58
\\siranee\งานทุน\ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ \คูมือ 90 \สารบัญ 90 .doc คูมือการรับทุน 90 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุนที12 (2/2553) งานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

90 ป จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุ นที่ ... · \\siranee\งานทุน\ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ

  • Upload
    others

  • View
    2

  • Download
    0

Embed Size (px)

Citation preview

\\siranee\งานทุน\ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ\คูมือ 90 ป\สารบัญ 90 ป.doc

คูมือการรับทุน

90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรชัดาภิเษกสมโภช

รุนท่ี 12 (2/2553)

งานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

\\siranee\งานทุน\ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ\คูมือ 90 ป\สารบัญ 90 ป.doc

คํานํา

ดวยบัณฑิตวิทยาลัยไดดําเนินการจัดสรรทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภชใหอาจารยและนิสิตระดับปริญญาเอก-โท เพื่อสนับสนุนการสรางผลงานวิจัยคุณภาพสูง ตามท่ีไดรับมอบหมายจากมหาวิทยาลัย ต้ังแตปการศึกษา 2549 และการจัดสรรทุนนี้มีระยะเวลาและขอกําหนดเกี่ยวกับการขอรับทุน การเบิกจายเงินทุน การบันทึกขอมูลสารเคมี การตีพิมพผลงานวิจัยตามเง่ือนไขการรับทุน เปนตน การจัดสรรทุนดังกลาวตองดําเนินการใหทันภายในระยะเวลาที่กําหนดไว ดังนั้นเพื่อใหการขอรับทุนเปนไปตามวตัถุประสงคและมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน จึงไดจัดทําคูมือการขอรับทุนเลมนี้สําหรับผูรับทุนพรอมท้ังผูท่ีเกี่ยวของใชประกอบการขอรับทุน ซ่ึงจะเปนประโยชนตอผูรับทุนตลอดระยะเวลาการรับทุน

ท้ังนี้ขอกําหนดของการรับทุนอาจมีการเปล่ียนแปลงไดข้ึนอยูกับดุลพินิจของบัณฑิตวิทยาลัย

งานบริการการศึกษา 12 พฤษภาคม 2553

\\siranee\งานทุน\ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธ\คูมือ 90 ป\สารบัญ 90 ป.doc

สารบัญ

หนา 1. การจัดสรรทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย …………………………………………………….. 1 2. วิธีการสมัครขอรับทุน........................................................................................................................ 1 3. การทําขอตกลงการรับทุน…………………………………………………………………………... 1 4. ระหวางการรับทุน............................................................................................................................... 2 5. เม่ือผูรับทุนสําเร็จการศึกษา................................................................................................................ 5 6. การติดตอกับบัณฑิตวิทยาลัย............................................................................................................... 5 7. ภาคผนวก

1) ประกาศจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ืองหลักเกณฑการสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2550 ..................................................................

7

2) ประกาศจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ืองหลักเกณฑการสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 ...............................................

10

3) ข้ันตอนการเบิกจายเงินทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รุนท่ี 11 (1/2553)จากโครงการใน แผนพัฒนาทางวิชาการ จฬุาลงกรณมหาวทิยาลัย 2551-2555 และกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช.....

11

4) อัตราคาธรรมเนียมธนาคารในการจายเงินผานระบบบริการโอนเงินเขาบัญชีผูรับเงิน................. 12 5) ขอตกลงในการรับ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.............................................................................................................

13

6) ระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย.......................... 14 7) แบบรายงานความกาวหนาการทําวิทยานพินธ............................................................................. 22 8) แบบรายงานผลงานทางวิชาการและผลการศึกษาของนสิิตผูรับทุน............................................. 23 9) รายงานสรุปการใชจายเงินทุน...................................................................................................... 24 10) คํารองท่ัวไป................................................................................................................................. 25 11) รหัสเขตตามหนาท่ีของผูรับทุน.................................................................................................... 26 12) ข้ันตอนการรบัทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย ...................................................................... 27 13) ใบรับรองการตรวจสอบลงนามโดยผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานฯ (ตัวอยาง) ... 28

1. การจัดสรรทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

1.1 วัตถุประสงคและเปาหมาย ดวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีนโยบายสนับสนุนการสรางผลงานวิจัยคุณภาพสูงที่สามารถเผยแพรใหเกิดประโยชนหรือสรางช่ือเสียงใหแกมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ ผสมผสานกับกระบวนการในการสรางบัณฑิตในระดับบัณฑิตศึกษา จึงเห็นควรจัดสรรงบประมาณ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” เพ่ือสนับสนุนงานวิจัยที่เนนการทํางานอยางใกลชิดระหวางอาจารยและนิสิต ในเรื่องที่อาจารยที่ปรึกษามีความเช่ียวชาญและทํางานวิจัยมาอยางตอเน่ือง โดยอาจารยที่ปรึกษาทําหนาที่ดูแลและกํากับงานวิจัยเพ่ือใหวิทยานิพนธดําเนินไปตามเปาหมายจนไดรับการตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติหรือเทียบเทา ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช เปนทุนที่มหาวิทยาลัยมอบหมายใหบัณฑิตวิทยาลัยดําเนินการจัดสรรทุนจากเงินงบประมาณกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช และงบเงินทุน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 100 ปใหแกอาจารยและนิสิตระดับปริญญาโท-เอก ต้ังแตปการศึกษา 2549 เปนตนไป โดยมีเปาหมาย สงเสริมผลงานวิทยานิพนธใหไดรับการตีพิมพลงวารสารระดับนานาชาติและระดับชาติที่มีผูประเมินมากขึ้น

