20
บททีบทนา ตามที่สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้กาหนดนโยบายการจัดการศึกษาดูงานสถาน ประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ ของภาคเรียนแรกให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมแนะนาอาชีพด้วยการ นานักเรียนนักศึกษาใหม่ไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาใหม่ได้รับความรูประสบการณ์นอกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน เพื่อเป็นแรงจูงใจ ประชาสัมพันธ์การศึกษาของผู้เรียนให้ สามารถเล็งเห็นถึงเป้าหมายการศึกษาของการอาชีวศึกษาได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น แผนกวิชาการบัญชีตระหนักถึงความสาคัญของนโยบายสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา จึงได้นานักเรียน นักศึกษาทัศนศึกษาและดูงาน ณ บริษัท จุลไหมไทย จากัด (ไร่กานันจุล) เรื่อง กระบวนการผลิตไหมไทย การบริหารจัดการองค์กร การบัญชี การขายและการตลาด เพื่อให้นักเรียน นักศึกษานาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับประยุกต์ใช้ในการเรียน และเป็นแรงจูงใจในการเรียน ต่อไป วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง ๒. เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา ได้นาความรู้จากประสบการณ์จริงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ อาชีพได้ เป้าหมาย เชิงปริมาณ นักเรียนแผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ระดับชั้น ปวช. จานวน ๗๗ คน ระดับชั้น ปวส. จานวน ๒๘ คน เพื่อศึกษาดูงาน ณ บริษัท จุลไหมไทย จากัด (ไร่กานันจุล) เชิงคุณภาพ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชีได้เข้าชมและศึกษา ความรู้กระบวนการผลิตไหม การบริหารจัดการองค์กร การบัญชี การขายและการตลาด ได้รับ ประสบการณ์ตรง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการเรียน และสามารถนาความรู้ ที่ได้รับนาไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้จากการศึกษา ในสถานประกอบการจริง ๒. นักเรียน นักศึกษา ได้นาความรู้จากประสบการณ์จริงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้

๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

  • Upload
    others

  • View
    11

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

บทที่ ๑ บทน า

ตามท่ีส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้ก าหนดนโยบายการจัดการศึกษาดูงานสถาน

ประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ ของภาคเรียนแรกให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมแนะน าอาชีพด้วยการน านักเรียนนักศึกษาใหม่ไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาใหม่ได้รับความรู้ประสบการณน์อกเหนือจากการเรียนในห้องเรียน เพ่ือเป็นแรงจูงใจ ประชาสัมพันธ์การศึกษาของผู้เรียนให้สามารถเล็งเห็นถึงเป้าหมายการศึกษาของการอาชีวศึกษาได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น แผนกวิชาการบัญชีตระหนักถึงความส าคัญของนโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จงึได้น านักเรียน นักศึกษาทัศนศึกษาและดูงาน ณ บริษัท จุลไหมไทย จ ากัด (ไร่ก านันจุล) เรื่อง กระบวนการผลิตไหมไทย การบริหารจัดการองค์กร การบัญชี การขายและการตลาด เพ่ือให้ นักเรียน นักศึกษาน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับประยุกต์ใช้ในการเรียน และเป็นแรงจูงใจในการเรียนต่อไป วัตถุประสงค์

๑. เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้จากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง ๒. เพ่ือให้นักเรียน นักศึกษา ได้น าความรู้จากประสบการณ์จริงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบ

อาชีพได้ เป้าหมาย เชิงปริมาณ นักเรียนแผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ระดับชั้น ปวช. จ านวน ๗๗ คน ระดับชั้น ปวส. จ านวน ๒๘ คน เพ่ือศึกษาดูงาน ณ บริษัท จุลไหมไทย จ ากัด (ไร่ก านันจุล) เชิงคุณภาพ นักเรียน นักศึกษา แผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชีได้เข้าชมและศึกษาความรู้กระบวนการผลิตไหม การบริหารจัดการองค์กร การบัญชี การขายและการตลาด ได้รับประสบการณ์ตรง สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการเรียน และสามารถน าความรู้ ที่ได้รับน าไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. นักเรียน นักศึกษา ได้รับความรู้จากการศึกษา ในสถานประกอบการจริง ๒. นักเรียน นักศึกษา ได้น าความรู้จากประสบการณ์จริงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพได้

