เปนแบบทดสอบที่นาสนใจและมีความหมาย (Test Should be Interesting and

Meaningful) 8. เปนแบบทดสอบที่มีความยากเหมาะสม (Test Should be of Suitable difficulty)

Page 28: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

15

9. เปนแบบทดสอบที่คะแนนสามารถนํามาตัดสินโดยใชคาสถิติ (Test Should be Judged Partly Statistical Evidence)

10. เปนแบบทดสอบที่มีคาเฉลี่ยสําหรับการแปลผลของการกระทํา (Test Should Provide a Means for Interpreting Performance)

วิลกูส (Willgoose. 1961 : 21 – 28) ไดเสนอคุณสมบัติของแบบทดสอบไววา 1. ตองมีความเทีย่งตรง (Validity) แบบทดสอบที่ดีตองสามารถใชวัดสิ่งที่ตองการ ทราบคา

ได แบบทดสอบที่มีความเทีย่งตรงสูงสามารถบอกคาคุณภาพในสิ่งทีต่องการทราบไดสูงโดยไมบิดเบือน หรือมีส่ิงของที่ไมตองการวัดรวมอยูเลย

2. แบบทดสอบที่มีความเชื่อถือได (Reliability) หมายถึง ความคงที่แนนอนของแบบทดสอบ จะนําเอาแบบทดสอบไปใชกี่คร้ังก็ตาม ผลลัพธจะไดเหมือนเดิมเมื่อทดลองกับกลุมประชากรเดยีวกันและสภาพแวดลอมที่เหมือนกนั

3. แบบทดสอบที่ดีตองมีความเปนปรนัย (Objectivity) คือความเปนอันหนึ่งอันเดียวกนัในการหาคะแนนในการทดสอบ แมวาขอทดสอบที่นําไปใชนั้นใครจะเปนผูใหคะแนนก็ตามทุกคนจะใหคะแนนเหมือนกันหมด ความเปนปรนัยของแบบทดสอบ มีคุณสมบัติดังนี ้

3.1 มีรายละเอียดขอช้ีแจงในการนําไปใชใหแจมชัดแนนอน 3.2 งายและสะดวกแกการใช 3.3 ผลของการทดสอบนําไปคํานวณหาคาทางคณิตศาสตรได 3.4 ขอทดสอบนั้นตองมีกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร และสมรรถภาพคงที่

4. แบบทดสอบตองมีลักษณะประหยดั คือไมตองใชจายในการทดสอบมากนัก และประหยัดทั้งอุปกรณ สถานที่ เวลา และบุคคลากร

5. แบบทดสอบที่ดีตองมีเกณฑเปรียบเทยีบ 6. แบบทดสอบที่ดีตองมีอํานาจในการจําแนกสูง คือหลังจากการทําการทดสอบแลวตอง

สามารถแยกคนเกงและออนได 7. แบบทดสอบที่ดีตองดึงดดูความสนใจของผูรับการทดสอบ ทาทายใหใชความสามารถ

เต็มที่ 8. แบบทดสอบที่ดีตองมีคุณคาในการพัฒนา คือผูรับการทดสอบสามารถรูถึงความสามารถ

และความบกพรองของตนเอง สําหรับที่จะเปนแนวทางในการปรับปรงุใหดีขึน้

Page 29: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

16

9. คําแนะนําในการทดสอบมาตรฐาน แบบทดสอบที่ดีจะตองมีคําสั่งที่เปนมาตรฐานที่ทําใหผูรับการทดสอบทําการทดสอบไดเหมือน ๆ กัน ผลการทดสอบจึงเปนมาตรฐานเดียวกัน หลักเกณฑการเลือกแบบทดสอบ เมยอรและเบลซ (ละเมียด กรยุทธพิพัฒน. 2528 : 5 ; อางอิงจาก Meyer and Blesh. 1962 : 181 - 182) ไดหลักเกณฑในการเลือกของแบบทดสอบไวดังนี ้

1. แบบทดสอบควรเลือกวดัทักษะที่สําคัญในการเลนกฬีานัน้ๆ 2. แบบทดสอบควรมีความคลายคลึงกับสภาพการเลนมากที่สุด 3. แบบทดสอบควรสงเสริมทาทางในการเลนใหดีขึ้น 4. แบบทดสอบควรมีความมุงหมายที่ดีและดึงดูดความสนใจ 5. แบบทดสอบไมควรยากเกินไป จอหนสันและเนลสัน (ชัยรัตน อุนวิเศษ. 2541 : 20 ; อางอิงจาก Johnson and Nelson.

1986 : 63 - 66) กลาววา ครูผูสอนจะตองมีความรูเกีย่วกับหลักเกณฑการเลือกแบบทดสอบที่จะนํามาใช และมีความรูเกีย่วกับการวดัและประเมินผล ดงันี้

1. เลือกเครื่องมือที่มีความเชื่อมัน่ และมีความเที่ยงตรง รวมทั้งเขาใจเทคนคิการวัดและแหลงที่มาของความรูในการดําเนินงาน

2. การเลือกวิธีการวัด และประเมินแบบทดสอบ 3. เลือกวิธีการเกบ็ขอมูลใหมีความเที่ยงตรง มีความเชื่อมั่นและประหยัดเวลา 4. สามารถแปลผลการทดสอบใหผูเรียน ผูปกครอง และผูบริหารได 5. สามารถสรางแบบทดสอบอยางมีความหมายและมจีุดมุงหมาย 6. สามารถสรางแบบทดสอบขึ้นเอง โดยไมเนนแตทางดานปฏิบัติแตเพยีงอยางเดียว

ควรมีแบบทดสอบวัดความรูดวย 7. มีความรูทางสถิติ โดยสามารถแปลผลคะแนนที่ไดจากการทดสอบอยางถูกตอง

วิริยา บุญชัย (2529 : 46) กลาววา การเลือกแบบทดสอบควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี ้1. ตองการวัดผลิตผล (นักเรียน) ทางการศึกษา หรือกระบวนการทางการศกึษา 2. เมื่อตองการวดักระบวนการทางการศึกษา ครูตองการวัดดานใดบาง และมี

วัตถุประสงคในการวดัอยางไร ครูอาจจะวัดเกี่ยวกับผูสอนหรือครูพลศึกษาทั้งโรงเรยีน วิธีการจัดดําเนินการเรียนการสอน หลักสูตร หรือโครงการทางพลศึกษาทั้งหมด เมื่อตองการวัดผลผลิตทางการ

Page 30: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

17

ศึกษาซึ่งหมายถึงนักเรียน ครูตองกําหนดวตัถุประสงคในการวดัที่แนนอน เชน เพือ่การจัดกลุม เพื่อการพิจารณาคะแนน เปนตน

3. แบบทดสอบที่เลือกควรมีวธีิดําเนินการไมยุงยากเกนิไป โดยคํานึงถึงเวลา ขนาดและอายุของกลุมนักเรียน จาํนวนของผูทดสอบ อุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวก

4. แบบทดสอบควรมีความเทีย่งตรง ความเชือ่ถือได และความเปนปรนยัสูง นอกจากนี้ยงัใหประโยชนและมีเกณฑมาตรฐาน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน (2547 : 1 - 4) กลาวถึง ขอมูลเกี่ยวกับสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ดังนี ้ ประวัติความเปนมา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน เปนหนวยงานที่อยูภายใตการกํากบัดูแลของสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาทีดําเนนิงานใหเปนไปตามอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศกึษา ตามมาตรา 38 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และมาตรา 37 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึษาธิการ พ.ศ. 2546 และมีอํานาจหนาที่ดังนี้

1. จัดทํานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศกึษาใหสอดคลองกับนโยบายมาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพืน้ฐานและความตองการของทองถ่ิน

2. วิเคราะหการจดัตั้งงบประมาณเงินอุดหนนุทั่วไปของสถานศึกษา และหนวยงานในเขตพืน้ที่การศึกษาและแจงจัดสรรงบประมาณทีไ่ดรับใหหนวยงานขางตนรับทราบและกํากับตรวจสอบติดตามการใชงบประมาณของหนวยงานดังกลาว

3. ประสาน สงเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรรวมกับสถานศึกษาในเขตพืน้ที่การศึกษา

4. กํากับ ดแูล ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาขั้นพืน้ฐาน และในเขตพื้นที่การศึกษา

5. ศึกษา วเิคราะห วิจยัและรวบรวมขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

Page 31: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

18

6. ประสานการระดมทรัพยากรดานตางๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อสงเสริมสนับสนุนการจัดและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศกึษา

7. จัดระบบการประกันคณุภาพการศึกษา และประเมนิผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

8. ประสาน สงเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งบุคคล องคกรชุมชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดรูปแบบที่หลากหลายในเขตพื้นทีก่ารศึกษา

9. ดําเนินการและประสาน สงเสริม สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการศกึษาในเขตพื้นที่การศึกษา

10. ประสาน สงเสริม ดําเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทํางานดานการศึกษา

11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองคกรหรือหนวยงานตางๆ ทั้งภาครัฐภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ในฐานะสํานักงานผูแทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพื้นที่การศึกษา

12. ปฏิบัติหนาที่อ่ืนเกี่ยวกับกิจการภายในเขตพื้นที่การศึกษาที่มิไดระบใุหเปนหนาที่ของหนวยงานใดโดยเฉพาะหรือปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย

กระทรวงศกึษาธิการไดกําหนดใหมีเขตพืน้ที่การศึกษา จํานวน 175 เขต ในเบื้องตน และกําหนดโครงสรางงานในเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบดวย 6 หนวยงาน ดังนี ้

1. กลุมอํานวยการ 2. กลุมบริหารงานบุคคล 3. กลุมนโยบายและแผน 4. กลุมสงเสริมการจัดการศึกษา 5. กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา 6. กลุมสงเสริมประสทิธิภาพการจัดการศึกษา

Page 32: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

19

บทบาทหนาท่ีของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐาน มีบทบาทหนาที่ที่เปนการสนองตอพระราชบัญญัติแหงชาติ พ.ศ. 2542 ดังนี ้

1. จัดทําเสนอนโยบาย แผนพฒันาการศึกษา มาตรฐานการจัดการศึกษา และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2. กําหนดหลักเกณฑ แนวทาง และดําเนินการเกี่ยวกับการสนับสนุนทรัพยากร การจัดตั้ง จดัสรรทรัพยากร และบริหารงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขั้นพืน้ฐาน

3. พัฒนาระบบการบริหารและการสงเสริมประสานงานเครือขายขอมูลสารสนเทศ การนําเทคโนโลยีสารสนเทศไปใชในการเรียนการสอน รวมทั้งสงเสริมการนิเทศการบริหารและการจัดการศึกษา

4. ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของเขตพื้นที่การศึกษา

5. พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา ประสาน สงเสริม สนับสนุน และกาํกับดูแลการจัดการศึกษาขัน้พื้นฐาน การศึกษาเพื่อคนพิการ ผูดอยโอกาสและผูมีความสามารถพิเศษ และประสาน สงเสริมการจัดการศึกษาขัน้พื้นฐานของเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน บุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืนของเขตพืน้ที่การศึกษา

6. ดําเนินการเกีย่วกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐาน 7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่และความรบัผิดชอบ

ของสํานักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพืน้ฐาน หรือตามทีรั่ฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย วิสัยทัศน

ประชากรในวยัเรียนจะไดรับการศึกษาขัน้พื้นฐานที่มีคุณภาพอยางทัว่ถึง เปนคนดี มีปญญา มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึกในความเปนไทย และมีศักยภาพการเรียนรูในระดับสากล เพื่อเปนพืน้ฐานในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ ดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข พันธกิจ (Mission) จัดและสงเสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึษาขั้นพื้นฐานใหแกประชาชนในวัยเรียนอยางทั่วถึง เสมอภาคและมคีุณภาพตามมาตรฐาน

Page 33: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

20

งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ งานวิจัยในตางประเทศ คลารค (Clark. 1974 : 4832 - A) ไดทําการวิจัยเร่ืองราวการสรางและความเที่ยงตรงของแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล (Development and validation of a Basketball Skill Test) ผูวจิัยไดเร่ิมตนศึกษากบันักศึกษาวิทยาลัยบอรดวิลวอลเลช ทําการประเมินเครือ่งมือวิเคราะหการเลน และคนควาเอกสารงานวิจันตางๆ เพื่อที่จะจําแนกองคประกอบของผูเลนที่ประสบความสําเร็จในการเลนบาสเกตบอลในขอบเขต 3 ประการ คือ พลังระเบิด (Anaerobic Power) ความสําพันธของมือและตา (Hands – Eyes Coordination) และความวองไว (Agility) โดยใชแบบทดสอบ 7 รายกาย วัดขอบเขตดงักลาว โดยนําไปทดสอบกับผูสมัคร 48 คน ผลสุดทายไดแบบทดสอบ 3 รายการ คือ การกระโดดแตะวัดพลังระเบิด การยิงประตูใตแปน 30 วินาที วัดความสัมพันธของมือและตา และการวิ่งไป – กลับ ส่ีทิศทาง (Four – Way Boomer rang) วัดความวองไว ผูวิจยัทําคะแนนรวมของแบบทดสอบทั้งหมดหาคาความเที่ยงตรง ซ่ึงไดทาความเที่ยงตรง 0.915 และใชวิธีโปรดักโมเมนท หาคาความเปนปรนัยและความเชื่อมั่น โดยใชกลุมตัวอยาง 44 คน ใหผูทดสอบจับคูกนั ตางคนตางบันทึกผลของคะแนนปรากฏวาไดคาความเปนปรนัย 0.994 สวนการหาคาความเชือ่มั่นไดใชทกุกลุมตัวอยาง 48 คน ทดสอบซ้ํา คือทดสอบครั้งแรกหางจากครั้งหลังสองสัปดาหไดคาความเชื่อมั่น 0.596 การหาคาความเที่ยงตรงของแบบทดสอบสวนใหญไดทําการศึกษาจากการแขงขันบาสเกตบอลของโรงเรียนมัธยมศึกษา 8 แหงในนอรท โอไฮโอ โดยนําแบบทดสอบไปทดสอบกบันักกฬีา 250 คน ในวันแรกของการแขงขัน และการเลอืกของหัวหนาผูฝก 8 คนในวันสุดทายของการแขงขัน เพื่อเลือกผูเลนที่ดีที่สุดของทีม 19 คน ซ่ึงในการแขงขันป 1971 ผูเลนลงแขงขัน 94 คน ไมไดลงเลน 156 คน ไดคาความเที่ยงตรง 0.624 สวนการทํานายผลสําเร็จของทีมไดจากการใชแบบทดสอบกับทีมซึ่งอยูในอันดบัสูง 7 ทีม โดยใชสูตรของสเปยรแมน ไดคาความเที่ยงตรง 0.8775