1.2 วิธีการพิจารณาและจํานวนเงินทุนท่ีจัดสรร สงโครงรางวิทยานิพนธของผูขอรับทุนใหผูทรงคุณวุฒิประเมิน (ผูทรงคุณวุฒิประเมิน 2 ทานตอ 1 โครงการ) โดยมีจํานวนเงินที่จัดสรร ดังน้ี 1. งานวิจัยที่ใชวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ปริญญาเอก ระหวาง 80,000 - 250,000 บาท/ 1 เรื่องวิทยานิพนธ ปริญญาโท ระหวาง 40,000 - 150,000 บาท/ 1 เรื่องวิทยานิพนธ 2. งานวิจัยอื่น ๆ ที่ไมใชวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ปริญญาเอก ระหวาง 40,000 - 150,000 บาท/ 1 เรื่องวิทยานิพนธ ปริญญาโท ระหวาง 20,000 - 80,000 บาท/ 1 เรื่องวิทยานิพนธ นอกจากนี้ยังมีเงินคาสมนาคุณสําหรับอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธในการกํากับดูแลการทําวิทยานิพนธของนิสิต และการเขียนบทความพรอมที่ตีพิมพลงวารสาร จํานวน 12,000 บาท/1 เรื่องวิทยานิพนธ

2. วิธีสมัครขอรับทุน 2.1 ใหกรอกขอมูลใบสมัคร Online ทางอินเทอรเนต จาก http:// www. grad.chula.ac.th (เมนูทุนอุดหนุนการศึกษาและวิจัย) ตามระยะเวลาที่กําหนดไวในประกาศ โดยบันทึกขอมูลลงในฐานขอมูลการสมัคร และ Attach File โครงรางวิทยานิพนธ รายละเอียดคาใชจาย พรอมทั้งสรุปประเด็นตามหัวขอที่กําหนดใหถูกตอง และในการ Attach File ตองเปนไฟล PDF เทาน้ัน (รวมไฟลโครงราง รายละเอียดคาใชจาย และสรุปประเด็นเปนไฟลเดียวกัน) 2.2 Print ใบสมัคร พรอมทั้งแนบหลักฐานประกอบการสมัคร และสงอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธเพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบกอนสงใบสมัคร 2.3 ใหสงใบสมัครภายใน 3 วันทําการ นับจากวันที่สมัครผานเว็บไซต ถาไมสงใบสมัครตามเวลาที่กําหนดจะถือวายกเลิกการสมัคร 2.4 สงใบสมัครได ที่หนวยสงเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย โทร. 0 2218 3502 - 5 2.5 บัณฑิตวิทยาลัยจะไมรับใบสมัครของผูที่ไมไดกรอกขอมูลผานทางอินเทอรเนต หากมีปญหาในการกรอกขอมูลโปรดแจงบัณฑิตวิทยาลัย ภายในระยะเวลาที่กําหนด

3. การทําขอตกลงการรับทุน ผูรับทุนทั้งอาจารยที่ปรึกษาและนิสิตตองทําขอตกลงการรับทุนหลังจากวันประกาศผลการพิจารณาทุน ภายใน 2 สัปดาห โดยบัณฑิตวิทยาลัยจะแจงใหอาจารยที่ปรึกษาผูรับทุนทราบโดยตรง

2 4. ระหวางการรับทุน 4.1 การเบิกจายเงินทุนจะแบงจายเปน 2 งวดดังน้ี 1) งานวิจัยเพ่ือวิทยานิพนธระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิต งวดท่ี 1 รอยละ 50 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากลงนามในขอตกลง งวดท่ี 2 รอยละ 50 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากสงรายงานความกาวหนาและไดรับการรับรองจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ประธานหลักสูตร และรองคณบดี หรือไดรับการรับรองตามแบบรายงานความกาวหนา 2) งานวิจัยเพ่ือวิทยานิพนธระดับปริญญามหาบัณฑิต งวดท่ี 1 รอยละ 80 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากลงนามในขอตกลง งวดที่ 2 รอยละ 20 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากสงรายงานความกาวหนาและไดรับการรับรองจากอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ประธานหลักสูตร และรองคณบดี หรือไดรับการรับรองตามแบบรายงานความกาวหนา ในกรณีที่มีความจําเปนตองใชจายเงินทุนมากกวางวดเงินที่กําหนดไว ใหขออนุมัติเปนรายกรณีพรอมระบุเหตุผลความจําเปน การเบิกจายเงินสมนาคุณสําหรับอาจารยที่ปรึกษาผูรับทุน เรื่องละ 12,000 บาท จะจาย เมื่อมีบทความพรอมที่จะตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติหรือระดับชาติแลว การจายเงินทุน (รายละเอียดอยูในภาคผนวก) กรณีผูรับทุนวิจัยมหาบัณฑิต สกว. โครงการ Window II จะจายเงินทุนตามแผนการจายเงินทุนของสกว.