Page 2: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

บทที่ ๒

วรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

นโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามุ่งหวังและต้องการให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดน าไปปฏิบัติและบูรณาการท างานร่วมกัน เพื่อก่อให้เกิดผลการด าเนินงานที่เป็นรูปธรรมตามแนวทางหลัก ๑๒ ข้อ ดังนี้ ข้อ ๑ การเพ่ิมปริมาณผู้เรียน ข้อ ๒ การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาในโรงเรียนมัธยม ข้อ ๓ การเทียบโอนประสบการณ์ คุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพท่ีน าสู่การปฏิบัติ ข้อ ๔ หลักสูตร ๓ แนวทาง (ใช้ ซ่อม สร้าง) ข้อ ๕ ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวธิีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ ข้อ ๖ ความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมและสถานประกอบการ ข้อ ๗ การสร้างผู้ประกอบการใหม่ ข้อ ๘ การพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ ข้อ ๙ คุณธรรมน าวิชาชีพ ข้อ ๑๐ ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการด้านการเงิน บุคลากร และพัสดุ ข้อ ๑๑ การศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ ข้อ ๑๒ การจัดการความรู้ ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการพานักเรียนนักศึกษา ไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗

ครุฑ ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ว่าด้วยการพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗

โดยที่ได้มีพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ให้มีส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นส่วนราชการในส่วนกลาง สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ มีเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นหัวหน้าส่วนราชการ ปฏิบัติราชการข้ึนตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในการนี้ เห็นสมควรวางระเบียบว่าด้วยการพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานที่ เพ่ือถือเป็นหลักปฏิบัติ ฉะนั้น อาศัยอ านาจตามความในมาตรา ๒๙ และมาตรา ๓๐ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ เลขาธกิารคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้

Page 3: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “นักเรียนนักศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งก าลังรับการศึกษาในสถานศึกษา “สถานศึกษา” หมายความว่า วิทยาลัย ศูนย์ หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัยในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า ผู้อ านวยการวิทยาลัย หัวหน้าศูนย์หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าตามกฎหมาย “การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา” หมายความว่า การที่ครู อาจารย์ หรือบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาพานักเรียนนักศึกษาไปเป็นหมู่คณะ จะเป็นเวลาเปิดท าการสอนหรือไม่ก็ตาม และให้หมายความรวมถึงการเดินทางไกล และการอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ ยุวกาชาดและเนตรนารี และการพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานที่ตามระเบียบแบบแผนหรือค าสั่งในทางราชการ “ผู้ควบคุม” หมายความว่า ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ควบคุมนักเรียน และนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา ข้อ ๔ การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา แบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ

(1) การพาไปนอกสถานศึกษาและไม่ค้างคืน (2) การพาไปนอกสถานศึกษาและค้างคืน (3) การพาไปนอกราชอาณาจักร

ข้อ ๕ ผู้อ านาจอนุญาตการพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา ดังนี้ (1) ผู้บริหารสถานศึกษา ส าหรับการพาไปตามข้อ ๔ (๑) และ (๒) (2) เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาส าหรับการพาไปตามข้อ ๔ (๓) ผู้มีอ านาจอนุญาตอาจมอบหมายให้ผู้ด ารงต าแหน่งอ่ืนอนุญาตแทนได้ ในการอนุญาต ให้ผู้มีอ านาจอนุญาตพิจารณาถึงความเหมาะสม กาลเทศะและฤดูกาล