ฮอบกิ้นส (Hopkins. 1977 : 155 A) ไดทําการวิจยัเร่ืองการวิเคราะหองคประกอบแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล (A Factor Analysis of Basket Skill Test) ผูวิจยัเร่ิมตนศึกษาโดยการตรวจสอบแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลทั้งหลายที่นิยมใชแบบทดสอบความสามารถทางบาสเกตบอลที่ดีที่สุด ในขอบเขตของทักษะบาสเกตบอล ผูวิจัยตัง้สมมติฐาน ขอบเขตของทักษะบาสเกตบอลไว 5 ประการ คือ การยิงประตู การสงลูกบาสเกตบอล การกระโดด การเคลื่อนที่โดยปราศจากลูกบอล และการเคลื่อนที่ในขณะที่มีบอล ตวัแปรในการทดสอบครั้งนี้ผูวิจัยไดเลือกขอทดสอบทักษะบาสเกตบอลในขอบเขตของการสมมติฐานขางตน รวม 21 ตัวแปร (ขอทดสอบทักษะบาสเกตบอล) ทั้งนี้ไดรวมถึงขอทดสอบทักษะบาสเกตบอล 9 รายการ ของสมาคมสุขศึกษา พลศึกษาและนนัทนาการ (AAHPER) ไว

Page 34: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

21

ดวย ผูวิจยันําขอทดสอบทั้งหมดนี้ไปทดสอบกับนักเรยีนชายในระดับ 7 – 12 ที่กําลังเขาคายฤดูรอนปนี้ 1975 ที่มหาวทิยาลัยมิเนโซตาจํานวน 70 คน ผูวิจัยทําการตรวจสอบสมมติฐานโดยการใชรูปแบบการวิเคราะห 4 แบบ ดังนี้ การวิเคราะหของแอลฟา (Alpha Factor Analysis) การวเิคราะหคาโนนเิคลิ (Canonical Factor Analysis) การวิเคราะหตามความอิมเมจ (Image Analysis) และการวิเคราะหองคประกอบหลัก (Principle Components Analysis) ซ่ึงผลการวิเคราะหขอมูลจากการทดสอบทักษะบาสเกตบอลปรากฏวาสมมติฐานในขอบเขตทักษะการกระโดด พบวา การกระโดดและการเอื้อมแตะเปนการวดัที่ดทีี่สุด สมมติฐานในขอบเขตของการเคลื่อนที่โดยปราศจากลูกบอล และการเคลื่อนทีใ่นขณะที่มีบอล พบวา การวิ่งซิกแซกและการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การวิ่งซิกแซกเปนการวัดทีด่ีที่สุด สมมติฐานในขอบเขตของการสงลูกบาสเกตบอล พบวา การสงลูกบาสเกตบอลเร็วและการสงลูกบาสเกตบอลกระทบผนัง เปนการวดัผลที่ดีที่สุด และสมมติฐานในขอบเขตการยิงประตู พบวาการยิงประตูดานขาง การยิงประตดูานหนาและการยิงประตูโทษ เปนการวดัผลที่ดีที่สุด แตการยิงประตูดานขางมีระยะไกล 20 ฟุต อาจยาวเกินไปสําหรับนักเรียนในชั้น 7-8 การยิงประตูดานหนาจึงเหมาะสมที่สุด ผูวิจัยไดสรุปการศึกษาครั้งนี้วา รายการทดสอบทักษะบาสเกตบอลที่สามารถทดสอบไดรวดเร็ว และวดัผลไดตรงตามวัตถุประสงค ไดแก รายการทดสอบกระโดดและเอื้อมแตะ การสงลูกบาสเกตบอลเร็ว การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการยิงประตูดานหนา จึงเปนขอทดสอบที่ดีที่สุด

แบรโรว (ผาณติ บิลมาศ. 2530: 60; อางอิงจาก Barrow. 1979: 232-233) ศึกษาแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล มีวตัถุประสงคเพื่อทํานายและประเมินทักษะในการเลนกฬีาบาสเกตบอล ซ่ึงประกอบดวยทักษะตางๆ คือ การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล การยิงประตแูละการกระโดดรับและความคลองตัวในการเลนบาสเกตบอล ลักษณะของแบบทดสอบตองทําติดตอกันแบงออกเปน 3 ขั้นตอน การเล้ียงลูกบาสเกตบอล การยิงประตูและการกระโดดรับ การสงและการรับ ใชนักศึกษาหญิง 26 คน ที่กําลังเรียนบาสเกตบอลเปนผูรับการทดสอบ และพบวาผลรวมของคะแนนการทดสอบทั้งหมดกับเกณฑที่ผูเชี่ยวชาญใหคะแนน จะมีความสูงมากกวาที่จะแบงแบบทดสอบออกเปนสวนๆ ความสอดคลองของการใหคะแนนของผูเชี่ยวชาญมีคา .87 ความเที่ยงตรงเทากับ .74 ความเชื่อมั่นเทากับ .82

คลอลาแฮม (Callaham. 1987 : 48/05A) ไดศึกษาผลการพัฒนาทักษะกีฬาบาสเกตบอลและความวิตกกังวลของนักเรียนระดับ 4 – 5 (Mastery Learning : Effect on Basketball Skills Development and Anxiety Levels of Fourth and Fifth Grade Students) โดยใชโปรแกรมการเรียนรูของผูเรียนในการยิงประตูบาสเกตบอลและความวิตกกังวลของนักเรียน จากกลุมตัวอยาง 42 คน เปนนักเรียนระดับ 4-5 ผลจากการใชโปรแกรมการฝกแบบใหมและแบบเกา 4 สัปดาห หลังจากการฝก พบวา การยิงประตูบาสเกตบอลในกลุมฝกแบบใหมจะมีผลการทดสอบความวิตกกังวลต่ํา สวนกลุมที่ใชการฝกแบบเกาจะ

Page 35: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

22

มีความวิตกกังวลสูง สําหรับการครอบครองลูกบาสเกตบอลจะมีความสมัพันธระหวางการยิงประตกูับความวิตกกังวล ผลสรุป ถาความวิตกกังวลสูงจะยิงประตบูาสเกตบอลไดต่ําและผูที่มคีวามวิตกกังวลต่ําจะมีทักษะการยิงประตูสูง เมือ่เปรียบเทียบกับนักเรยีนชายที่ฝกแบบใหมจะมีความสามารถสูงกวาการฝกแบบเกา โดยรวมพบวา นกัเรียนที่มีทกัษะในระดับสงูจะมีความวิตกกังวลต่ํา แตจะไมขึ้นอยูกบัระดับของขอมูลที่แสดง จะขึ้นอยูกับการฝกทั้งแบบใหมและแบบเกา

งานวิจัยในประเทศ

พีรศุษม ปตธวัชชัย (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเกณฑปกติทักษะกฬีาบาสเกตบอลของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 โดยใชกลุมตัวอยางเปนนักเรยีนระดบัชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เขตการศึกษากรุงเทพมหานคร จํานวน 1,000 คน ชาย 500 คน หญิง 500 คนไดมาโดยการสุมอยางงาย ใชแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลของแฮริสัน ประกอบดวย 4 รายการ คือ การยิงประตู ความเร็วในการสงลูกบาสเกตบอล การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล และการกระโดดรับลูกบาสเกตบอล ผลการศึกษาพบวา

1. เกณฑปกตินกัเรียนชาย 1.1 การยิงประตู มีคามัชฌิมเลขคณิต 5.36 คะแนน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.50 และ

จําแนกเกณฑทักษะในการยงิประตูดังนี ้สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 9 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 65 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 7 – 9 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 56 – 65 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 4 – 6 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 44 – 55 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 2 – 3 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 34 – 43 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 1 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 34

1.2 ความเร็วในการสงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 25.30 คะแนน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.44 และจําแนกเกณฑทกัษะในการสงลูกบาสเกตบอล ดังนี้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 34 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 71 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 29 – 34 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 56 – 65 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 22 – 28 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 43 – 56 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 16 – 21 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 29 – 42 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 15 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 29

Page 36: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

23

1.3 การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 24.74 คะแนน คาเบีย่งเบนมาตรฐาน 4.07 และจําแนกเกณฑทกัษะในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ดังนี ้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 33 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 68 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 29 – 33 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 57 – 68 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 23 – 28 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 44 – 56 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 18 – 22 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 32 – 43 ต่ํามาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 17 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 32

1.4 การกระโดดรับสงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 23.96 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6.25 และจําแนกเกณฑทกัษะในการกระโดดรับสงลูกบาสเกตบอล ดังนี้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 36 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 71 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 29 – 36 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 58 – 71 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 22 – 28 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 43 – 57 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 11 – 19 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 29 – 42 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 10 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 29

2. เกณฑปกตินกัเรียนหญิง 1.1 การยิงประตู มีคามัชฌิมเลขคณิต 5.78 คะแนน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.79 และ

จําแนกเกณฑทักษะในการยงิประตูดังนี ้สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 7 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 68 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 6 – 7 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 57 – 68 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 4 – 6 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 44 – 56 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 2 – 3 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 32 – 43 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 1 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 32

1.2 ความเร็วในการสงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 18.12 คะแนน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.60 และจําแนกเกณฑทกัษะในการสงลูกบาสเกตบอล ดังนี้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 25 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 65 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 21 – 25 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 56 – 65 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 17 – 20 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 45 – 55 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 11 – 16 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 34 – 44 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 10 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 34

Page 37: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

24

1.3 การเลี้ยงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 18.69 คะแนน คาเบีย่งเบนมาตรฐาน 3.79 และจําแนกเกณฑทกัษะในการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ดังนี ้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 25 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 68 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 22 – 25 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 57 – 68 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 17 – 21 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 44 – 56 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 12 – 16 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 32 – 43 ต่ํามาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 11 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 32

1.4 การกระโดดรับสงลูกบาสเกตบอล มีคามัชฌิมเลขคณิต 18.45 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.72 และจําแนกเกณฑทกัษะในการกระโดดรับสงลูกบาสเกตบอล ดังนี้

สูงมาก จํานวนคะแนนมากกวา 66 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 68 สูง จํานวนคะแนนมากกวา 22 – 26 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 57 – 68 ปานกลาง จํานวนคะแนนมากกวา 16 – 21 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 44 – 56 ต่ํา จํานวนคะแนนมากกวา 10 – 15 หรือคะแนนทปีกติสูงกวา 32 – 43 ต่ํา มาก จํานวนคะแนนมากกวา 0 – 9 หรือคะแนนทปีกติต่ํากวา 32

ฉัฐรส บัญชาชาญชัย (2540 : บทคัดยอ) ไดทําการวจิัยเพื่อสรางแบบประเมินและแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน โดยกลุมตัวอยางเปนนกัเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนวดัอินทาราม เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ที่กําลังเรียนวิชาบาสเกตบอล นักเรียนชาย 30 คน นักเรียนหญิง 30 คน และกลุมศึกษาเกณฑปกติ ไดแก นกัเรยีนระดับมัธยมศกึษาตอนตน สังกดักรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร กลุม 7 ที่กําลังเรียนวิชาบาสเกตบอล จํานวนนักเรียนชาย 181 คน นักเรยีนหญิง 165 คน การวิเคราะหคณุภาพของแบบประเมิน ใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบสเปยรแมน การวิเคราะหคณุภาพของแบบทดสอบใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธแบบเพียรสัน และใชคะแนนทีในการสรางเกณฑปกติของแบบทดสอบ ผลการศึกษาพบวา

1. แบบประเมินทั้งหมด 4 รายการ คือ ทักษะการรับลูกบาสเกตบอลสองมือระดับอก ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลสองมือระดับอก ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ทักษะการยิงประตูมือเดียว และแบบทดสอบทั้งหมด 3 รายการ คือ ทักษะการรับ – สงลูกบาสเกตบอลสองมือระดับอก ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ทักษะการยิงประตูมือเดยีว

2. ความเชื่อมั่นของแบบประเมนิและแบบทดสอบ มีคาความเชื่อมั่นระดับสูงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.818 – 0.998)

Page 38: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

25

3. ความเชื่อมั่นของแบบประเมนิและแบบทดสอบ มีคาความเปนปรนัยสูงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.725 – 0.999)

4. ความเชื่อมั่นของแบบประเมนิและแบบทดสอบ มีคาความเที่ยงตรงระดับปานกลางอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.657 – 1.000)