4.2 แนวทาง ในการลงทะเบียนและใชงานโปรแกรมการจัดการสารเคมี Chem Track 2009 4.2.1 หลักการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีนโยบายใหจัดทําระบบฐานขอมูลและระบบการจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายรูปแบบกลางของมหาวิทยาลัย เพ่ือสนับสนุนใหมีการดําเนินการวิจัยที่ปลอดภัยทั้งตอสุขภาพและสิ่งแวดลอมและสนับสนุนให คณะ/ สถาบัน รวมถึงคณาจารย นักวิจัยที่ไดรับทุนอุดหนุนจากเงินทุนของจุฬาลงกรณทุกประเภท ทุกหนวยงาน ที่มีการใชสารเคมีในการเรียน การสอน การวิจัย ดําเนินการบันทึกขอมูลสารเคมีที่จัดซื้อและการกําจัดของเสียอันตรายจากหองปฏิบัติการเขาสูระบบฐานขอมูลตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด ในเบ้ืองตนบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดสนับสนุนตามนโยบายของมหาวิทยาลัยโดยมีการติดตามและขอความรวมมือไปยังคณาจารยและนิสิตที่ไดรับทุนสนับสนุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ใหสมัครและบันทึกขอมูลสารเคมีและของเสียอันตรายเขาสูฐานขอมูลกลางของมหาวิทยาลัย (โปรแกรม ChemTrack และ WasteTrack) และเพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปอยางตอเน่ืองและเปนรูปธรรม บัณฑิตวิทยาลัยจึงกําหนดแนวทางปฏิบัติสําหรับการติดตามผลการปฏิบัติงานดานน้ีสําหรับผูไดรับทุน โดยระยะแรกมีขอบเขตสําหรับผูไดรับทุน 90 ป จุฬา ฯ

4.2.2 จุดประสงค 1) เพ่ือใหมีแนวทางการติดตามผูที่ไดรับทุน 90 ป จุฬาฯ ที่เก่ียวของกับการใชสารเคมีสําหรับการวิจัยไดมีการดําเนินงานดานการจัดทําระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายอยางเปนรูปธรรมและเปนไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย 2) เพ่ือสนับสนุนใหผูที่ไดรับทุน 90 ป จุฬาฯ เกิดความตระหนักและเห็นความสําคัญของการบันทึกขอมูลสารเคมีเขาสูโปรแกรมการจัดการสารเคมี ChemTrack และบันทึกขอมูลของเสียเขาสูโปรแกรมการจัดการของเสียอันตราย WasteTrack ที่จะชวยสนับสนุนใหมีการดําเนินการวิจัยที่ปลอดภัย