เพ่ือความปลอดภัยในการด าเนินทางประกอบการพิจารณาอนุญาตด้วย ข้อ ๖ ในการขออนุญาตพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษาแต่ละครั้ง ให้ส่งค าขออนุญาต ถึงผู้มีอ านาจอนุญาต และต้องได้รับอนุญาตก่อนเวลาออกเดินทาง โดยให้แนบโครงการที่จะไปนอกสถานศึกษาประกอบการพิจารณาด้วย ข้อ ๗ การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษาทุกประเภทให้ปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ต้องได้รับอนุญาตจากผู้มีอ านาจอนุญาตตามข้อ ๕ ก่อน แบบการขออนุญาตให้ใช้ตามท่ีก าหนดไว้ท้ายระเบียบนี้ (๒) นักเรียน นักศึกษาที่จะไปนอกสถานศึกษาตามข้อ ๔ (๑) ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้บริหารสถานศึกษาว่า ควรจะได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองหรือไม่ ส าหรับการพาไปตามข้อ ๔ (๒) และ (๓) จะต้องได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองเป็นหนังสือตามแบบที่ก าหนดไว้ท้ายระเบียบนี้ (๓) ให้ผู้มีอ านาจอนุญาตตามข้อ ๕ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายแต่งตั้งผู้ควบคุมและ อาจมีผู้ช่วยผู้ควบคุมดูแลรับผิดชอบในการเดินทางตามความเหมาะสม การพาไปนอกสถานศึกษาตามข้อ ๔ (๒) และ (๓) ถ้ามีนักเรียนนักศึกษาหญิงไปด้วย ต้องมีผู้ควบคุมหรือผู้ช่วยผู้ควบคุมท่ีเป็นสตรีเป็นผู้ร่วมควบคุม

Page 4: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

(๔) ผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมต้องช่วยกันควบคุมนักเรียนนักศึกษาให้อยู่ในระเบียบวินัยและต้องใช้ความระมัดระวังเป็นอย่างดี ให้การเดินทางเป็นไปโดยความเรียบร้อยเหมาะสมแก่กาลเทศะ และยานพาหนะที่ใช้เดินทาง ทั้งนี้ เพ่ือความเรียบร้อยและปลอดภัย ห้ามผู้ควบคุม ผู้ช่วยผู้ควบคุมเสพหรือชักชวนให้พนักงานควบคุมยานพาหนะ เสพสุราหรือของมึนเมาอย่างอ่ืนขณะเดินทาง (๕) ผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมควรเป็นผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจหรือได้รับการอบรมเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยตามโอกาสอันควร (๖) ให้ผู้มีอ านาจอนุญาตตามข้อ ๕ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายพิจารณาเส้นทางที่จะเดินทาง วัน-เวลา และเลือกยานพาหนะที่อยู่ในสภาพมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัย โดยก่อนออกเดินทางให้ผู้ควบคุมและผู้ช่วยผู้ควบคุมร่วมกันตรวจสอบสภาพของยานพาหนะที่จะใช้ให้เรียบร้อย และควรมีเครื่องดับเพลิงติดอยู่ด้วย (๗) ให้พิจารณาเลือกพนักงานควบคุมยานพาหนะที่มีประวัติความประพฤติดี มีความช านาญ สุขุมรอบคอบ รู้เส้นทางที่จะไปดี โดยค ารับรองของเจ้าของหรือตัวแทนของเจ้าของยานพาหนะนั้น (๘) ในการเดินทางอาจขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่ต ารวจหรือเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ดูแลรักษาความปลอดภัยในการจราจรได้เท่าท่ีจ าเป็น (๙) ต้องจัดให้มีแผ่นป้ายข้อความในลักษณะแสดงให้เห็นว่า ยานพาหนะนั้นใช้บรรทุกนักเรียนและนักศึกษา (๑๐) ในการเดินทางนักเรียนนักศึกษาต้องแต่งเครื่องแบบ แต่ในบางโอกาสให้ ผู้มีอ านาจอนุญาตตามข้อ ๕ หรือผู้ได้รับมอบหมายพิจารณาอนุญาตให้แต่งกายได้ตามความเหมาะสม ข้อ ๘ ในกรณีเกิดอุบัติเหตุหรือมีเหตุการณ์อ่ืนที่แก้ไขได้โดยยาก ให้ผู้ควบคุมหรือผู้ได้รับมอบหมาย หรือบุคคลอ่ืนใดที่ไปด้วยตามแต่กรณีแห่งความจ าเป็น รายงานให้ผู้บังคับบัญชาผู้อนุญาตหรือผู้บังคับบัญชาชั้นเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้นทราบทันที หากใช้เวลาเดินทางไม่มากให้รีบเดินทางไปรายงานให้ทราบด้วยตนเอง แล้วรายงานเป็นหนังสืออีกครั้งภายในก าหนด ๗ วัน นับแต่เกิดอุบัติเหตุหรือเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น ข้อ ๙ การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษาตามระเบียบนี้ สถานศึกษาอาจวางระเบียบก าหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติไว้ และให้ก าหนดค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้เท่าท่ีจ าเป็น ข้อ ๑๐ การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา เมื่อพากลับมาแล้วให้ผู้ควบคุมรายงานผลการพาไปนอกสถานศึกษาต่อผู้มีอ านาจอนุญาตตามแบบท้ายระเบียบนี้ ข้อ ๑๑ ให้รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทีได้รับมอบหมายรักษาการตามระเบียบนี้ รวมทั้ง ให้มีอ านาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๗

วีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ (นายวีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ)

เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

Page 5: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

ทที่ ๓ วิธีการด าเนินงาน

การด าเนินการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษา โดยด าเนินการตามแนวปฏิบัติการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ ซึ่งแบ่งเป็น ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก ก่อนการศึกษาดูงาน ขั้นตอนที่ ๒ ระหว่างด าเนินการศึกษาดูงาน และข้ันตอนที่ ๓ หลังการศึกษาดูงาน ซึ่งในแต่ละข้ันตอนจะก าหนดงานที่สถานศึกษาควรปฏิบัติไว้ตามล าดับ ดังต่อไปนี้ การเตรียมการก่อนไปศึกษาดูงาน ๑. ให้จัดท าโครงการศึกษาดูงานของนักเรียน ๒. วางแผนการศึกษาดูงาน ๓. ประสานงานกับสถานประกอบการหรือหน่วยงานให้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงานในแต่ละสาขาวิชา รวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ เช่น วัน เวลา และจ านวนนักเรียนนักศึกษาที่จะไปศึกษาดูงาน ฯลฯ ๔. แผนกจัดประชุมผู้ที่เก่ียวข้องตามค าสั่งที่สถานศึกษามอบหมาย เพ่ือสร้างความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการศึกษาดูงาน และจัดครูที่รับผิดชอบให้เหมาะสม ๕. ให้สถานศึกษาจัดประชุมหรือจัดท าเอกสารชี้แจงให้ผู้ปกครองทราบถึงนโยบายและรายละเอียดการศึกษาดูงาน และกรอกแบบขออนุญาตผู้ปกครองพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา (แนบท้ายระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการพานักเรียนนักศึกษา ไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗) ๖. สถานศึกษาต้องปฏิบัติตามระเบียบส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วย การพานักเรียนนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ๗. เวลาที่ใช้ในการศึกษาดูงานในแต่ละสถานประกอบการ/หน่วยงาน ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาและของสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ๘ ต้องมีการประชุมชี้แจงนักเรียนนักศึกษาก่อนไปศึกษาดูงานตามกลุ่มหรือสาขาวิชา ๙. การไปศึกษาดูงานควรใช้เวลาในการเดินทางและเวลาการศึกษาดูงาน ไป – กลับ ได้ภายใน ๑ วัน กรณีมีความจ าเป็นอ่ืน ๆ อาจใช้เวลาในการเดินทางมากกว่านี้ได้ตามความเหมาะสม ๑๐. ให้สถานศึกษาจัดในลักษณะของการบูรณาการการเรียนการสอน หรือกิจกรรมการส่งเสริมการเรียนการสอน ทั้งนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษา ๑๑. ให้สถานศึกษาจัดเตรียมของที่ระลึกเพ่ือมอบให้สถานประกอบการ

การด าเนินการระหว่างศึกษาดูงาน ๑. ให้สถานศึกษาก าชับดูและตรวจสอบยานพาหนะในการเดินทางให้มีความปลอดภัย และเหมาะสม ๒. ให้นักเรียน นักศึกษาเขียนรายงานตามแบบรายงานการศึกษาดูงานที่สถานศึกษาจัดให้ และให้น าส่งครูผู้ควบคุม หลังเสร็จสิ้นการศึกษาดูงานของแต่ละสถานประกอบการหรือหน่วยงาน