5. ความสัมพันธภายในของแบบประเมินและแบบทดสอบ แตละรายการทุกคู และแตละรายการกับคะแนนรวม มีความสัมพันธระดับปานกลางถึงสูง อยางมีนัยสําคญัที่ระดับ .05 (r = 0.377 – 1.000)

6. เกณฑในการแบงระดับความสามารถของแบบประเมินและแบบทดสอบ แบงไวเปน 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา และต่ํามาก ดังนี ้ระดับความสามารถ คะแนนประเมนิ คะแนนการทดสอบ นักเรียนชายและหญิง คะแนนทีนักเรียนชาย คะแนนทีนักเรียนหญิง สูงมาก 4 67 ขึ้นไป 64 ขึ้นไป สูง 3 56 – 66 55 – 63 ปานกลาง 2 45 – 55 46 – 54 ต่ํา 1 34 – 44 37 – 45 ต่ํามาก - 33 ลงมา 36 ลงมา สัมฤทธิ์ สุพรรณฝาย (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาการสรางแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล สําหรับนักเรียนระดบัมัธยมศึกษาตอนตน วัตถุประสงคของการวิจยัคือ เพื่อสรางแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล และเกณฑปกตอของแบบทดสอบ สําหรับนักเรยีนระดับมัธยมศกึษาตอนตน โรงเรียนสังกดักรมสามัญศึกษา จังหวดัขอแกน กลุมตัวอยางทีใ่ชในการสรางแบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล เปนนักเรยีนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแกนและโรงเรียนแกนนครวิทยาลัย โรงเรียนละ 60 คน เปนชาย 30 คน เปนหญิง 30 คน ซ่ึงใชการสุมตัวอยาง โดยการสุมดวยวธีิการแบบเปนกลุมในการสรางเกณฑปกติ กลุมตัวอยางทีใ่ชนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ของโรงเรียนสังกดักรมสามัญศึกษา จังหวดัขอนแกน 14 สถาบัน จํานวน 1,070 คน เปนชาย 535 คน หญิง 535 คน และใชการสุมตัวอยางดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะหขอมูลในการหาคาความเชื่อมัน่ ความแมนตรง และความเปนปรนัยของแบบทดสอบทุกรายการ โดยการนําคะแนนดิบที่ไดจากการทดสอบทุกรายการมาแปลงเปนคะแนนทีและวเิคราะหหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ ของผลคูณของคะแนน โดยวิธีการแบบเพียรสัน ในการ

Page 39: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

26

สรางเกณฑปกติของแบบทดสอบทักษะกฬีาบาสเกตบอล โดยการแปลงคะแนนดิบของแบบทดสอบรวมทุกรายการ เปนคะแนนทีปกติและแบงระดับความสามารถจากคะแนนทีออกเปน 5 ระดับ คอื ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช และตองปรับปรุง ผลการวิจัยพบวา คาสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่น คาสัมประสิทธิ์ของความแมนตรงและคาสัมประสิทธิ์ความเปนปรนัยของแบบทดสอบทักษะกฬีาบาสเกตบอล สําหรับนักเรียนระดบัมัธยมศึกษาตอนตน รวมทกุรายการ นกัเรียนชายมีคาเทากบั .94, .85, และ .95 ตามลําดับ สวนนักเรียนหญิงมีคาเทากับ .97, .89, และ .97 ตามลําดับ โดยทุกรายการมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นักเรียนชาย นักเรียนหญิง คะแนนที (T-Score) ระดับ คะแนนที (T-Score) ระดับ มากกวา 321 ดีมาก มากกวา 316 ดีมาก 286 – 321 ดี 286 – 316 ดี 219 – 285 ปานกลาง 219 – 215 ปานกลาง 182 – 218 พอใช 182 – 218 พอใช นอยกวา 182 ตองปรับปรุง นอยกวา 182 ตองปรับปรุง คําพาง ศรีทาวปากดี (2547 : บทคัดยอ) ไดศึกษาระดับทักษะบาสเกตบอลของนักศึกษาวิชาเอกพลศกึษา ในภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ ปการศกึษา 2546 โดยมีจดุมุงหมายเพื่อทราบระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนวิชาเอกพลศึกษา ในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ปการศึกษา 2546 โดยใชกลุมตัวอยางเปนศึกษาชาย จํานวน 162 คน เปนนกัศึกษาหญิง จํานวน 107 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจยัเปนแบบทดสอบทกัษะบาสเกตบอลของแฮริสัน และแบบทดสอบการยิงประตูระยะไกลและระยะใกลของ แอล แอส ยู วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉลี่ยสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน และคะแนนทีผลการศึกษาพบวา

1. นักศึกษาชาย วิชาเอกพลศกึษา มีคาเฉลี่ยสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนรวมการทดสอบ เทากับ 20.27 และ 2.78 ตามลําดับ นักศกึษาหญิง วิชาเอกพลศึกษามคีาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนรวมการทดสอบ เทากับ 19.85 และ 1.84 ตามลําดับ

2. เกณฑของคะแนนรวมการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักศึกษาชายวิชาเอกพลศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปการศึกษา 2546 คือ ระดับสูงมากจะมีคะแนนจากการทดสอบ 25 คะแนนขึ้นไป หรือมีคะแนนที 68 คะแนนขึ้นไป ระดบัสูงจะมรคะแนนระหวาง 22 – 23 คะแนน หรือมีคะแนนทีระหวาง 58 – 69 คะแนน ระดับปานกลางจะมีคะแนนระหวาง 19 – 21 คะแนน หรือมีคะแนนทีระหวาง 44 – 57 คะแนน ระดับต่ําจะมีคะแนน 17 – 18 คะแนน

Page 40: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

27

หรือมีคะแนนทีระหวาง 36 – 43 คะแนน และระดับต่ํามากจะมีคะแนน 16 คะแนนลงมา หรือมีคะแนนที 35 คะแนนลงมา

3. เกณฑคะแนนของคะแนนรวมการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักศึกษาหญิงวิชาเองพลศึกษา ในภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ ปการศกึษา 2546 คอื ระดับสูงมากจะมีคะแนนจากการทดสอบ 24 คะแนนขึ้นไป หรือมีคะแนนที 70 คะแนนขึ้นไป ระดับสูงจะมีคะแนนระหวาง 22 – 23 คะแนน หรือมีคะแนนทีระหวาง 58 – 69 คะแนน ระดับปานกลางจะมีคะแนนระหวาง 19 – 21 คะแนน หรือมีคะแนนทีระหวาง 44 – 57 คะแนน ระดับต่ําจะมีคะแนน 17 – 18 คะแนน หรือมีคะแนนทีระหวาง 36 – 43 คะแนน และระดับต่ํามากจะมีคะแนน 16 คะแนนลงมา หรือมีคะแนนที 35 คะแนนลงมา เชาวนนัท ทะนอก (2548 : บทคัดยอ) ไดศึกษา ระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ปการศึกษา 2547 โดยมีจดุมุงหมายเพื่อทราบระดับทักษะบาสเกตบอลและสรางระดับทกัษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาบุรีรัมย เขต 3 ปการศึกษา 2547 กลุมตัวอยางเปนนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จํานวน 370 คน เปนชาย 146 คน และหญิง 224 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล 4 รายการ คือ การสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของเลซเทน การเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของจอหนสัน การยิงประตูบาสเกตบอลเร็วของสทรูพ การเลี้ยงลูกบาสเกตบอลเขายิงประตูของนอกซ วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉลีย่เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนที ผลการวิจยัพบวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 56.73 และ 9.28 คะแนน การเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 31.00 และ 5.77 คะแนน การยิงประตูบาสเกตบอลเร็ว มีคาเทากบั 13.79 และ 4.38 คะแนน และการทดสอบเลี้ยงลูกบาสเกตบอลเขายิงประตู มีคาเทากับ 16.08 และ 4.45 วินาที ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 44.58 และ 9.23 การเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 25.40 และ 5.08 คะแนน การยงิประตูบาสเกตบอลเร็ว มีคาเทากบั 8.55 และ 3.68 คะแนน และการทดสอบเลี้ยงลูกบาสเกตบอลเขายงิประตู มีคาเทากับ 22.71 และ 7.66 วินาที ตามลําดับ

Page 41: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

28

3. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ปการศึกษา 2547 เปนดังนี้ ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที ตั้งแต 69 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนที ที่ 60 – 68 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที ที่ 41 – 59 ระดับต่ําตรงกับคะแนนที ที่ 32 – 41 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนที ตั้งแต 31 ลงมา

4. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ปการศึกษา 2547 เปนดังนี้ ระดับสูงมากตรงกับคะแนนที ตั้งแต 65 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนที ที่ 58 – 64 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนที ที่ 43 – 57 ระดับต่ําตรงกับคะแนนที ที่ 36 – 42 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนที ตั้งแต 35 ลงมา

Page 42: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจยัไดดําเนินการตามขัน้ตอนดังนี ้

1. การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

การกําหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง ประชากร

ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก นกัเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 ซ่ึงกําลังศึกษาวิชาบาสเกตบอล 1 ในภาคเรยีนที่ 2 ปการศึกษา 2549 มีประชากรทั้งหมดจํานวน 1,813 คน เปนชาย 641 คน เปนหญิง 1,172 คน ซ่ึงในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู มีโรงเรียนมัธยมศึกษาทีม่ีการจัดการเรยีนการสอนรายวิชาบาสเกตบอลอยูในกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ของหลักสูตรขั้นพืน้ฐาน พุทธศกัราช 2544 จํานวน 10 โรงเรียน ประกอบดวย โรงเรียนจักรคําคณาทร ลําพูน, โรงเรียนสวนบุญโญปถัมภ, โรงเรียนอุโมงควิทยาคม อําเภอแมทา ไดแก โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร, โรงเรียนแมทาวิทยาคม อําเภอปาซาง ไดแก โรงเรียนวชิรปาซาง, โรงเรียนน้ําดบิวิทยาคม อําเภอบานธิ ไดแก โรงเรียนปาตาลบานธิพิทยาโรงเรียนธีรกานทบานโฮง และโรงเรียนบานโฮงรัตนวทิยา กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยัคร้ังนี้ เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 จากการประมาณขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชตารางสําเร็จรูปของเครจซี่ และมอรแกน (Krejcie and Morgan) (บุญชม ศรีสะอาด. 2535 : 30) ที่ประชากร 1,800 คน ไดกลุมตัวอยางเทากับ 317 คน แตในงานวจิัยคร้ังนี้ผูวจิัยใชกลุมตัวอยาง 450 คน ไดมาโดยวิธีการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) ดังตาราง 1

Page 43: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

30

ตาราง 1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

โรงเรียน ประชากร ชาย หญิง รวม

กลุมตัวอยาง ชาย หญิง รวม

โรงเรียนจักรคาํคณาทร ลําพูน โรงเรียนสวนบุญโญปถัมภ โรงเรียนอุโมงควิทยาคม โรงเรียนแมทาวิทยาคม โรงเรียนทาขุมเงินวิทยาคาร โรงเรียนวชิรปาซาง โรงเรียนน้ําดบิวิทยาคม โรงเรียนปาตาลบานธิพิทยา โรงเรียนธีรกานทบานโฮง โรงเรียนบานโฮงรัตนวิทยา

215 293 508 122 462 584 22 37 59 44 66 110 43 69 112 8 31 39 40 42 82 58 41 99 64 111 175 25 20 45

50 75 125 29 118 147 5 9 14 10 17 27 10 18 28 2 8 10 9 11 20 14 11 25 15 28 43 6 5 11

รวม 641 1,172 1,813 150 300 450

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรยีนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 มีทั้งหมด 4 รายการโดยใหผูเชี่ยวชาญพิจารณาตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสม ไดแก

1. แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall Bounce) ของเลซเทน (Leshten Basketball Test) มีคาความเชื่อมัน่ทางบวก ระดับสูง อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.961 และ 0.939 ตามลําดับ)

2. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) ของจอหนสนั (Johnson Basketball Test) มีคาความเชื่อมั่นทางบวก ระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.946 และ 0.872 ตามลําดับ)

Page 44: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

31

3. แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) ของจอหนสัน (Johnson Basketball Test) มีคาความเชื่อมั่นทางบวก ระดับสูง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.761)

4. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของเสกสันติ์ สายพรหมทอง มีคาความเชื่อมัน่ทางบวก ระดับสูง อยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.637) วิธีการสรางเครื่องมือ

1. ศึกษารายละเอยีด ขอมูล เกีย่วกับแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล จากเอกสารและงานวิจยัที่เกี่ยวของ ทั้งในและตางประเทศ

2. ดําเนินการสรางแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล คือ แบบทดสอบการสงลูกบาสเกตบอล แบบทดสอบการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล แบบทดสอบการยิงประตูเร็ว แบบทดสอบการยิงประตแูบบ เลย – อัพ

3. นําเครื่องมือที่ผูวิจัยดัดแปลงไปปรึกษาประธานและกรรมการควบคุมปริญญานิพนธเพื่อตรวจสอบความเหมาะสมและความถูกตอง ดังนี ้

3.1 แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall Bounce) ของเลซเทน (Leshten Basketball Test)

3.2 แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) ของจอหนสนั (Johnson Basketball Test)

3.3 แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) ของจอหนสัน (Johnson Basketball Test)

3.4 แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของเสกสันติ์ สายพรหมทอง

4. นําเครื่องมือที่ไดผานการปรกึษาประธานและกรรมการควบคุมปริญญานิพนธแลวไปใหผูเชี่ยวชาญ (รายละเอียดอยูในภาคผนวก) ทําการตรวจสอบ เพื่อปรับปรุงแกไข