3 4.2.3 ขอตกลงสําหรับการรับทุน 90 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช บัณฑิตวิทยาลัยไดกําหนดไวในขอตกลงในการรับทุน 90 ป จุฬาฯ กรณีที่มีการใชสารเคมีในงานวิจัย ผูรับทุนตองดําเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัยดานการใชสารเคมีของมหาวิทยาลัยอยางเครงครัด และตองบันทึกขอมูลการใชสารเคมีทั้งหมดลงในฐานขอมูล Chemtrack/ Wastetrack ของมหาวิทยาลัยอยางครบถวน พรอมทั้งจะตองสงใบรับรองการตรวจสอบการบันทึกขอมูลสารเคมีเขาสูโปรแกรม ChemTrack ใหกับบัณฑิตวิทยาลัยประกอบการพิจารณาเพ่ืออนุมัติทุนสนับสนุนการวิจัยและอนุมัติการเบิกจายในงวดที่ 2 ซึ่งขั้นตอนการไดมาของหนังสือรับรอง ดังน้ี 1) ทีมงานจากคณะกรรมการดําเนินงานดานการจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เปนผูตรวจสอบหองปฏิบัติการตามที่มีการรองขอจากหัวหนาหองปฏิบัติการ (อาจารย นักวิจัย เจาหนาที่) และออกใบรับรองการตรวจสอบ ลงนามโดยผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสียอันตราย 2) เมื่อไดรับใบรับรอง ใหหัวหนาหองปฏิบัติการนําใบรับรอง (ตัวจริง) จัดสงใหบัณฑิตวิทยาลัย พรอมกับรายงานความกาวหนาของทุนฯ เพ่ือประกอบการอนุมัติทุนในรอบตอไป และใบรับรอง (สําเนา) ติดไวที่หนาหองปฏิบัติการ 4.2.4 ขั้นตอนการดําเนินงานสําหรับผูไดรับทุน (ในกรณีที่ผูรับทุนทํางานวิจัยและใชสารเคมี) 4.2.4.1 การสมัครใชโปรแกรม สําหรับผูไดรับทุนที่ยังไมเคยสมัครโปรแกรม ChemTrack ปฏิบัติดังน้ี 1) ดาวนโหลดใบสมัครขอใชโปรแกรม ChemTrack จากเว็บไซตระบบการจัดการขอมูลสารเคมี ChemTrack (http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack) หัวขอ “สมัครใชงาน” 2) กรอกรายละเอียดตามใบสมัคร - เปดคลังโดยใชช่ืออาจารยที่ปรึกษา เปนช่ือคลังสารเคมี โดยอาจจะกําหนดสถานภาพของอาจารยที่ปรึกษาเปน “ผูบริหาร” ซึ่งจะไมสามารถเพ่ิม/ เบิก/ แกไข รายการสารเคมีใด ๆ ได แตสามารถดูรายงานสารเคมีภายในคลังสารเคมีของตนเองได หรือจะกําหนดสถานภาพเปน “ผูบันทึกสาร” ก็ได และกําหนดนิสิตหรือเจาหนาท่ีเปน “ผูบันทึกสาร” รวมดวย ทั้งน้ีนิสิตจะตองระบุช่ือโครงการที่ไดรับทุนลงในใบสมัครดวย 3) สงใบสมัครทางอีเมล [email protected] 4) เจาหนาที่จะจัดสงรหัสผูใชและรหัสผานเพ่ือล็อกอินเขาสูระบบ ภายใน 2 - 3 วัน 5) เมื่อไดรับรหัสแลว สามารถเร่ิมใชงานไดทันที สําหรับอาจารยผูไดรับทุน ซึ่งไดเปดคลังสารเคมีไวแลว ไมจําเปนตองเปดคลังใหมอีก แตอาจจะเพ่ิมช่ือนิสิตที่ไดรับทุน 90 ป จุฬาฯ ครั้งใหม เปน ผูบันทึกสาร ของคลังสารเคมีเพ่ิมเติมได โดยแจงความจํานงมาทางอีเมล [email protected] ในกรณีที่ผูรับทุนใชสารเคมี แตไปใชที่หนวยงานภายนอก ไมไดใชในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไมตองสมัครใชโปรแกรม ChemTrack เพ่ือบันทึกขอมูลการใชสารเคมี แตผูรับทุนตองแจงใหบัณฑิตวิทยาลัยทราบดวย โดยใหแจงมาพรอมกับการรายงานความกาวหนาการทําวิทยานิพนธ เพ่ือเปนขอมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติการเบิกจายเงินทุนในงวดที่ 2 4.2.4.2 การบันทึกขอมูลสารเคมี วิธีการบันทึกขวดสารเคมีซึ่งไดรับทุนวิจัยมาจากทุน 90 ป จุฬา ฯ ของบัณฑิตวิทยาลัย ผูบันทึกสารตองปฏิบัติดังน้ี 1) เมื่อเขาสูหนาหลักของ “การเพ่ิมขวดสารเคมี” จะตองเลือกแหลงเงินทุน “ทุนบัณฑิตวิทยาลัย” 2) เมื่อปรากฏ “แหลงเงินทุนยอย” ใหเลือก “ทุน 90 ป จุฬา ฯ” 3) ใสรหัสโครงการของตนเอง (รหัสโครงการอยูในภาคผนวก) 4) กรอกขอมูลอื่น ๆ ตามขั้นตอนการบันทึกขอมูลสารเคมี (ดาวนโหลดคูมือการใชโปรแกรม ChemTrack 2009 ไดทาง http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack)

4 รูปภาพแสดงหนาหลักการเพ่ิมขวดสารเคมี ผูไดรับทุนตองเลือกแหลงเงินทุนหลัก แหลงเงินทุนยอย และรหัสโครงการ

4.2.4.3 เง่ือนไขการรับทุนงวดตอไปของบัณฑิตวิทยาลัย ตามขอกําหนดของบัณฑิตวิทยาลัย กําหนดใหผูไดรับทุนสงใบรับรองการบันทึกขอมูลสารเคมีเขาสูโปรแกรม ChemTrack กอนที่จะรับทุนต้ังแตงวดท่ี 2 เปนตนไป ดังน้ันกอนที่จะรับทุนสนับสนุนงวดตอไป ขอใหหัวหนาหองปฏิบัติการ (อาจารยหรือนิสิตที่ไดรับทุนหรือเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายของคลังสารเคมี) ดําเนินการตอไปน้ี 1. ติดตอทีมงานจากคณะกรรมการดําเนินงานดานการจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายไป ตรวจสอบหองปฏิบัติการตามที่ลงทะเบียนไว โดยดาวนโหลด “ใบคํารองเพ่ือขอรับการ ตรวจสอบ” จากหนาดาวนโหลดเอกสาร ของเว็บไซต ระบบการจัดการขอมูลสารเคมีChemTrack 2. พิมพใบคํารองสงมาทาง อีเมล [email protected] 3. ทีมงานนัดหมายวันที่จะไปตรวจสอบ โดยจะตรวจสอบตามใบรายงานสําหรับการตรวจสอบ และเมื่อตรวจสอบเรียบรอยแลว จะออกใบรับรองซึ่งลงนามโดยผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศ แหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสียอันตราย 4. เมื่อหัวหนาหองปฏิบัติการไดรับใบรับรองแลว ใหนําใบรับรอง (ตัวจริง) จัดสงให บัณฑิตวิทยาลัยพรอมกับรายงานความกาวหนาของทุนฯ เพ่ือประกอบการอนุมัติทุนในรอบ ตอไป และใบรับรอง (สําเนา) ติดไวที่หนาหองปฏิบัติการ หมายเหตุ เจาหนาที่หองปฏิบัติการควรศึกษารายการท่ีคณะกรรมการดําเนินงานฯ จะตรวจสอบจาก “ใบรายงานสําหรับตรวจสอบ” ในเอกสารดาวนโหลด (http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack) เพ่ือเตรียมความพรอม 4.2.4.4 เม่ือผูรับทุนสําเร็จการศึกษาหรือสิ้นสุดโครงการ หลังจากนิสิตซึ่งเปน “ผูบันทึกขอมูล” จบการศึกษาหรือสิ้นสุดโครงการแลว สามารถยกเลิกเปนผูใชโดยแจงความประสงคมาทางอีเมล [email protected] ทั้งน้ีไมจําเปนตองปดคลังสารเคมี เพ่ือใหเจาของคลังสารเคมียังคงสามารถใชงานและเก็บขอมูลขวดสารเคมีตอไปได ดูรายละเอียดของระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายเพ่ิมเติมไดจากภาคผนวก และการติดตอศูนยความเปน เ ลิศแหงชาติฯ สามารถติดตอไดที่ เ ว็บไซตระบบการจัดการขอมูลสาร เคมี ChemTrack: http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack/ เบอรติดตอ: 0-2218-3962 อีเมล: [email protected]