๓. ให้สถานศึกษามอบของที่ระลึกให้กับสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ที่เข้าศึกษาดูงาน ๔. ควรให้นักเรียนนักศึกษาที่ไปศึกษาดูงานมีส่วนร่วมในการแสดงออก หรือการกล่าว ขอบคุณสถานประกอบการหรือหน่วยงาน

Page 6: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๕. ให้ครูผู้ควบคุมในแต่ละสาขาวิชาจัดรวบรวมข้อมูลของสถานประกอบการหรือหน่วยงาน ที่ไปศึกษาดูงาน มาเผยแพร่ให้กับนักเรียนนักศึกษากลุ่มอ่ืนๆ ด้วย

การสรุปผลการศึกษาดูงาน ๑. ให้ครูผู้ควบคุมประเมินทัศนคติของนักเรียนนักศึกษาในภาพรวมของนักศึกษาดูงาน โดยสรุปรวมอยู่ในรายงานการไปศึกษาดูงาน หลังสิ้นสุดการไปศึกษาดูงาน

๒. ให้สถานศึกษาจัดท าหนังสือขอบคุณพร้อมเกียรติบัตรให้กับสถานประกอบการหรือ หน่วยงานที่ได้ไปศึกษาดูงาน

๓. แผนกวิชาฯ สรุปผลการศึกษาดูงานและข้อเสนอแนะเพ่ือพัฒนาแนวปฏิบัติในครั้งต่อไป พร้อมทั้งส่งสรุปรายงานทั้งหมดไปยังผู้บริหารสถานศึกษา นอกจากนั้นแผนกวิชาฯ ได้ศึกษาระดับความพึงพอใจ ในการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖ โดยมีรายละเอียด ดังนี้

๑. ประชากร ๒. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ๓. การเก็บรวบรวมข้อมูล ๔. การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วิทยาลัยการอาชีพชนแดน ได้แก่นักเรียนแผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ระดับชั้น ปวช. ๑ จ านวน ๓๘ คน ระดับชั้น ปวช. ๒ จ านวน ๒๕ คน ระดับชั้น ปวช. ๓ จ านวน ๑๔ คน ระดับชั้น ปวส. ๑ จ านวน ๑๗ คน ระดับชั้น ปวส. ๒ จ านวน ๑๑ คน รวม จ านวน ๑๐๗ คน

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบประเมินผลการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษา ซึ่งมี ๓ ตอน คือ

ตอนที่ ๑ เป็นแบบสอบถามที่เก่ียวกับข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมินฯ มีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ (Check-List) มีจ านวน ๓ ข้อ ในประเด็นเพศของผู้ตอบแบบประเมินฯ ระดับชั้นและแผนกวิชาของผู้ตอบแบบแบบประเมินฯ

ตอนที่ ๒ เป็นแบบประเมินฯ แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating-Scale) ซึ่งได้ปรับปรุง มาจากแบบสอบถามการศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของครูวิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี มี ๓ ระดับ คือ

๕ หมายถึง มีความพึงพอใจดีมาก ๔ หมายถึง มีความพึงพอใจดี ๓ หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ๒ หมายถึง มีความพึงพอใจน้อย ๑ หมายถึง มีความพึงพอใจน้อยที่สุด

Page 7: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

โดยมุ่งศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษาต่อการศึกษาดูงานสถานประกอบการ ประกอบด้วยค าถาม ๑๐ ข้อ

ตอนที่ ๓ ข้อเสนอแนะ

การเก็บรวบรวมข้อมูล แผนกวิชาการบัญชี ได้ด าเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ น าแบบประเมินฯ มอบครูผู้ควบคุม เพ่ือแจกนักเรียนนักศึกษาตอบแบบประเมินฯ ต่อจากนั้น ครูผู้ควบคุมรวบรวมส่งแผนกฯ

การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้น าไปวิเคราะห์ ดังนี้ ตอนที่ ๑ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน โดยหาความถ่ี ตอนที่ ๒ วิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือศึกษาระดับความพึงพอใจในการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วิทยาลัยการอาชีพชนแดน โดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ข้อมูล ได้วิเคราะห์ค่าเฉลี่ยเป็นรายข้อ โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้

คะแนนเฉลี่ย ๔.๕๐-๕.๐๐ หมายความว่า ระดับความพึงพอใจมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย ๓.๕๐-๔.๔๙ หมายความว่า ระดับความพึงพอใจมาก คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๐-๓.๔๙ หมายความว่า ระดับความพึงพอใจปานกลาง คะแนนเฉลี่ย ๑.๕๐-๒.๔๙ หมายความว่า ระดับความพึงพอใจน้อย คะแนนเฉลี่ย ๑.๐๐-๑.๔๙ หมายความว่า ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด

Page 8: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

บทที่ ๔ ผลการด าเนินงาน

ตามท่ีส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้ก าหนดนโยบายการจัดการศึกษาดูงาน สถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ของภาคเรียนแรก ให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมแนะน าอาชีพด้วยการน านักเรียนนักศึกษาใหม่ไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการ เพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาใหม่ได้รับความรู้ ประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน แผนกวิชาการบัญชี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยการอาชีพชนแดน จึงได้จัดนักเรยีนแผนกวิชาการบัญชี ระดับชั้น ปวช.๑-ปวช.๓ จ านวน ๗๙ คน ระดับชั้น ปวส.๑-ปวส๒ จ านวน ๒๘ คน คนไปศึกษาดูงานสถานประกอบการ สรุปดังตารางต่อไปนี้ จากเป้าหมายนักเรียน ประจ าภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๖ ระดับปวช. สาขาวิชาการบัญชี

๑. ปวช.๑ จ านวน ๓๘ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๓๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๒. ปวช.๒ จ านวน ๒๗ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๒๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๕๙ ๓. ปวช.๓ จ านวน ๑๔ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๑๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ รวม จ านวน ๗๙ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๗.๔๗

ระดับปวส. สาขาวิชาการบัญชี 1. ปวส.๑ จ านวน ๑๗ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ 2. ปวส.๒ จ านวน ๑๑ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๑๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ รวม จ านวน ๒๘ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

- ครูผู้ควบคุม จ านวน ๕ คน เข้าร่วมโครงการฯ จ านวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

นอกจากนั้น แผนกวิชาการบัญชี ได้ด าเนินการส ารวจและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อศึกษาความพึง พอใจในการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๖ เพ่ือจะได้น าข้อมูล มาปรับปรุงการด าเนินการศึกษาดูงานในโอกาสต่อไป

๒๐

Page 9: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

ผลการศึกษาความพึงพอใจในการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนสรุปได้ดังตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไป

รายการ จ านวน (N=๙๕) ร้อยละ เพศ ชาย ๓ ๒.๖๘ หญิง ๑๐๒ ๙๑.๑๔

รวม ๑๐๕ ๑๐๐ นักเรียนแผนกวิชา ช่างยนต์ ๐ ๐ ช่างไฟฟ้า ๐ ๐ ช่างอิเล็กทรอนิกส์ ๐ ๐ การบัญชี ๑๐๕ ๑๐๐ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ๐ ๐

รวม ๑๐๕ ๑๐๐ ระดับชั้น ปวช. ๗๗ ๗๓.๓๓ ปวส. ๒๘ ๒๖.๖๗

รวม ๑๐๕ ๑๐๐ จากตารางที่ ๑ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ๑๐๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๑๕ เพศชาย ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๖๘ เป็นนักเรียนแผนกวิชาการบัญชีทั้งหมด จ านวน ๑๐๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ แบ่งเป็นระดับชั้นปวช. จ านวน ๗๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๓.๓๓ ระดับชั้น ปวส. จ านวน ๒๘ คิดเป็นร้อยละ ๒๖.๖๗

Page 10: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๐

ตารางท่ี ๒ ด้านความพึงพอใจในการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการ

รายการ SD ล าดับ ความหมาย

๑. นักเรียนนักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่องของอาชีพ ๔.๒๖ ๐.๗๒ ๔ มาก ๒. นักเรียนนักศึกษาได้สัมผัสกับสภาพการปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ๔.๓๐ ๐.๖๙ ๑ มาก

๓. สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้ ๔.๒๗ ๐.๗๕ ๓ มาก

๔. เป็นการเพ่ิมพูนความรู้ในวิชาชีพที่ตนศึกษา ๔.๑๔ ๐.๗๑ ๖ มาก

๕. เป็นแนวทางในการเลือกประกอบอาชีพที่ตนเองเลือกศึกษา ๔.๒๕ ๐.๗๘ ๕ มาก

๖. เป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ ๔.๓๐ ๐.๑๗ ๒ มาก

รวมผล ๔.๒๕ มาก

จากตารางท่ี ๒ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นด้านความพึงพอใจในการจัดการศึกษาดูงาน สถานในภาพรวม ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๔.๒๕ มีความพึงพอใจมาก พิจารณารายด้าน ข้อที่มีระดับความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนนักศึกษาได้สัมผัสกับสภาพการปฏิบัติงานในสถานประกอบการจริง ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๔.๓๐ รองลงมาคือ เป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้ นักเรียนนักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงในเรื่องของอาชีพ และเป็นแนวทางในการเลือกประกอบอาชีพที่ตนเลือกศึกษา ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๔.๓๐, ๔.๒๗, ๔.๒๖, ๔.๒๖ ตามล าดับ ส่วนข้อที่มีความคิดเห็นต่ าสุดแต่มรีะดับความพึงพอใจมาก คือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ในวิชาชีพที่ตนศึกษา ค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๔.๑๔ ด้านที่ ๓ ความคิดเห็นทั่วไป

๑. อยากให้มีกิจกรรมทัศนศึกษาดูงานทุกปี ๒. ปีการศึกษาหน้าอยากให้จัดไปทัศนศึกษาต่างจังหวัด

X

Page 11: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๑

บทที่ ๕ สรุปผล

จากนโยบายส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้อ ๑๑ เรื่องการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษาใหม่ แผนกวิชาการบัญชีได้ด าเนินการจัดการศึกษาดูงาน บริษัท จุลไหมไทย จ ากัด (ไร่ก านันจุล) ต.วังชมภู อ.วังชมภู จ.เพชรบูรณ์ ในวนัที่ ๒๘ สิงหาคม ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๖ การของนักเรยีนระดับชั้น ปวช. ๑-ปวช.๓ และ ปวส.๑-ปวส.๒ เสร็จสิ้นแล้ว และสรุปผลตามแบบรายงานผลการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการ ดังนี้

แบบรายงานการศึกษาดูงานสถานประกอบการ ของนักเรียนนักศึกษา ประจ าปีการศึกษา ๒๕๕๖

ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน

๑๑ ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยการอาชีพชนแดน อาชีวศึกษาจังหวัดเพชรบูรณ์ ๑.๒ ระดับท่ีเปิดสอน () ระดับ ปวช. ( ) ระดับ ปวส.

ตอนที่ ๒ ข้อมูลการศึกษาดูงานฯ

๒.๑ จัดได้ภายในระยะเวลาที่ก าหนดหรือไม่ () จัดได้ ( ) จัดไม่ได้ เพราะ -

๒.๒ จ านวนนักศึกษา ๑) ระดับ ปวช. () จ านวนที่ไป ๗๙ คน () จ านวนที่ไม่ได้ไป ๒ คน เพราะนักศึกษาลาป่วย ลากิจ ๒) ระดับ ปวส. () จ านวนที่ไป ๒๘ คน ( ) จ านวนที่ไม่ได้ไป - คน

๒.๓ สรุปผลการประเมินทัศนคติของนักเรียนนักศึกษาในภาพรวม - นักเรียนได้เรียนรู้นอกสถานที่ - นักเรียนได้รับการเสริมสร้างความรู้ ประสบการณ์จากการแนะแนวการสอนวิชาชีพ - นักเรียนน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับประยุกต์ใช้ในการเรียน - ท าให้นักเรียนมีทักษะในวิชาชีพมากขึ้น - ท าให้นักเรียนรู้จักมารยาทในสังคม เช่น การไหว้ทักทาย และการอยู่ร่วมกับสังคม