5. นําโปรแกรมที่ไดรับการปรับปรุงและแกไขจนเหมาะสม ไปใชกับกลุมตัวอยางทีจ่ะทําการศึกษาตอไป

Page 45: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

32

การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการการเก็บรวบรวมขอมูลตามลําดับขั้นตอน ดังนี ้

1. ติดตอขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพื่อขอความรวมมือจากผูอํานวยการโรงเรียนในเขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 และกลุมตวัอยางในการเก็บรวบรวมขอมูล

2. จัดเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล 3. จัดหาผูชวยในการเก็บรวบรวมขอมูลพรอมทั้งชี้แจงวัตถุประสงค และรายระ

เอียดเกี่ยวกับการวิจัยคร้ังนีใ้หแกผูชวยวิจยัใหเขาใจไดอยางถูกตองตรงกัน 4. นัดหมายวนั เวลา สถานที่ ในการทดสอบทักษะบาสเกตบอลกับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน 5. ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมลูตามขั้นตอน 6. นําขอมูลที่ไดจากการทดสอบมาวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพื่อนํามาใชในการ

สรุปผล อภิปรายผล และเสนอขอคิดเห็น การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล

1. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต (X) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลในแตละรายการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549

2. สรางระดับทักษะบาสเกตบอลโดยใชคะแนนที (T - score) แบงระดับทกัษะบาสเกตบอลแตละรายการ และรวมทกุรายการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ออกเปน 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา และต่ํามาก

3. ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณติทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน จําแนกตามอําเภอ โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – way Analysis of Variance)

4. ถาการทดสอบมีความแตกตางกัน จะทําการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe)

5. กําหนดความมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Page 46: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ในการวิจัยคร้ังนี้ผูวิจยัไดใชสัญลักษณ X แทน คาเฉลี่ยเลขคณิต S.D. แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน n แทน จํานวนกลุมตวัอยาง T-score แทน คะแนนท ี * แทน มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 การเสนอผลการวิเคราะหขอมูล การวิจยัคร้ังนีไ้ดแบงการวิเคราะหขอมูล และการแปลความหมายของการวิเคราะหขอมูลออกเปน 3 ขัน้ตอนดังนี ้ ตอนที่ 1 หาคาเฉลี่ยเลขคณติ (X) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนทดสอบทักษะบาสเกตบอลแตละรายการ ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549 ตอนที่ 2 สรางระดับทักษะบาสเกตบอลโดยใชคะแนนที (T-Score) แบงระดับทักษะบาสเกตบอลแตละรายการ และรวมทกุรายการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาลําพนู ปการศึกษา 2549 ออกเปน 5 ระดับ คอื สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา และต่ํามาก ตอนที่ 3 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนักเรยีนหญิงชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน จําแนกตามอาํเภอ โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – way Analysis of Variance) ตอนที่ 4 ถาการทดสอบมีความแตกตางกัน จะทําการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe)

Page 47: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

34

ผลการวิเคราะหขอมลู ตอนที่ 1 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบทักษะ

บาสเกตบอลในแตละรายการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ตาราง 2 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลใน

แตละรายการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

แบบทดสอบ ชาย (n = 150) หญิง (n=300) X S.D. X S.D. ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ทักษะการยิงประตูเร็ว ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา

56.08 21.35 5.99 5.18

8.60 3.43 3.00 2.13

49.16 18.48 4.60 4.16

8.77 3.31 2.41 1.95

จากตาราง 2 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 56.08 และ 8.60 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 21.35 และ 3.43 คะแนน ทักษะการยิงประตูเร็ว มีคาเทากับ 5.99 และ 3.00 คะแนน ทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา มีคาเทากับ 5.18 และ 2.13 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 49.16 และ 8.77 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 18.48 และ 3.31 คะแนน ทักษะการยิงประตูเร็ว มีคาเทากับ 4.60 และ 2.41 คะแนน การเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา มีคาเทากับ 4.16 และ 1.95 คะแนน ตามลําดบั

Page 48: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

35

ตาราง 3 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนทกัษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ

อําเภอ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

X S.D. X S.D. อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธ ิอําเภอบานโฮง

57.08 58.20 55.55 54.00 51.76

8.96 4.10 9.38 9.06 8.56

49.44 49.06 51.95 39.73 49.09

8.77 8.97 6.74 6.60 8.72

จากตาราง 3 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากบั 57.08 และ 8.96 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 58.20 และ 4.10 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 55.55 และ 9.38 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 54.00 และ 9.06 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 51.76 และ 8.56 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากบั 49.44 และ 8.77 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 49.06 และ 8.97 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 51.95 และ 6.74 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 39.73 และ 6.60 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 49.09 และ 8.72 คะแนน ตามลําดับ

Page 49: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

36

ตาราง 4 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรยีนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ

อําเภอ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

X S.D. X S.D. อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธ ิอําเภอบานโฮง

20.68 22.15 21.09 24.07 21.57

3.55 1.63 5.13 2.67 2.71

18.07 20.06 19.21 20.00 18.39

3.45 2.71 2.25 4.07 2.65

จากตาราง 4 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอล ซิกแซกของนกัเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 20.68 และ 3.55 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 22.15 และ 1.63 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 21.09 และ 5.13 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 24.07 และ 2.67 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 21.57 และ 2.71 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอล ซิกแซกของนกัเรียนหญิงชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 18.07 และ 3.45 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 20.06 และ 2.71 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 19.21 และ 2.25 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 20.00 และ 4.07 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 18.39 และ 2.65 คะแนน ตามลําดับ

Page 50: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

37

ตาราง 5 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนทกัษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549 จําแนกตามอําเภอ

อําเภอ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

X S.D. X S.D. อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธ ิอําเภอบานโฮง

5.37 7.70 4.55 8.93 5.67

2.26 2.74 2.98 5.21 2.27

4.14 7.00 4.53 6.36 4.30

2.08 2.13 2.46 4.74 1.85

จากตาราง 5 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 5.37 และ 2.26 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 7.70 และ 2.74 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 4.55 และ 2.98 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 8.93 และ 5.21 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 5.67 และ 2.27 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากบั 4.14 และ 2.08 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 7.00 และ 2.13 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 4.53 และ 2.46 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 6.36 และ 4.74 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 4.30 และ 1.85 คะแนน ตามลําดับ

Page 51: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

38

ตาราง 6 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรยีนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ

อําเภอ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

X S.D. X S.D. อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธ ิอําเภอบานโฮง

4.77 6.05 5.36 6.93 4.76

2.00 1.36 2.54 2.46 2.17

3.81 5.37 4.74 5.90 4.06

1.83 2.29 1.63 2.43 1.50

จากตาราง 6 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรยีนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 4.77 และ 2.00 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 6.05 และ 1.36 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 5.36 และ 2.54 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 6.93 และ 2.46 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 4.76 และ 2.17 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรยีนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 3.81 และ 1.83 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 5.37 และ 2.29 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 4.74 และ 1.63 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 5.90 และ 2.43 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 4.06 และ 1.50 คะแนน ตามลําดับ

Page 52: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

39

ตาราง 7 คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของคะแนนทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 จําแนกตามอําเภอ

อําเภอ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

X S.D. X S.D. อําเภอเมือง อําเภอแมทา อําเภอปาซาง อําเภอบานธ ิอําเภอบานโฮง

48.80 53.63 48.66 55.85 48.14

6.66 4.52 9.45 9.29 5.63

48.86 55.19 52.01 52.51 49.48

6.84 7.53 5.72 10.39 6.13

จากตาราง 7 แสดงวา

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 48.80 และ 6.66 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 53.63 และ 4.52 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 48.66 และ 9.45 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 55.85 และ 9.29 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 48.14 และ 5.63 คะแนน ตามลําดับ

2. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบอําเภอเมืองเทากับ 48.86 และ 6.84 คะแนน อําเภอแมทาเทากับ 55.19 และ 7.53 คะแนน อําเภอปาซางเทากับ 52.01 และ 5.72 คะแนน อําเภอบานธิเทากับ 52.51 และ 10.39 คะแนน และอําเภอบานโฮงเทากับ 49.48 และ 6.13 คะแนน ตามลําดับ

Page 53: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

40

ตอนที่ 2 สรางระดับทักษะบาสเกตบอลโดยใชคะแนนที (T-Score) แบงระดับทักษะบาสเกตบอลแตละรายการ และรวมทกุรายการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 แบงออกเปน 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา และต่ํามาก

ตาราง 8 ระดบัทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่

การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549 ระดับทักษะ ชาย (n =150) หญิง (n=300)

คะแนนดบิ คะแนนท ี คะแนนดบิ คะแนนท ีสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํามาก

69 คะแนนขึ้นไป 61 – 68 คะแนน 51 – 60 คะแนน 42 – 50 คะแนน 41 คะแนนลงมา

ตั้งแต 63 ขึ้นไป 55 – 62 46 – 54 38 – 45

ตั้งแต 37 ลงมา

65 คะแนนขึ้นไป 55 – 64 คะแนน 44 – 54 คะแนน 34 – 43 คะแนน 33 คะแนนลงมา

ตั้งแต 67 ขึ้นไป 56 – 66 45 – 55 34 – 44

ตั้งแต 33 ลงมา จากตาราง 8 แสดงวา

1. ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 69 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดบิที่ 61 – 68 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 55 – 62 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 51 – 60 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 42 – 50 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 38 – 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดบิที่ 41 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 37 ลงมา

2. ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 65 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 67 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดบิที่ 55 – 64 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 66 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 44 – 54 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 34 – 43 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 34 – 44 และระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 33 คะแนนลงมา หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 33 ลงมา

Page 54: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

41

ตาราง 9 ระดบัทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549

ระดับทักษะ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

คะแนนดบิ คะแนนท ี คะแนนดบิ คะแนนท ีสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํามาก

28 คะแนนขึ้นไป 24 – 27 คะแนน 19 – 23 คะแนน 16 – 18 คะแนน 15 คะแนนลงมา

ตั้งแต 66 ขึ้นไป 56 – 65 45 – 55 35 – 44

ตั้งแต 34 ลงมา

24 คะแนนขึ้นไป 21 – 23 คะแนน 16 – 20 คะแนน 13 – 15 คะแนน 12 คะแนนลงมา

ตั้งแต 67 ขึ้นไป 56 – 66 45 – 55 34 – 44

ตั้งแต 33 ลงมา จากตาราง 9 แสดงวา

1. ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 28 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนททีี่ 66 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนดิบที ่ 24 – 27 คะแนน หรือ ตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 65 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 19 – 23 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 16 – 18 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 15 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 34 ลงมา

2. ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 24 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 67 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดบิที่ 21 – 23 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 66 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 16 – 20 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกบัคะแนนดิบที ่ 13 – 15 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 34 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดบิที่ 12 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 33 ลงมา

Page 55: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

42

ตาราง 10 ระดับทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549

ระดับทักษะ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

คะแนนดบิ คะแนนท ี คะแนนดบิ คะแนนท ีสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํามาก

11 คะแนนขึ้นไป 8 – 10 คะแนน 5 – 7 คะแนน 2 – 4 คะแนน

1 คะแนนลงมา

ตั้งแต 68 ขึ้นไป 57 – 67 44 – 56 33 – 43

ตั้งแต 32 ลงมา

9 คะแนนขึ้นไป 7 – 8 คะแนน 4 – 6 คะแนน 2 – 3 คะแนน

1 คะแนนลงมา

ตั้งแต 69 ขึ้นไป 57 – 68 44 – 56 32 – 43

ตั้งแต 31 ลงมา จากตาราง 10 แสดงวา

1. ทักษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 11 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 68 ขึ้นไป ระดับสูงเทากับ 8 – 10 คะแนน หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 57 – 67 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนดบิที่ 5 – 7 คะแนน หรือตรงกับคะแนนททีี่ 44 – 56 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 2 – 4 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 33 – 43 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 32 ลงมา

2. ทักษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดบิที่ 9 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 69 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดิบที่ 7 – 8 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 57 – 68 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 4 – 6 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 44 – 56 ระดบัต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 2 – 3 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 32 – 43 และระดับต่าํมาก ตรงกับคะแนนดิบที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 31 ลงมา

Page 56: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

43

ตาราง 11 ระดับทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนกัเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ระดับทักษะ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

คะแนนดบิ คะแนนท ี คะแนนดบิ คะแนนท ีสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํามาก

9 คะแนนขึ้นไป 7 – 8 คะแนน 4 – 6 คะแนน 2 – 3 คะแนน

1 คะแนนลงมา

ตั้งแต 65 ขึ้นไป 56 – 64 45 – 55 36 – 44

ตั้งแต 35 ลงมา

8 คะแนนขึ้นไป 6 – 7 คะแนน 3 – 5 คะแนน 1 – 2 คะแนน

0 คะแนน

ตั้งแต 66 ขึ้นไป 56 - 65 45 – 55 35 – 44

ตั้งแต 34 ลงมา จากตาราง 11 แสดงวา

1. ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนกัเรียนชาย ระดบัสูงมากตรงกบัคะแนนดิบที่ 9 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 65 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดิบที่ 7 – 8 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 64 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 4 – 6 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 2 – 3 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 36 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดบิที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 ลงมา

2. ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนกัเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 8 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 66 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดิบที่ 6 – 7 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 - 65 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 3 – 5 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 45 – 55 ระดบัต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 1 – 2 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 0 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 34 ลงมา