5 4.3 การสงผลงานตามเง่ือนไขการรับทุน

1) ผูรับทุนระดับปริญญาเอกตองสงบทความท่ีไดรับการตอบรับเพ่ือการตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันที่สําเร็จการศึกษา และหรือผูรับทุนระดับปริญญาโทตองสงบทความพรอมที่จะตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันที่สงวิทยานิพนธ จากน้ันผูรับทุนตองสงบทความท่ีไดรับการตีพิมพเผยแพรแลว ใหบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 2 ป นับต้ังแตวันที่นิสิตสําเร็จการศึกษา 2) อาจารยที่ปรึกษาจะขอรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดอีกก็ตอเมื่อไดมีการสงผลงานตีพิมพจากวิทยานิพนธของนิสิตที่ไดรับทุนในความดูแลของอาจารยที่ปรึกษา ไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนนิสิต ที่สําเร็จการศึกษาแลว 3) ภายในระยะเวลา 2 ป หลังจากที่นิสิตระดับบัณฑิตศึกษาในความดูแลของผูรับทุนไดสําเร็จการศึกษา อาจารยผูรับทุนตองสงผลงานตีพิมพจากวิทยานิพนธของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาในความดูแลของผูรับทุนที่ไดเผยแพร ดังน้ี - สายวิทยาศาสตร ระดับปริญญาดุษฎบีัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต จะตองไดรับการตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ - สายสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร ระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต จะตองไดรับการตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติหรือระดับชาติที่มีผูประเมิน 4.4 การตีพิมพผลงานวิจัย ตองระบุช่ือเปน corresponding author และระบสุังกัดของผูวิจัยหลักซึ่งเปนนิสิตวาสังกัด จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อีกทั้งระบุไวในกิตติกรรมประกาศวาไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช (THE 90

thANNIVERSARY OF CHULALONGKORN UNIVERSITY FUND

( Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund) ) 4.5 ผูรับทุนตองนําผลงานวิจัยลงตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีไดระบุชื่อไวในใบสมัครขอรับทุน หากมีความจําเปนตองเปล่ียนแปลงรายการวารสารท่ีจะตีพิมพ จะตองแจงใหบัณฑิตวิทยาลัยทราบพรอมเหตุผล 4.6 ผูรับทุนตองมอบอุปกรณครุภัณฑท่ีจัดซื้อโดยเงินทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถือเปนกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัย ใหหนวยงานท่ีอาจารยผูรับทุนสังกัดเปนผูดําเนินการจัดซื้อตามระเบียบวาดวยการพัสดุที่มหาวิทยาลัยใชบังคับขณะที่ใชประกาศ เรื่องหลักเกณฑการสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2550 ผูวิจัยมีสิทธิ์ใชครุภัณฑดังกลาวในระหวางที่โครงการวิจัยยังไมเสร็จสิ้น หลังจากน้ันผูวิจัยจะตองสงมอบครุภัณฑใหกับหนวยงานที่อาจารยผูรับทุนสังกัด เวนเสียแตจะมีการตกลงกันเปนอยางอื่น 4.7 เง่ือนไขของการสนับสนุน 1) การสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” น้ีเปนการใหทุนแบบองครวม เพ่ือสนับสนุนใหอาจารยที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตามประกาศ เรื่องหลักเกณฑการสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรชัดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2550 ขอ 3 และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาในความดูแลทํางานวิจัยรวมกัน โดยมีอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลักเปนผูรับทุน 2) ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย น้ันตองใชจายเพ่ือดําเนินการวิจัยตามโครงรางวิทยานิพนธของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาที่ไดรับอนุมัติใหไดรับทุนในความดูแลของอาจารยที่ปรึกษาที่ผานการอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารคณะ/สํานักวิชา/วิทยาลัย/คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสหสาขาวิชา หรือเทียบเทาแลว 3) ผูรับทุนแตละคนจะไดรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในขณะเดียวกันไดไมเกิน 5 ทุน 5. เม่ือผูรับทุนสําเร็จการศึกษา สงผลงานการตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัย ตามเง่ือนไขการรับทุน ภายในเวลาที่กําหนด 6. การติดตอกับบัณฑิตวิทยาลัย 1. การขอรับทุน 0-2218-3502-5 2. การเบิกเงิน 0-2218-35033 ตอ 39