๒.๔ ปัญหาอุปสรรค / ข้อเสนอแนะ - ไปปีการศึกษาหน้าอยากไปต่างจังหวัด - อยากให้มีการจัดกิจกรรมศึกษาดูงานทุกปี ตอนที่ ๓ การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลัก ๓ ห่วง

๑. ความพอประมาณ ๑.๑ พอประมาณเรื่องการใช้ยานพาหนะ

Page 12: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๒

๒. ความมีเหตุผล ๒.๑ นักเรียนได้รับการเสริมสร้างความรู้ ประสบการณ์จากการแนะแนวการสอนวิชาชีพ

๓. การสร้างภูมิคุ้มกัน ๓.๑ นักเรียนน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาปรับประยุกต์ใช้ในการเรียน เช่น การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ การจัดแสดงสินค้า

๓.๒ ท าให้นักเรียนมีทักษะในวิชาชีพมากขึ้น ๓.๓ ท าให้นักเรียนรู้จักมารยาทในสังคม เช่น การไหว้ การทักทาย หลัก ๒ เงื่อนไข เงื่อนไขความรู้

1. นักเรียนได้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตไหมไทย การจัดแสดงสินค้า เงื่อนไขคุณธรรม

1. ความตรงต่อเวลา 2. ความรับผิดชอบ 3. ความมีระเบียบวินัย 4. ความสนใจใฝ่รู้

Page 13: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๓

ค าน า

ตามที่ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้ก าหนดนโยบายการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียน นักศึกษาใหม่ ของภาคเรียนแรกให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมแนะน าอาชีพด้วยการน านักเรียนนักศึกษาไปศึกษาดูงานในสถานประกอบการเพ่ือให้นักเรียนนักศึกษาได้รับความรู้ ประสบการณ์จากการศึกษาดูงาน เพ่ือสนองนโยบายส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วิทยาลัยการอาชีพชนแดน โดยแผนกวิชาการบัญชี จึงได้ด าเนินการจัดการศึกษาดูงานสถานประกอบการของนักเรียนนักศึกษาในระดับ ปวช. ๑-ปวช. ๓ และ ปวส. ๑-ปวส. ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๖ และส าเร็จลงได้ด้วยการได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากครูผู้ควบคุมทุกท่าน ตัวแทนจากสถานประกอบการ ตลอดจนนักเรียนนักศึกษาทุกคนที่ได้ตอบแบบประเมิน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ นางโสภา โคหนองใฮ

แผนกวิชาการบัญชี สิงหาคม ๒๕๕๖

Page 14: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๔

สารบัญ

หน้า

บทที่ ๑ บทน า ๑ บทที่ ๒ วรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ๒ บทที่ ๓ วิธีการด าเนินงาน ๕ บทที่ ๔ ผลการด าเนินงาน ๘ บทที่ ๕ สรุปผล ๑๑ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก

Page 15: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๕

เอกสารอ้างอิง

ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. เอกสารแนวปฏิบัติการจัดการศึกษาดูงาน สถานประกอบการ. (มปป.)

Page 16: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๖

รายงานการศึกษาดูงานบริษัท จุลไหมไทย จ ากัด (ไร่ก านันจุล)

ต.วังชมภู อ.วังชมภู จ.เพชรบูรณ์ วันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๖

แผนกวิชาการบัญชี วิทยาลัยการอาชีพชนแดน ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

กระทรวงศึกษาธิการ

Page 17: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๗

ภาคผนวก

Page 18: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๘

รูปภาพการเข้าร่วมกิจกรรม โครการทัศนศึกษาและดูงาน

บริษัท จุลไหมไทย จ ากัด (ไร่ก านันจุล) วันที่ 28 สิงหาคม 2556

Page 19: ๑ บทที่ ๑ บทน า - chondaen.ac.th · ๑ บทที่ ๑ ... รับความรูจากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง

๑๙