Page 57: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

44

ตาราง 12 ระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศกึษาลําพูน ป

การศึกษา 2549 ระดับทักษะ ชาย (n = 150) หญิง (n=300)

คะแนนท ี คะแนนท ีสูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํามาก

ตั้งแต 63 ขึ้นไป 55 – 62 46 – 54 38 – 45

ตั้งแต 37 ลงมา

ตั้งแต 63 ขึ้นไป 55 – 62 46 – 54 38 – 45

ตั้งแต 37 ลงมา จากตาราง 12 แสดงวา

1. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดบัสูงตรงกับคะแนนทีที่ 55 – 62 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนทีที่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนททีี่ 38– 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนททีี่ 37 ลงมา

2. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิง ระดบัสูงมากตรงกบัคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนทีที่ 55 – 62 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนททีี่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนทีที่ 38– 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนทีที ่ 37 ลงมา

Page 58: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

45

ตอนที่ 3 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เขตพื้นที่การศึกษาลําพูน จําแนกตามอําเภอ โดยการวเิคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว ตาราง 13 ผลการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียวของทักษะบาสเกตบอลแตละรายการของนักเรยีน

ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ระหวางอําเภอ ปการศึกษา 2549

แหลงของความแปรปรวน SS df MS F P ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา ชาย

หญิง ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ชาย

หญิง ทักษะการยิงประตูเร็ว ชาย

หญิง ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา ชาย

หญิง ทักษะบาสเกตบอล ชาย

หญิง

629.72 1142.79 156.12 156.93 236.91 280.91 75.84 115.45 955.17 1358.30

4 4 4 4 4 4 4 4 4 4

157.430 285.698 39.030 39.232 59.228 70.228 18.959 28.863 238.79 339.58

2.20 3.85* 3.54* 3.71* 7.72* 14.14* 4.54* 8.24* 5.16* 7.05*

.072

.005

.009

.006

.000

.000

.002

.000

.001

.000 * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 13 แสดงวา

1. ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชายระหวางอําเภอไมแตกตางกัน ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ทักษะการยิงประตูเร็วและทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรยีนชายระหวางอําเภอแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงทําการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคู โดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe)

2. ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ทักษะการยิงประตูเร็วและทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรียนหญิงระหวางอําเภอแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จึงทําการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย เลขคณิตเปนรายคู โดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe)

Page 59: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

46

ตอนที่ 4 ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคู (Multiple Comparison) โดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe) ตาราง 14 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูก

บาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนชายทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X

เมือง 20.68

แมทา 22.15

ปาซาง 21.09

บานธิ 24.07

บานโฮง 21.57

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

20.68 22.15 21.09 24.07 21.57

- -1.47 -

-0.41 1.06

-

-3.39* -1.92 -2.98

-

-0.89 0.58 -0.48 2.50

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 14 แสดงวา ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 60: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

47

ตาราง 15 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายทัง้ 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 5.37

แมทา 7.70

ปาซาง 4.55

บานธิ 8.93

บานโฮง 5.67

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

5.37 7.70 4.55 8.93 5.67

- -2.33* -

0.82 3.15

-

-3.56* -1.23

-4.38* -

-0.30 2.03 -1.12

3.26* -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 15 แสดงวา ทกัษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอแมทาและนกัเรียนชายในอําเภอบานธิอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนชายในอําเภอปาซางมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนชายในอําเภอบานธิมีความแตกตางกับนกัเรียนชายในอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 61: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

48

ตาราง 16 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตูดานซายและขวาของนกัเรียนชายทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 4.77

แมทา 6.05

ปาซาง 5.36

บานธิ 6.93

บานโฮง 4.76

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

4.77 6.05 5.36 6.93 4.76

- -1.28 -

-0.59 0.69

-

-2.15* -0.88 -1.56

-

-0.01 1.29 0.60 2.17

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 16 แสดงวา ทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตดูานซายและขวาของนักเรยีนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกบันักเรียนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 62: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

49

ตาราง 17 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายทัง้ 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 48.80

แมทา 53.63

ปาซาง 48.66

บานธิ 55.85

บานโฮง 48.14

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

48.80 53.63 48.66 55.85 48.14

- -4.83 -

0.14 4.87

-

-7.05* -2.22 -7.19

-

0.66 5.49 0.52

7.71* -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 17 แสดงวา ทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอเมอืงแตกตางกบัอําเภอบานธิอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอบานธิแตกตางกับอําเภอบานโฮง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 63: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

50

ตาราง 18 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 49.44

แมทา 49.06

ปาซาง 51.95

บานธิ 39.73

บานโฮง 49.09

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

49.44 49.06 51.95 39.73 49.09

- 0.38 -

-2.51 -2.89

-

9.71* 9.33* 12.22*

-

0.35 -0.03 2.86

-9.36* -

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 18 แสดงวา ทกัษะการสงลูกกระทบเปาของนกัเรียนหญิงในอําเภอบานธิมคีวามแตกตางกับนกัเรียนหญิงทั้ง 4 อําเภออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 64: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

51

ตาราง 19 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 18.07

แมทา 20.06

ปาซาง 19.21

บานธิ 20.00

บานโฮง 18.39

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

18.07 20.06 19.21 20.00 18.39

- -1.99* -

-1.14 0.85

-

-1.93 0.06 0.79

-

-0.32 -1.66 0.82 1.61

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 19 แสดงวา ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนหญิงในอาํเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 65: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

52

ตาราง 20 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 4.14

แมทา 7.00

ปาซาง 4.53

บานธิ 6.36

บานโฮง 4.3030

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

4.14 7.00 4.53 6.36 4.30

- -2.86* -

-0.38 2.47*

-

-2.22* 0.64 -1.84

-

-0.16 2.70* 0.22 2.06

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 20 แสดงวา ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนหญิงในอําเภอแมทาและอําเภอบานธิอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนหญิงในอําเภอแมทามีความแตกตางกับนักเรยีนหญิงในอําเภอปาซางและอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 66: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

53

ตาราง 21 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตูดานซายและขวาของนกัเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 3.82

แมทา 5.37

ปาซาง 4.74

บานธิ 5.90

บานโฮง 4.06

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

3.82 5.37 4.74 5.90 4.06

- -1.55* -

-0.92 0.63

-

-2.08* -0.54 -1.17

-

-0.24 1.31 0.68 1.85

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 21 แสดงวา ทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตดูานซายและขวาของนักเรยีนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกบันักเรียนหญิงในอําเภอแมทาและนกัเรียนหญิงในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 67: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

54

ตาราง 22 ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูของทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงทั้ง 5 อําเภอ โดยใชวิธีของเชฟเฟ

อําเภอ

X เมือง 48.86

แมทา 55.19

ปาซาง 52.01

บานธิ 52.51

บานโฮง 49.48

เมือง แมทา ปาซาง บานธิ บานโฮง

48.86 55.19 52.01 52.51 49.48

- -6.33* -

-3.15 3.18

-

-3.65 2.68 -0.50

-

-0.62 5.71* 2.53 3.03

- * มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

จากตาราง 22 แสดงวา ทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรียนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอแมทาแตกตางกับอาํเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

Page 68: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ความมุงหมายของการวิจัย

1. เพื่อทราบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549

2. เพื่อสรางระดบัทักษะบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพนู ปการศึกษา 2549

3. เพื่อเปรียบเทยีบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ระหวางอําเภอในเขตพืน้ที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 สมมติฐานในการวิจัย

1. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายระหวางอําเภอแตกตางกัน 2. ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงระหวางอําเภอแตกตางกัน

กลุมตัวอยางที่ใชในการวจิัย กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยัคร้ังนี้ เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพูน ปการศกึษา 2549 จํานวนทั้งหมด 450 คน เปนชายจํานวน 150 คน เปนหญิงจํานวน 300 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบแบงชั้น (Stratified Random Sampling) เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้เปนการทดสอบทักษะบาสเกตบอล ทั้งหมด 4 รายการ คือแบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall Bounce) ของเลซเทน (Leshten Basketball Test)แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) ของจอหนสัน (Johnson Basketball Test) แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) ของจอหนสัน (Johnson Basketball Test) แบบทดสอบทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของเสกสันติ์ สายพรหมทอง

Page 69: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

56

การจัดกระทําขอมูลและการวิเคราะหขอมูล 1. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต (X) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของคะแนนทดสอบทักษะ

บาสเกตบอลแตละรายการ ของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

2. สรางระดับทักษะบาสเกตบอลโดยใชคะแนนที (T-Score) แบงระดบัทักษะบาสเกตบอลแตละรายการ และรวมทกุรายการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นทีก่ารศึกษาลําพูน เขต 1 ปการศึกษา 2549 ออกเปน 5 ระดับ คอื สูงมาก สูง ปานกลาง ต่ํา และต่ํามาก

3. ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน จําแนกตามอําเภอ โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดียว (One – way Analysis of Variance)

4. ถาการทดสอบมีความแตกตางกัน จะทําการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคูโดยใชวิธีของเชฟเฟ (Scheffe)

5. กําหนดความมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย

1. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 56.08 และ 8.60 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 21.35 และ 3.43 คะแนน ทักษะการยิงประตูเร็ว มีคาเทากับ 5.99 และ 3.00 คะแนน ทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา มีคาเทากับ 5.18 และ 2.13 คะแนน ตามลําดับ และคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 จากการทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา มีคาเทากับ 49.16 และ 8.77 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก มีคาเทากับ 18.48 และ 3.31 คะแนน ทักษะ การยงิประตูเร็ว มคีาเทากับ 4.60 และ 2.41 คะแนน ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตดูานซายและขวา มีคาเทากับ 4.16 และ 1.95 คะแนน ตามลําดับ

2. ระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 4 เปนดังนี ้2.1 ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับ

คะแนนดิบที่ 69 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนททีี่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนดิบที ่ 61 – 68 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 55 – 62 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนดบิที่ 51 – 60

Page 70: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

57

คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 42 – 50 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 38 – 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 41 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนททีี่ 37 ลงมา และทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 65 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 67 ขึน้ไป ระดับสงูตรงกับคะแนนดิบที่ 55 – 64 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 66 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 44 – 54 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 34 – 43 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 34 – 44 และระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 33 คะแนนลงมา หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 33 ลงมา

2.2 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 28 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนททีี่ 66 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนดิบที ่ 24 – 27 คะแนน หรือ ตรงกับคะแนนททีี่ 56 – 65 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 19 – 23 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 16 – 18 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 15 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนททีี่ 34 ลงมา และทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 24 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 67 ขึน้ไป ระดับสงูตรงกับคะแนนดิบที่ 21 – 23 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 – 66 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 16 – 20 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกบัคะแนนดิบที ่ 13 – 15 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 34 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดบิที่ 12 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 33 ลงมา

2.3 ทักษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 11 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 68 ขึ้นไป ระดับสูงเทากับ 8 – 10 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 57 – 67 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 5 – 7 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 44 – 56 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 2 – 4 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 33 – 43 และระดับต่าํมากตรงกับคะแนนดิบที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 32 ลงมา และทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 9 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 69 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดิบที่ 7 – 8 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 57 – 68 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 4 – 6 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 44 – 56 ระดับต่ําตรงกบัคะแนนดิบที ่ 2 – 3 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 32 – 43 และระดบัต่ํามาก ตรงกับคะแนนดิบที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกบัคะแนนทีที่ 31 ลงมา

2.4 ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนกัเรียนชาย ระดบัสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 9 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 65 ขึ้นไป ระดับสงูตรงกับคะแนนดิบ

Page 71: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

58

ที่ 7 – 8 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที ่ 56 – 64 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนดบิที่ 4 – 6 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 2 – 3 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 36 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดบิที่ 1 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 ลงมา และทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตูดานซายและขวาของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนดิบที่ 8 คะแนนขึ้นไป หรือตรงกับคะแนนทีที่ 66 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนดบิที่ 6 – 7 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 56 - 65 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนดิบที่ 3 – 5 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 45 – 55 ระดับต่ําตรงกับคะแนนดิบที่ 1 – 2 คะแนน หรือตรงกับคะแนนทีที่ 35 – 44 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนดิบที่ 0 คะแนนลงมา หรือตรงกับคะแนนทีที่ 34 ลงมา

2.5 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชาย ระดับสูงมากตรงกับคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกบัคะแนนทีที่ 55 – 62 ระดบัปานกลางตรงกับคะแนนททีี่ 46 – 54 ระดับต่ําตรงกับคะแนนทีที่ 38– 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนทีที ่ 37 ลงมา และทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิง ระดับสูงมากตรงกับคะแนนทีที่ 63 ขึ้นไป ระดับสูงตรงกับคะแนนททีี่ 55 – 62 ระดับปานกลางตรงกับคะแนนทีที ่ 46 – 54 ระดบัต่ําตรงกับคะแนนทีที่ 38– 45 และระดับต่ํามากตรงกับคะแนนทีที่ 37 ลงมา

3. ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยเลขคณิตทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน จําแนกตามอําเภอ โดยการวิเคราะหความแปรปรวนแบบทางเดยีว เปนดังนี ้

3.1 ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนชายระหวางอําเภอไมแตกตางกัน ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ทกัษะการยิงประตูเร็ว ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยงิประตูดานซายและขวา และทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายระหวางอําเภอแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

3.2 ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา ทกัษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก ทักษะการยิงประตูเร็ว ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลยงิประตูดานซายและขวา และทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงระหวางอําเภอแตกตางกนัอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

4. ผลการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนรายคู เปนดังนี ้4.1 ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิงในอําเภอบานธิมีความ

แตกตางกับนกัเรียนหญิงทั้ง 4 อําเภออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน 4.2 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนชายในอําเภอเมืองมคีวาม

แตกตางกับนกัเรียนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนัน้ไมแตกตางกนั

Page 72: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

59

และทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนักเรียนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรยีนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

4.3 ทักษะการยิงประตูเร็วของนกัเรียนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกบันักเรียนชายในอําเภอแมทาและนกัเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายในอําเภอปาซางมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายในอําเภอบานธิมีความแตกตางกับนักเรียนชายในอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน และทกัษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรียนหญิงในอาํเภอแมทาและอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนหญิงในอําเภอแมทามีความแตกตางกับนักเรียนหญิงในอําเภอปาซางและอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

4.4 ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนกัเรียนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน และทกัษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตดูานซายและขวาของนักเรยีนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรียนหญิงในอําเภอแมทาและนักเรยีนหญิงในอําเภอบานธอิยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน

4.5 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอเมืองแตกตางกับอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอบานธิแตกตางกับอําเภอบานโฮง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน และทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอเมืองมคีวามแตกตางกับนักเรยีนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอแมทาแตกตางกับอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไมแตกตางกัน อภิปรายผล จากการศึกษาทักษะสรางระดับทักษะและเปรียบเทียบทกัษะกีฬาบาสเกตบอลระหวางอําเภอของนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 ทั้งนักเรียนชายและนักเรียนหญิง โดยใชแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลที่ผานการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ จํานวน 4 รายการ คือ แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา แบบทดสอบทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอลซิกแซก แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตู

Page 73: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

60

ดานซายและขวา พบวา ทักษะการเลีย้งลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรียนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายในอําเภอเมืองมคีวามแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอแมทาและนกัเรียนชายในอําเภอบานธิอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรียนชายในอําเภอปาซางมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนชายในอําเภอบานธิมีความแตกตางกับนักเรียนชายในอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของนักเรียนชายในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนชายในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอเมอืงแตกตางกบัอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายในอําเภอบานธิแตกตางกบัอําเภอบานโฮง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปาของนักเรียนหญิงในอําเภอบานธิมีความแตกตางกับนกัเรียนหญิงทั้ง 4 อําเภออยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซกของนกัเรียนหญิงในอาํเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรียนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนัยสําคญัทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนหญิงในอาํเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรียนหญิงในอําเภอแมทาและอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการยิงประตูเร็วของนักเรยีนหญิงในอําเภอแมทามีความแตกตางกับนกัเรียนหญิงในอาํเภอปาซางและอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะการเลีย้งลูกบอลยิงประตดูานซายและขวาของนักเรียนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนกัเรยีนหญิงในอําเภอแมทาและนักเรียนหญิงในอําเภอบานธิอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอเมืองมีความแตกตางกับนักเรยีนหญิงในอําเภอแมทาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงในอําเภอแมทาแตกตางกบัอําเภอบานโฮงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานของการวิจัย จากการวิเคราะหพบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงระหวางอําเภอมีความแตกตางกัน เมื่อพิจารณาแลวพบวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียนชายและนักเรียนหญิงในอาํเภอเมืองและอําเภอบานโฮงต่ํากวานักเรียนในอําเภอบานธิและอําเภอแมทา ทั้งนี้อาจเปนเพราะปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนวชิาบาสเกตบอล ในแตละอําเภอมีความพรอมที่แตกตางกนั โรงเรียนในอําเภอเมืองและอําเภอบานโฮงมีจํานวนนกัเรียนในชั้นเรียนมากอาจเปนเหตใุหอาจารยผูสอนไมสามารถดูแลการการเรียนการสอนไดอยางทั่วถึง แมวาโรงเรียนในอําเภอเมืองจะมีวสัดุอุปกรณและสิ่งอํานวยความสะดวกพรอมมากกวาโรงเรยีนในอําเภออื่นๆ แตก็มีปญหาสําคัญเกี่ยวกับการใชสถานที่คือ

Page 74: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

61

มีการใชสนามบาสเกตบอลรวมกับวอลเลยบอล ตะกรอและแบดมินตัน จึงทําใหมกีารฝกทักษะบาสเกตบอลนอกเหนือจากชั่วโมงเรียนของนักเรียนไมสามารถทําไดเทาที่ควร ประกอบกับนกัเรียนในอําเภอเมืองมีส่ิงจูงใจจากความเจริญ เชน หางสรรพสินคา สถานบันเทิง หรือความสนใจในดานวิชาการอื่นๆ มากกวา ทาํใหนักเรยีนขาดความสนใจทีจ่ะทบทวนการเรียนการสอนวชิาบาสเกตบอล หรืออาจเปนเพราะโรงเรียนในอําเภอเมืองและอําเภอบานโฮงมีการสนับสนุนกีฬาชนดิอื่นมากกวา แตกตางกับโรงเรียนในอําเภอบานธิที่มีการสนับสนุนกฬีาบาสเกตบอลอยางเต็มที่ จึงสงผลใหทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนในอําเภอเมืองและนักเรียนในอาํเภอบานโฮงต่ํากวานักเรียนในอําเภอบานธิและนักเรียนในอําเภอแมทา ดังที่ อรุณ วรทอง (2523 : 47) กลาววา ความสามารถทางทักษะกฬีาบาสเกตบอลของนักเรียนที่มคีวามแตกตางกันอาจเปนเพราะสาเหตุหลายประการ เชน การจัดการเรียนการสอน อุปกรณและเครื่องอํานวยความสะดวก กิจกรรมเสริมหลักสูตร และบุคลากรที่เกี่ยวของ เปนตน ขอเสนอแนะที่ไดจากการวิจัย

1. บุคลากรผูสอนของแตละโรงเรียน ควรใชแบบทดสอบและเกณฑระดบัทักษะบาสเกตบอลที่ผูวิจัยสรางขึ้นไปใชเปนขอมลูในการประเมินทักษะบาสเกตบอลเพื่อจะไดทราบความสามารถของผูเรียน

2. ควรนําผลวิจยันี้ไปใชในการปรับปรุง สงเสริม และพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาบาสเกตบอล เพื่อใหนักเรยีนมีทักษะบาสเกตบอลที่สูงขึ้นตอไป ขอเสนอแนะสําหรับการวจิัยครั้งตอไป

1. ควรศึกษาระดบัทักษะบาสเกตบอลและสรางแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนในระดบัตางๆ

2. ควรศึกษาเปรยีบเทียบทกัษะบาสเกตบอลระหวางเขตพืน้ที่การศึกษาในเขตภาคเหนอื

Page 75: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

บรรณานุกรม

Page 76: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

63

บรรณานุกรม

กระทรวงศกึษาธิการ. (2544). หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพองคกรการรับสงสินคาและพัสดุภณัฑ.

คําพาง ศรีทาวปากดี. (2547). ระดับทกัษะบาสเกตบอลของนักเรียนนักศึกษาวิชาเอกพลศึกษาวิทยาลัยพลศึกษาในภาคตะวันออกเฉยีงเหนือ ปการศึกษา 2546. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ. ถายเอกสาร.

ฉัฐรส บัญชาชาญชัย. (2540). การสรางแบบประเมินและแบบทดสอบทักษะนักกีฬาบาสเกตบอลสําหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตน. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

เฉลี่ย พิมพันธุ. (2529). บาสเกตบอล. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. เชาวนนัท ทะนอก. (2548). ระดับทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพืน้ที่

การศึกษาบุรีรัมย เขต 3 ปการศึกษา 2547. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย. (2541). เทคนคิและทักษะกฬีาบาสเกตบอล. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ธงชัย เจริญทรัพยมณี. (2538). บาสเกตบอล 1. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บัณฑิต หาญธงชัย. (2539). กลยุทธการฝกและการจัดการกีฬาบาสเกตบอล. กรุงเทพฯ : กรมศึกษาธิการ.

ประโยค สุทธิสงา. (2541). แบบทดสอบมาตรฐานทักษะฟุตบอล. กรุงเทพฯ : ไทยวฒันาพานิช. ผาณิต บิลมาศ. (2530). การวัดทักษะกีฬา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศกึษา คณะพลศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร. พีรศุษม ปตธวัชชัย. (2538). เกณฑปกติกฬีาบาสเกตบอลของนักเรียนระดับมัธยมศกึษาปที่ 3 เขต

การศึกษากรุงเทพมหานคร กลุม 2. ปริญญานิพนธ กศ.ม (พลศกึษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

วิริยา บุญชัย. (2529). การทดสอบและวดัผลทางพลศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

Page 77: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

64

ศิริพร ชอบสะอาด. (2542). ระดับทักษะกีฬาบาสเกตบอลของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 3 จังหวดัชัยภูมิ. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

สมบัติ กาญจนกิจ ; และสมหญิง จันทรไุทย. (2542). จิตวิทยาการกฬีา แนวคิด ทฤษฎี สูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย.

สมรรถชัย นอยศิริ. (2535). บาสเกตบอล. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพลศึกษา พลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมติร.

สัมฤทธิ์ สุพรรณฝาย. (2541). การสรางแบบทดสอบทักษะบาสเกตบอล สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานิพนธ ศศ.ม. (พลศึกษา). ขอนแกน : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. ถายเอกสาร.

สาโรช คุณีพงษ. (2544). ตําราบาสเกตบอลมหัศจรรย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา. อรุณ วรทอง. (2523). เกณฑปกติความสามารถทางทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายระดับ

มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยในกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ กศ.ม (พลศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัยศรีนครนิทรวิโรฒ. ถายเอกสาร.

Barrow, H.M. and R. McGee. (1979). A Practical Approach to Measurement in Physical Education. 3rd ed. London : Lea & Febiger.

Callaham Lawrence Leonard. (1987). Mastery Learning : Effects on Basketball Skill Development and Anxiety Levels of Fourth and Fifth Grade Students. Boston University : Publication No : AAC 871674, DAI 48/05A.

Clark, William James. (1974). Development and Validation of a Basketball Skill Test. Dissertation Abstracts International. 34 : 4832 - A

Hopkins, Charles D. and Richard L. Antes. (1977). Classroom Testing. Itasca : FE. Peacock Publishers Inc.

Mathews, Donald K. (1978). Measurement in Physical Education. Philadelphia : N.B. Saunders Company.

Willgoose, C.E. (1961). Evaluation in Health Education and Physical Education. New York : McGraw – Hill.

Page 78: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

ภาคผนวก

Page 79: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

66

ภาคผนวก ก แบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล

Page 80: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

67

แบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอล แบบทดสอบทักษะกีฬาบาสเกตบอลทั้งหมด 4 รายการ คือ

1. แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall Bounce) ของเลซเทน 2. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) ของจอหนสนั 3. แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) ของจอหนสัน 4. แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของเสกสันติ์ สายพรหมทอง

แบบทดสอบทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall Bounce) ของเลซเทน

วัตถุประสงค เพื่อวัดความสามารถในการสงลูกบาสเกตบอล 4 ฟุต 2 ฟุต A B O 3 ฟุต X 6 ฟุต X ผูเขารับการทดสอบ O ผูทดสอบ

อุปกรณ มีดังนี้ 1. ลูกบาสเกตบอล 2. เทปวัดระยะ 3. ผนังเรียบ 4. กระดาษกาว 5. นาฬิกาจับเวลา สถานที่ เขียนเปาเปนรูปสี่เหล่ียมผืนผากวาง 2 ฟุต ยาว 4 ฟุต ไวบนผนังสี่เหล่ียมนี้อยูหางจากพื้น 3 ฟุต เขียนเสนเริ่มหางจากฝาผนงั 6 ฟุต วิธีการปฏิบัติ ใหผูเขารับการทดสอบยืนหลังเสนเริ่ม เมื่อไดรับสัญญาณ “เร่ิม” ใหสงลูกบอลกระทบเปาใหไดมากที่สุดภายในเวลา 1 นาที ลูกบาสเกตบอลที่อยูในสี่เหล่ียมAเทานั้นจึงจะไดคะแนน การคิดคะแนน บันทึกจํานวนครั้งที่ทําถูกตองภายในเวลา 1 นาที โดยสงลูกกระทบบริเวณเปา 1 คร้ัง คิดเปน 1 คะแนน

Page 81: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

68

แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) ของจอหนสัน วัตถุประสงค เพื่อวัดความสามารถในการจับลูกบาสเกตบอลและความคลองแคลววองไว X 6 ฟุต 12 ฟุต 6 ฟุต 6 ฟุต 6 ฟุต O

X ผูเขารับการทดสอบ

O ผูทดสอบ อุปกรณ

1. ลูกบาสเกตบอล 2. ร้ัวจํานวน 4 ร้ัว 3. นาฬิกาจับเวลา 4. สนามบาสเกตบอล

สถานที่ เขียนเสนเริ่มยาว 6 ฟุต วางรั้วแรกหางจากเสนเริ่ม 12 ฟุต และร้ัวตอๆไปวางหางกัน 6 ฟุต

วิธีปฏิบัติ ใหผูเขารับการทดสอบเลี้ยงลูกจากปลายดานหนึ่งของเสนเริ่ม ออมร้ัวสลับกันทั้ง 4 ร้ัว แลวออมกลับมายังปลายอีกดานหนึ่ง ทําติดตอกันในเวลา 30 วนิาที

การคิดคะแนน บันทึกจํานวนรั้วที่สามารถเลี้ยงลูกผานในเวลา 30 วนิาที โดยการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลผาน 1 ร้ัว คิดเปน 1 คะแนน