ภาคผนวก

(สําเนา)

ประกาศจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง หลักเกณฑการสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย”

กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2550

______________________

ดวย จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย มีนโยบายสนับสนุนการสรางผลงานวจิัยคุณภาพสูงที่สามารถเผยแพรใหเกดิ

ประโยชนหรอืสรางชือ่เสียงใหแกมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาต ิ ผสมผสานกบักระบวนการในการสรางบัณฑิตใน

ระดับบัณฑิตศกึษา จึงเห็นควรจัดสรรงบประมาณ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” เพื่อสนบัสนุนงานวิจยัที่เนน

การทํางานอยางใกลชิดระหวางอาจารยและนสิิต ในเรือ่งทีอ่าจารยทีป่รึกษามีความเชี่ยวชาญและทํางานวิจัยมาอยาง

ตอเนื่อง โดยอาจารยทีป่รึกษาทําหนาที่ดูแลและกาํกับงานวจิัยเพือ่ใหวิทยานิพนธดําเนินไปตามเปาหมายจนไดรับการ

ตีพิมพในวารสารวชิาการระดบันานาชาติหรือเทียบเทา

อาศยัอาํนาจตามความในขอ 9.3 แหงระเบียบจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัยวาดวยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช

พ.ศ. 2539 คณะกรรมการบริหารกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ในการประชมุครั้งที่ 2/2549 วันที่ 25 ธันวาคม 2549

จึงอนมุัติใหมีประกาศไวดังนี ้

ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัยเรือ่งหลักเกณฑการสนับสนุนทุน 90 ป

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช พ.ศ. 2550”

ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคบัตั้งแตวันถัดจากวนัประกาศเปนตนไป

ประกาศนี้ใหใชบังคับกบัผูรับทนุตั้งแตปการศึกษา 2549 รุนที่ 2 เปนตนไป

ขอ 3 คุณสมบัติของผูรับทุน

3.1 เปนบุคลากรของจฬุาลงกรณมหาวิทยาลัยที่ทําหนาที่เปนอาจารยทีป่รึกษาวิทยานิพนธหลัก

3.2 มีทิศทางการวิจยัที่ชัดเจน

3.3 มีนิสิตระดบับณัฑิตศึกษาในความดูแลทีโ่ครงรางวิทยานพินธไดรับอนุมตัิจากคณะกรรมการ

ประจาํคณะ/สํานักวิชา/วิทยาลยัหรือเทียบเทา แลว

ขอ 4 เงือ่นไขของการสนบัสนุน

4.1 การสนับสนุน “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” นี้เปนการใหทุนแบบองครวม เพือ่

สนับสนุนใหอาจารยที่ปรึกษาที่มีคุณสมบัติตามขอ 3 และนสิิตระดับบัณฑติศึกษาในความดูแลทํางานวจิัยรวมกัน

โดยมีอาจารยทีป่รึกษาวิทยานพินธหลักเปนผูรับทุน

4.2 ทุน 90 ป จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย นั้นตองใชจายเพือ่ดําเนินการวจิัยตามโครงรางวิทยานิพนธ

ของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาทีไ่ดรับอนุมัติใหไดรับทุนในความดูแลของอาจารยที่ปรึกษาที่ผานการอนุมัติจาก

คณะกรรมการประจาํคณะ/สํานักวิชา/วิทยาลยัหรือเทียบเทาแลว

4.3 ผูรับทุนแตละคนจะไดรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยในขณะเดียวกันไดไมเกิน 3 ทุน

4.4 ภายในระยะเวลา 2 ป หลังจากทีน่ิสิตระดับบณัฑิตศึกษาในความดแูลของผูรับทุนไดสําเรจ็

การศึกษา อาจารยผูรับทุนตองสงผลงานตีพมิพจากวิทยานพินธของนิสิตระดบับณัฑิตศึกษาในความดูแลของผูรับทุนที่

ไดเผยแพรตามกําหนด

4.5 ผูรับทุนอาจขอรบัทุน 90 ป จฬุาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดอีกก็ตอเมื่อไดมีการสงผลงานตีพิมพจาก

วิทยานพินธของนิสิตตามขอ 4.4 ไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจาํนวนนิสิตระดับบณัฑิตศึกษาในความดูแลของผูรับทุนที่

สําเร็จการศึกษาแลว

ขอ 5 การดาํเนินการและการพิจารณาจัดสรรทุน

มหาวิทยาลัยแตงตั้งคณะกรรมการพจิารณาทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย กองทนุรัชดาภิเษกสมโภช

โดยการเสนอของบณัฑิตวิทยาลัยและสํานักบริหารวิชาการ และใหบัณฑิตวิทยาลัยรวมกบัสํานักบริหารวชิาการทาํ

หนาที่บริหารจดัการใหเปนไปตามวัตถปุระสงค

ขอ 6 เงินทุนสนับสนุน

มหาวิทยาลัยจะสนับสนุนเงินทุนเปนเงินอุดหนุนทั่วไป ดังนี ้

6.1 งานวิจยัที่ใชสารเคม ี

6.1.1 ระดับปริญญาดษุฎีบัณฑิต เร่ืองละ 80,000-250,000 บาท

6.1.2 ระดับปริญญามหาบณัฑิต เร่ืองละ 40,000-150,000 บาท

6.2 งานวิจยัที่ไมใชสารเคม ี

6.2.1 ระดับปริญญาดษุฎีบัณฑิต เร่ืองละ 40,000-150,000 บาท

6.2.2 ระดับปริญญามหาบณัฑิต เร่ืองละ 20,000- 80,000 บาท

6.3 เงินสมนาคุณสําหรับอาจารยผูรับทุน เร่ืองละ 12,000 บาท

เงินสมนาคุณดงักลาวจะจายไดก็ตอเมือ่มบีทความพรอมทีจ่ะตีพิมพในวารสารวชิาการระดับ

นานาชาติหรือเทียบเทา

ใหเงินทุนสนับสนุนตามประกาศนี้ เปนเงินอดุหนุนทั่วไป โดยอาจารยผูรับทุนเปนผูเบิกจายและจัดเก็บ

เอกสารหลักฐานการใชจายเงินไวเพือ่การตรวจสอบตามระเบยีบเปนเวลา 10 ป

ขอ 7 การเบิกจายเงินทุน

อาจารยผูรับทุนและนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาในความดูแลจะตองมาทําขอตกลงกับมหาวิทยาลัย ภายใน

ระยะเวลา 1 เดอืน นับแตวันที่ไดรับแจงผลการอนุมัต ิ มิฉะนั้นจะถอืวาสละสทิธิ์

การเบกิจายเงินทุนจะแบงจายเปน 2 งวดดังนี ้

7.1 งานวิจยัเพือ่วิทยานิพนธระดับปริญญาดษุฎีบัณฑติ

งวดที ่1 รอยละ 50 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากลงนามในขอตกลง

งวดที ่2 รอยละ 50 ของเงนิทุนที่ไดรับหลังจากสงรายงานความกาวหนาและไดรับการรับรองแลว

7.2 งานวิจยัเพือ่วิทยานิพนธระดับปริญญามหาบณัฑิต

งวดที ่1 รอยละ 80 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากลงนามในขอตกลง

งวดที ่2 รอยละ 20 ของเงินทุนที่ไดรับหลังจากสงรายงานความกาวหนาและไดรับการรับรองแลว

11

ขั้นตอนการเบิกจายเงินทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รุนท่ี 12 (2/2553) จากโครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2551-2555 และ

กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช

1. งานนโยบายและแผน บัณฑิตวิทยาลัย จัดทํา Template แผนการใชจายงบประมาณตามประกาศ

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เร่ืองการใหเงินสนับสนุนทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รุนท่ี 12 (2/2553) เพื่อ Upload เขาระบบงบประมาณในระบบ CU –ERP โดย 1.1 ศูนยตนทุนจําแนกตาม สาขาวิชาของผูรับทุนแตละคน 1.2 เขตตามหนาท่ีจําแนกตาม หัวขอวิทยานิพนธ (ซ่ึงตองขอรหัสใหมจาก สํานกั ERP )

2. สงขอมูลตาม Template แผนการใชจายงบประมาณ ใหสํานักบริหารวิชาการเพื่อตรวจสอบงบประมาณท่ีจะโอนจาก เงินทุน จฬุา ฯ 100 ป และ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช

3. สํานักบริหารวิชาการตรวจสอบแลว สงขอมูลใหสวนแผนงานและโครงการ สํานักบริหารแผนและการคลัง เพื่อดําเนนิการโอนงบประมาณ ในระบบ CU –ERP

4. งานนโยบายและแผน บัณฑิตวิทยาลัย Upload แผนการใชจายงบประมาณ และพิมพงบประมาณจากระบบ CU –ERP เปนรายคน สงงานคลังและพัสดุ บัณฑิตวิทยาลัย

5. งานคลังและพัสดุ บัณฑิตวิทยาลัย จดัทําบันทึกขอความขออนุมัติเบิกเงินทุน และใบขออนมัุติจาย สําหรับการจายเงินทุน งวดท่ี 1 (รอยละ 80 ของจํานวนเงินทุนท่ีไดรับ สําหรับระดับปริญญาโท และรอยละ 50 ของจํานวนเงินทุนท่ีไดรับ สําหรับปริญญาเอก )