Page 82: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

69

แบบทดสอบทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) ของจอหนสัน วัตถุประสงค เพื่อทดสอบความสามารถในการยิงประตบูาสเกตบอล

= ผูทดสอบ = ลูกบาสเกตบอล อุปกรณและสถานที่

1. ลูกบาสเกตบอล 2. นาฬิกาจับเวลา 3. สนามบาสเกตบอล

วิธีการปฏิบัต ิ ใหผูรับการทดสอบยืนถือลูกบอลใตแปน เมื่อไดยินสัญญาณ “เร่ิม” ใหยิงใหเร็วและเขาหวงใหมากที่สุด ภายในเวลา 30 วนิาที โดยยิงแบบใดกไ็ด และจากที่ใดก็ได การคิดคะแนน บันทึกจํานวนครั้งที่ลงหวงภายในเวลา 30 วินาที

Page 83: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

70

แบบทดสอบทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวาของเสกสันติ์ สายพรหมทอง วัตถุประสงค เพื่อวัดทกัษะการเลี้ยงลูกเขายงิประตู แบบเลย – อัพ (Lay – up Shot) = ผูชวยทดสอบ = ผูทดสอบ = เสนทางการวิ่ง = เสนเริ่ม อุปกรณและสถานที่

1. ลูกบาสเกตบอล จํานวน 10 ลูก 2. สนามบาสเกตบอล

วิธีการปฏิบัติ ผูเขารับการทดสอบยืนอยูหลังเสนเริ่ม โดยจะเริ่มที่ดานซายหรือขวากอนก็ได เมื่อไดยิน

สัญญาณ “เร่ิม” ใหผูเขารับการทดสอบ รับลูกจากผูชวยทดสอบ และเลี้ยงลูกบาสเกตบอลขึ้นยิงประตูโดยไมตองเกบ็ลูกบอล จากนั้นวิ่งไปดานตรงขามเพื่อรับบอลในเขตเสนเริ่มเลี้ยงลูกบาสเกตบอลขึ้นยิงประตู ใหปฏิบัติทั้งหมด 10 คร้ัง การใหคะแนน

นับจํานวนครัง้ที่ยิงประตูลง ลูกละ 1 คะแนน ใหทดสอบ 2 คร้ังและเอาครั้งที่ไดคะแนนมากที่สุด

Page 84: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

71

ภาคผนวก ข ใบบันทึกการทดสอบทักษะบาสเกตบอล

Page 85: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

72

ใบบันทึกการทดสอบทักษะบาสเกตบอล

ช่ือ..................................................................................อายุ ......................... เพศ ................................. ช้ัน..................................โรงเรียน..............................................................วันที่..................................

ลําดับ รายการทดสอบ คะแนนดิบ 1 ทักษะการสงลูกบาสเกตบอลกระทบเปา (Wall bounce) 2 ทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอลซิกแซก (Dribble Test) 3 ทักษะการยิงประตูเร็ว (Field Goal Speed Test) 4 ทักษะการเลี้ยงลูกบอลยิงประตูดานซายและขวา

ลงชื่อ.................................................ผูบันทึก (...................................................)

Page 86: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

73

ภาคผนวก ค รายชื่อผูเช่ียวชาญ

Page 87: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

74

รายชื่อผูเชี่ยวชาญ 1. อาจารยธงชาติ พูเจริญ อาจารยประจําภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2. ผูชวยศาสตราจารยสมรรถชัย นอยศิริ อาจารยประจําภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3. ผูชวยศาสตราจารยวัฒนา สุทธิพันธ อาจารยประจําภาควิชาพลศึกษา คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Page 88: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

75

ภาคผนวก ง ตารางแสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอล

Page 89: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

76

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

32 39 40 45 48 37 41 34 45 45 43 48 37 45 54 42 62 61 58 61 58 63 62 65

24 27 21 20 20 25 20 15 17 12 26 17 18 20 20 14 22 21 19 17 19 22 21 24

4 3 4 4 3 5 10 2 1 7 3 4 4 3 3 3 5 7 2 6 7 7 6 7

4 3 2 4 7 5 8 3 2 8 6 5 5 6 4 6 4 4 2 4 5 6 6 8

22 30 31 37 41 28 32 24 37 37 35 41 28 37 48 34 57 56 52 56 52 58 57 60

58 66 49 46 46 61 46 32 37 23 64 37 40 46 46 29 52 49 43 37 43 52 49 58

43 40 43 43 40 47 63 37 33 53 40 43 43 40 40 40 47 53 37 50 53 53 50 53

44 40 35 44 58 49 63 40 35 63 54 49 49 54 44 54 44 44 35 44 49 54 54 63

42 44 40 43 46 46 51 33 36 44 48 43 40 44 45 39 50 51 42 47 49 54 52 59

Page 90: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

77

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48

67 60 58 57 65 60 62 64 63 59 67 70 64 65 59 62 59 57 52 55 58 61 60 59

25 20 19 21 20 19 21 23 20 20 25 22 18 19 22 21 19 17 17 21 17 21 21 23

10 8 5 4 8 6 8 5 7 8 11 7 7 7 8 6 6 2 3 4 4 5 2 4

10 6 5 5 7 4 6 6 6 7 9 8 3 5 3 4 1 2 4 1 3 2 3 7

63 55 52 51 60 55 57 59 58 53 63 66 59 60 53 57 53 51 45 49 52 56 55 53

61 46 43 49 46 43 49 55 46 46 61 52 40 43 52 49 43 37 37 49 37 49 49 55

63 57 47 43 57 50 57 47 53 57 67 53 53 53 57 50 50 37 40 43 43 47 37 43

72 54 49 49 58 44 54 54 54 58 68 63 40 49 40 44 30 35 44 30 40 35 40 58

65 53 48 48 55 48 54 54 53 54 64 59 48 52 50 50 44 40 42 43 43 47 45 53

Page 91: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

78

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72

52 57 60 56 52 62 70 63 69 68 70 59 60 67 67 65 67 62 68 51 64 60 62 58

18 16 17 28 24 26 24 23 24 20 18 17 26 25 28 25 25 25 25 21 28 22 22 20

4 4 3 3 4 6 2 3 8 6 5 9 10 10 6 7 7 8 3 6 10 6 5 5

3 4 4 3 3 5 7 3 5 5 3 5 8 8 3 5 7 4 8 1 5 6 6 7

45 51 55 50 45 57 66 58 65 64 66 53 55 63 63 60 63 57 64 44 59 55 57 52

40 34 37 69 58 64 58 55 58 46 40 37 64 61 69 61 61 61 61 49 69 52 52 46

43 43 40 40 43 50 37 40 57 50 47 60 63 63 50 53 53 57 40 50 63 50 47 47

40 44 44 40 40 49 58 40 49 49 40 49 63 63 40 49 58 44 63 30 49 54 54 58

42 43 44 50 47 55 55 48 57 52 48 50 61 62 55 56 59 55 57 43 60 53 52 51

Page 92: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

79

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96

66 55 56 59 57 60 53 58 52 60 43 59 54 61 59 61 64 58 56 61 62 62 53 56

24 18 11 18 19 22 16 19 19 18 15 19 22 21 20 23 25 22 20 23 20 22 22 23

8 3 5 5 4 6 2 4 4 5 5 5 4 7 7 6 10 11 7 4 8 8 10 10

7 2 5 3 4 7 3 4 2 4 5 3 5 4 8 5 7 5 6 7 6 4 7 7

62 49 50 53 51 55 46 52 45 55 35 53 48 56 53 56 59 52 50 56 57 57 46 50

58 40 20 40 43 52 34 43 43 40 32 43 52 49 46 55 61 52 46 55 46 52 52 55

57 40 47 47 43 50 37 43 43 47 47 47 43 53 53 50 63 67 53 43 57 57 63 63

58 35 49 40 44 58 40 44 35 44 49 40 49 44 63 49 58 49 54 58 54 44 58 58

59 41 41 45 46 54 39 46 42 46 41 46 48 51 54 52 60 55 51 53 53 52 55 57

Page 93: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

80

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120

60 59 64 56 53 50 53 62 56 65 59 58 62 58 61 61 55 43 33 50 66 62 56 49

23 23 25 21 25 20 21 22 23 22 16 18 25 22 28 26 25 15 12 22 26 23 28 23

10 6 11 5 14 5 5 6 7 8 1 8 2 3 9 5 3 3 1 10 13 16 14 5

8 7 8 6 7 4. 5 5 9 5 6 3 3 5 9 9 3 3 4 7 7 8 9 7

55 53 59 50 46 43 46 57 50 60 53 52 57 52 56 56 49 35 23 43 62 57 50 42

55 55 61 49 61 46 49 52 55 52 34 40 61 52 69 64 61 32 23 52 64 55 69 55

63 50 67 47 77 47 47 50 53 57 33 57 37 40 60 47 40 40 33 63 73 83 77 47

63 58 63 54 58 44 49 49 68 49 54 40 40 49 68 68 40 40 44 58 58 63 68 58

59 54 62 50 61 45 48 52 56 55 44 47 49 48 63 58 47 37 31 54 64 65 66 50

Page 94: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

81

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144

53 68 45 55 44 51 45 69 43 37 36 50 53 51 55 69 35 47 53 55 47 48 55 52

26 24 24 20 29 20 22 25 25 21 22 23 22 22 22 23 15 18 22 18 22 25 24 25

10 17 2 9 2 2 6 13 6 3 0 4 9 3 4 6 5 4 8 5 9 6 7 7

7 10 7 9 2 6 2 10 6 3 3 7 7 7 3 7 6 5 8 2 6 4 3 6

46 64 37 49 36 44 37 65 35 28 27 43 46 44 49 65 25 39 46 49 39 41 49 45

64 58 58 46 72 46 52 61 61 49 52 55 52 52 52 55 32 40 52 40 52 61 58 61

63 87 37 60 37 37 50 73 50 40 30 43 60 40 43 50 47 43 57 47 60 50 53 53

58 72 58 68 35 54 35 72 54 40 40 58 58 58 40 58 54 49 63 35 54 44 40 54

58 70 48 56 45 45 44 68 50 39 37 50 54 49 46 57 39 43 55 43 51 49 50 53

Page 95: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

82

ตาราง 23 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนชายช้ันมัธยมศกึษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

145 146 147 148 149 150

61 50 54 55 60 64

16 25 22 22 22 22

5 9 6 5 7 7

7 4 2 0 4 6

56 43 48 49 55 59

34 61 52 52 52 52

47 60 50 47 53 53

58 44 35 26 44 54

49 52 46 43 51 55

อําเภอเมืองตั้งแตลําดับที่ 1 – 84 อําเภอแมทาตัง้แตลําดับที่ 85 – 104 อําเภอปาซางตัง้แตลําดับที่ 105 –115 อําเภอบานธิตัง้แตลําดับที่ 116 – 128 อําเภอบานโฮงตั้งแตลําดับที ่129 – 150

Page 96: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

83

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24

26 36 36 30 42 40 41 32 33 41 34 34 30 25 40 39 39 32 27 25 36 57 40 43

12 21 16 17 17 15 19 25 20 20 12 16 20 14 21 16 17 15 12 11 16 18 15 12

3 4 3 4 1 2 3 3 3 4 1 3 0 1 2 4 2 3 2 1 2 4 2 4

3 3 5 4 5 3 5 6 0 2 3 2 2 2 3 6 5 3 2 3 6 2 1 1

24 35 35 28 42 40 41 30 32 41 33 33 28 22 40 38 38 30 25 22 35 59 40 43

30 58 43 46 46 39 52 70 55 55 30 43 55 36 58 43 46 39 30 27 43 49 39 30

43 48 43 48 35 39 43 43 43 48 35 43 31 35 39 48 39 43 39 35 39 48 39 48

44 44 54 49 54 44 54 59 29 39 44 39 39 39 44 59 54 44 39 44 59 39 34 34

35 46 44 43 44 41 47 51 40 45 36 39 38 33 45 47 44 39 33 32 44 48 38 39

Page 97: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

84

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48

48 53 50 49 50 58 60 51 54 56 57 60 49 54 58 54 42 47 46 52 52 49 51 45

19 20 17 16 17 19 21 22 18 20 16 13 22 18 21 19 19 14 12 12 18 19 21 17

5 1 2 2 4 4 7 4 4 3 6 1 10 7 6 4 4 2 1 5 5 4 5 4

3 3 4 2 4 5 7 2 5 2 4 3 6 4 3 5 2 0 1 4 2 4 1 5

49 54 51 50 51 60 62 52 56 58 59 62 50 56 60 56 42 48 46 53 53 50 52 45

52 55 46 43 46 52 58 61 49 55 43 33 61 49 58 52 52 36 30 30 49 52 58 46

52 35 39 39 48 48 60 48 48 43 56 35 72 60 56 48 48 39 35 52 52 48 52 48

44 44 49 39 49 54 64 39 54 39 49 44 59 49 44 54 39 29 34 49 39 49 34 54

49 47 46 43 48 53 61 50 51 49 52 44 61 53 54 52 45 38 36 46 48 50 49 48

Page 98: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

85

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72

53 44 48 61 55 58 48 48 51 51 52 47 46 57 42 46 43 44 48 46 50 52 49 37

16 18 15 23 16 17 19 15 15 20 17 15 17 19 18 17 15 12 15 17 19 22 23 16

5 4 1 10 6 2 4 7 6 3 3 6 4 5 5 7 3 1 1 3 4 8 2 4

3 5 5 8 2 3 5 1 3 4 2 3 2 4 4 2 3 0 2 4 2 5 5 2

54 44 49 64 57 60 49 49 52 52 53 48 46 59 42 46 43 44 49 46 51 53 50 36

43 49 39 64 43 46 52 39 39 55 46 39 46 52 49 46 39 30 39 46 52 61 64 43

52 48 35 72 56 39 48 60 56 43 43 56 48 52 52 60 43 35 35 43 48 64 39 48

44 54 54 70 39 44 54 34 44 49 39 44 39 49 49 39 44 29 39 49 39 54 54 39

48 49 44 67 48 47 51 45 48 50 45 47 45 53 48 48 42 35 41 46 47 58 52 41

Page 99: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

86

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96

45 48 51 48 61 50 59 62 68 64 65 47 67 60 47 46 61 50 55 53 67 47 38 54

20 20 20 21 20 20 17 25 28 20 16 18 11 16 20 19 21 18 18 16 24 15 15 12

5 4 4 3 1 2 6 6 3 7 2 1 2 4 3 5 4 2 5 2 9 6 3 4

2 5 4 4 4 3 3 6 6 3 4 4 6 4 3 5 4 3 3 2 4 4 3 2

45 49 52 49 64 51 61 65 71 67 68 48 70 62 48 46 64 51 57 54 70 48 37 56

55 55 55 58 55 55 46 70 79 55 43 49 27 43 55 52 58 49 49 43 67 39 39 30

52 48 48 43 35 39 56 56 43 60 39 35 39 48 43 52 48 39 52 39 68 56 43 48

39 54 49 49 49 44 44 59 59 44 49 49 59 49 44 54 49 44 44 39 49 49 44 39

48 51 51 50 51 47 52 62 63 56 50 45 49 50 47 51 54 46 50 44 64 48 41 43

Page 100: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

87

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม 97 98 99 100 101 102 103 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113 114 115 116 117 118 119 120

49 60 49 64 60 49 44 57 50 50 60 62 69 50 50 51 49 56 56 54 62 59 56 44

15 15 20 25 16 19 18 19 20 15 20 21 22 24 22 19 23 20 15 20 16 25 19 17

5 5 3 6 4 4 4 3 2 4 3 7 4 2 8 3 2 4 4 2 3 4 4 6

5 2 6 5 6 6 5 3 5 4 3 5 3 7 7 7 2 6 7 3 6 6 6 4

50 62 50 67 62 50 44 59 51 51 62 65 73 51 51 52 50 58 58 56 65 61 58 44

39 39 55 70 43 52 49 52 55 39 55 58 61 67 61 52 64 55 39 55 43 70 52 46

52 52 43 56 48 48 48 43 39 48 43 60 48 39 64 43 39 48 48 39 43 48 48 56

54 39 59 54 59 59 54 44 54 49 44 54 44 64 64 64 39 59 64 44 59 59 59 49

49 48 52 62 53 52 49 49 50 47 51 59 56 55 60 53 48 55 52 48 52 59 54 49

Page 101: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

88

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

121 122 123 124 125 126 127 128 129 130 131 132 133 134 135 136 137 138 139 140 141 142 143 144

58 42 46 44 36 43 51 59 70 50 56 43 57 51 38 50 60 56 51 55 57 61 62 33

18 22 21 17 18 21 21 21 20 22 15 16 16 17 20 18 24 22 23 23 25 28 28 20

4 6 4 6 6 7 6 6 5 6 5 5 6 5 5 4 9 5 8 5 7 10 9 4

4 5 2 4 3 5 4 3 7 8 8 8 7 8 5 5 4 7 8 1 7 6 3 2

60 42 46 44 35 43 52 61 74 51 58 43 59 52 37 51 62 58 52 57 59 64 65 32

49 61 58 46 49 58 58 58 55 61 39 43 43 46 55 49 67 61 64 64 70 79 79 55

48 56 48 56 56 60 56 56 52 56 52 52 56 52 52 48 68 52 64 52 60 72 68 48

49 54 39 49 44 54 49 44 64 70 70 70 64 70 54 54 49 64 70 34 64 59 44 39

51 53 48 49 46 54 54 55 61 59 55 52 55 55 49 50 62 59 62 51 63 68 64 43

Page 102: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

89

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

145 146 147 148 149 150 151 152 153 154 155 156 157 158 159 160 161 162 163 164 165 166 167 168

41 40 33 36 55 36 39 50 53 48 53 54 63 56 57 61 46 47 46 42 49 53 50 47

16 14 13 12 19 17 16 25 21 21 27 16 22 18 18 23 15 17 15 19 16 17 16 15

4 4 1 3 5 2 0 3 7 6 5 4 7 5 5 6 2 2 2 5 4 4 3 3

4 7 6 5 7 2 2 6 7 2 4 4 5 3 5 7 2 3 3 4 3 2 3 2

41 40 32 35 57 35 38 51 54 49 54 56 66 58 59 64 46 48 46 42 50 54 51 48

43 36 33 30 52 46 43 70 58 58 76 43 61 49 49 64 39 46 39 52 43 46 43 39

48 48 35 43 52 39 31 43 60 56 52 48 60 52 52 56 39 39 39 52 48 48 43 43

49 64 59 54 64 39 39 59 64 39 49 49 54 44 54 64 39 44 44 49 44 39 44 39

45 47 40 41 56 40 38 56 59 50 58 49 60 51 53 62 41 44 42 49 46 47 45 42

Page 103: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

90

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

169 170 171 172 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183 184 185 186 187 188 189 190 191 192

56 51 48 50 51 45 53 48 57 54 50 49 47 51 52 54 42 43 45 48 47 39 45 39

18 17 16 23 15 14 16 18 22 20 17 16 15 21 19 12 13 15 17 19 16 12 15 12

4 2 4 7 3 2 6 10 6 3 5 5 6 2 2 1 2 3 4 4 6 3 5 1

2 3 2 7 2 2 4 6 5 4 3 4 2 4 4 2 3 3 4 2 2 1 1 1

58 52 49 51 52 45 54 49 59 56 51 50 48 52 53 56 42 43 45 49 48 38 45 38

49 46 43 64 39 36 43 49 61 55 46 43 39 58 52 30 33 39 46 52 43 30 39 30

48 39 48 60 43 39 56 72 56 43 52 52 56 39 39 35 39 43 48 48 56 43 52 35

39 44 39 64 39 39 49 59 54 49 44 49 39 49 49 39 44 44 49 39 39 34 34 34

48 45 44 60 43 40 50 57 57 51 48 48 45 50 48 40 40 42 47 47 46 37 43 34

Page 104: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

91

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

193 194 195 196 197 198 199 200 201 202 203 204 205 206 207 208 209 210 211 212 213 214 215 216

42 48 51 53 57 61 55 57 59 54 50 55 49 56 54 55 56 51 51 47 53 58 57 57

17 17 14 18 16 20 19 17 15 17 21 28 20 22 20 22 20 18 20 16 19 23 21 22

4 7 6 7 10 1 4 5 6 2 9 9 9 10 7 9 10 8 9 5 7 7 10 10

1 2 3 7 2 2 4 2 3 3 6 10 7 7 6 8 8 6 7 5 6 8 7 8

42 49 52 54 59 64 57 59 61 56 51 57 50 58 56 57 58 52 52 48 54 60 59 59

46 46 36 49 43 55 52 46 39 46 58 79 55 61 55 61 55 49 55 43 52 64 58 61

48 60 56 60 72 35 48 52 56 39 68 68 68 72 60 68 72 64 68 52 60 60 72 72

34 39 44 64 39 39 49 39 44 44 59 80 64 64 59 70 70 59 64 54 59 70 64 70

42 48 47 57 53 48 51 49 50 46 59 71 59 64 57 64 64 56 60 49 56 63 63 65

Page 105: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

92

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

217 218 219 220 221 222 223 224 225 226 227 228 229 230 231 232 233 234 235 236 237 238 239 240

49 52 59 58 60 53 52 60 52 48 51 44 39 38 34 20 40 39 43 45 32 59 53 61

18 19 22 21 20 20 14 22 17 19 20 21 21 24 22 20 16 17 23 15 19 21 18 21

7 8 8 7 7 4 5 10 5 5 7 3 6 5 7 2 7 5 4 8 6 7 5 6

5 6 7 5 7 1 3 9 3 3 1 2 4 4 5 3 5 7 2 3 4 6 7 7

50 53 61 60 62 54 53 62 53 49 52 44 38 37 33 17 40 38 43 45 30 61 54 64

49 52 61 58 55 55 36 61 46 52 55 58 58 67 61 55 43 46 64 39 52 58 49 58

60 64 64 60 60 48 52 72 52 52 60 43 56 52 60 39 60 52 48 64 56 60 52 56

54 59 64 54 64 34 44 75 44 44 34 39 49 49 54 44 54 64 39 44 49 59 64 64

53 57 63 58 60 48 46 67 49 49 50 46 50 51 52 39 49 50 48 48 47 60 55 60

Page 106: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

93

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

241 242 243 244 245 246 247 248 249 250 251 252 253 254 255 256 257 258 259 260 261 262 263 264

64 53 46 50 62 59 47 50 52 42 52 50 45 51 39 52 39 34 49 39 45 24 40 41

18 17 19 19 19 21 21 17 18 16 20 22 18 19 16 25 20 20 15 21 19 14 24 18

7 1 4 8 9 5 3 4 4 3 6 1 6 0 5 2 8 0 1 3 7 6 7 8

4 5 7 5 8 5 2 4 4 3 4 3 4 4 3 5 10 3 4 5 7 3 8 5

67 54 46 51 65 61 48 51 53 42 53 51 45 52 38 53 38 33 50 38 45 21 40 41

49 46 52 52 52 58 58 46 49 43 55 61 49 52 43 70 55 55 39 58 52 36 67 49

60 35 48 64 68 52 43 48 48 43 56 35 56 31 52 39 64 31 35 43 60 56 60 64

49 54 64 54 70 54 39 49 49 44 49 44 49 49 44 54 80 44 49 54 64 44 70 54

56 47 52 55 63 56 47 48 50 43 53 48 50 46 44 54 59 41 43 48 55 39 59 52

Page 107: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

94

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

265 266 267 268 269 270 271 272 273 274 275 276 277 278 279 280 281 282 283 284 285 286 287 288

44 44 38 50 50 60 61 62 48 42 49 59 46 35 20 39 52 52 40 43 42 41 41 47

17 27 25 20 19 20 19 18 14 16 21 19 19 19 15 16 23 17 18 15 18 22 10 19

2 15 13 7 6 5 5 2 4 1 3 7 4 4 4 2 7 9 1 4 3 3 2 3

4 9 7 3 4 5 3 2 3 2 7 2 3 3 2 2 5 5 3 3 2 4 4 4

44 44 37 51 51 62 64 65 49 42 50 61 46 34 17 38 53 53 40 43 42 41 41 48

46 76 70 55 52 55 52 49 36 43 58 52 52 52 39 43 64 46 49 39 49 61 24 52

39 93 85 60 56 52 52 39 48 35 43 60 48 48 48 39 60 68 35 48 43 43 39 43

49 75 64 44 49 54 44 39 44 39 64 39 44 44 39 39 54 54 44 44 39 49 49 49

45 72 64 52 52 56 53 48 44 40 54 53 47 44 36 40 58 55 42 44 43 48 38 48

Page 108: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

95

ตาราง 24 แสดงคะแนนการทดสอบทักษะบาสเกตบอลของนักเรียนหญิงชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในเขตพื้นที่การศึกษาลําพูน ปการศึกษา 2549 (ตอ)

ลําดับ คะแนนดิบ คะแนนท ีที่ สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง สง เล้ียง ยิง เล้ียงยิง รวม

289 290 291 292 293 294 295 296 297 298 299 300

49 51 55 54 57 49 58 56 47 57 52 56

21 18 19 17 22 20 21 20 15 20 18 19

4 5 6 4 4 6 5 4 2 6 5 5

4 6 5 6 5 6 7 6 4 4 5 5

50 52 57 56 59 50 60 58 48 59 53 58

58 49 52 46 61 55 58 55 39 55 49 52

48 52 56 48 48 56 52 48 39 56 52 52

49 59 54 59 54 59 64 59 49 49 54 54

51 53 55 52 55 55 58 55 44 55 52 54

อําเภอเมืองตั้งแตลําดับที่ 1 – 202 อําเภอแมทาตัง้แตลําดับที่ 203 – 237 อําเภอปาซางตัง้แตลําดับที่ 238 – 256 อําเภอบานธิตัง้แตลําดับที่ 257 – 267 อําเภอบานโฮงตั้งแตลําดับที ่268 – 300

Page 109: ป การศึกษา 2549thesis.swu.ac.th/swuthesis/Phy_Ed/Sukkhachit_C.pdf · 11 ระดับทักษะการเล ี้ยงลูกบอลย ิงประต

96

ประวัติยอผูวิจัย ช่ือ - ช่ือสกุล นายสุขจิตต ไชยชมภ ูวัน เดือน ปเกดิ 7 มกราคม 2526 สถานที่เกิด อําเภอเมือง จงัหวัดเชียงใหม สถานที่อยูปจจุบัน บานเลขที่ 29 ถนนลําพูน - ปาซาง ตําบลในเมือง อําเภอเมืองลําพูน

จังหวดัลําพูน ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2538 ประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลลําพูน อําเภอเมืองลําพนู จังหวัดลําพูน พ.ศ. 2541 มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียนจกัรคําคณาทร

อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน พ.ศ. 2544 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนจักรคําคณาทร

อําเภอเมืองลําพูน จังหวัดลําพูน พ.ศ. 2548 วท.บ. (พลศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2550 กศ.ม. (พลศึกษา)

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