6. งานคลังและพัสดุ บัณฑติวิทยาลัย สงบันทึกขอความขออนุมัติเบิกเงินทุน และใบขออนุมัติจาย ใหสวนการคลัง สํานักบริหารแผนและการคลัง

7. สวนการคลัง สํานักบริหารแผนและการคลัง จัดทําใบสําคัญจาย และเช็ค หรือ โอนเงินเขาบัญชีผูรับเงินซ่ึงผูรับเงินตองถูกหักคาธรรมเนียมธนาคารตามอัตราท่ีแนบมา

----------------------------------------------

งานคลังและพสัดุ บัณฑิตวิทยาลัย โทร. 0 2218 3522

13 F-31-GS-ES13

ขอตกลงในการรับ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” เลขท่ี…………… กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รุนท่ี 12 (2/2553) ปงบประมาณ 2553

(โปรดกรอกรายละเอียดดวยตัวบรรจง) ขาพเจา …………………….……………………….……………….……....…… เปนอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธของนิสิตผูรับทุน ช่ือ .............................................................................................. เลขประจําตัว ............................... ระดับปริญญา ( ) โท ( ) เอก สาขาวิชา ………………..……………..…… ภาควิชา …….........…..................……... คณะ……….……………..……............ อยูบานเลขท่ี ……................... ซอย ..……………....……….……………. ถนน ……….……………...........................….… เขต/อําเภอ ………….........… จังหวัด ……….......……... รหัสไปรษณีย ......................... โทรศัพทที่บาน…….…….…….……. ที่ทํางาน…………..…….………มือถือ.………….……...………Email………………………………………………..………..... ขาพเจาขอทําขอตกลงใหไวแกบัณฑิตวิทยาลัย ดังน้ี 1. ขาพเจาตกลงรับ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพ่ือสนับสนุนงานวิจัยรวมระหวางอาจารยและนิสิต เปนจํานวนเงิน……...…..….…บาท ( …………………..…….…………………..……) เพ่ือเปน คาใชจายในการทําวิทยานิพนธ เรื่อง………….……………………………………………..……………………………….……………… ……………………………………………………………………………………………………………..………..………………………………………. 2. ขาพเจาจะเบิกเงินทุนตามที่กําหนดไวในคูมือการรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 3. (กรณีที่มีการใชสารเคมีในงานวิจัย) ขาพเจาจะดําเนินการตามมาตรฐานความปลอดภัย ดานการใชสารเคมีของมหาวิทยาลัยอยางเครงครัด และจะบันทึกขอมูลการใชสารเคมีทั้งหมดลงในฐานขอมูล Chemtrack/Wastetrack ของมหาวิทยาลัยอยางครบถวน 4. ขาพเจาหรือนิสิตผูรับทุนระดับปริญญาเอกจะสงบทความท่ีไดรับการตอบรับเพ่ือการตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัย ภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันที่สําเร็จการศึกษา และหรือนิสิตผูรับทุนระดับปริญญาโทจะสงบทความพรอมที่จะตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัยภายใน 15 วัน นับต้ังแตวันที่สงวิทยานิพนธ จากน้ันขาพเจาหรือนิสิตผูรับทุนจะสงบทความท่ีไดรับการตอบรับเพ่ือการตีพิมพใหบัณฑิตวิทยาลัยทันที ทั้งน้ีตองไมเกินระยะเวลา 2 ป นับต้ังแตวันที่นิสิตสําเร็จการศึกษา 5. ขาพเจาจะขอรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดอีกก็ตอเมื่อไดมีการสงผลงานตีพิมพจากวิทยานิพนธของนิสิตที่ไดรับทุนในความดูแลของขาพเจา ไมนอยกวา 2 ใน 3 ของจํานวนนิสิต ที่สําเร็จการศึกษาแลว 6. การตีพิมพผลงานวิจัย ขาพเจาจะระบุช่ือเปนช่ือแรก และ corresponding author และระบุสังกัดของผูวิจัยหลักซึ่งเปนนิสิตวาสังกัดจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อีกทั้งระบุไวใน acknowledgement วาไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจาก “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช 7. ขาพเจาหรือนิสิตผูรับทุนจะนําผลงานวิจัยลงตีพิมพเผยแพรในวารสารท่ีไดระบุช่ือไวในใบสมัครขอรับทุน สําหรับสายวิทยาศาสตรระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต จะตองไดรับการตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ สําหรับสายสังคมศาสตร/มนษยศาสตรระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตและปริญญามหาบัณฑิต จะตองไดรับการตีพิมพในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติหรือระดับชาติที่มีผูประเมิน หากมีความจําเปนตองเปล่ียนแปลงรายการวารสารท่ีจะตีพิมพ จะแจงใหบัณฑิตวิทยาลัยทราบพรอมเหตุผล 8. ขาพเจาตกลงที่จะมอบอุปกรณครุภัณฑที่จัดซื้อโดยเงินทุนตามประกาศน้ีถือเปนกรรมสิทธิข์องมหาวิทยาลัย ใหหนวยงานที่ขาพเจาสังกัดเปนผูดําเนินการจัดซื้อตามระเบียบวาดวยการพัสดุที่มหาวิทยาลัยใชบังคับขณะที่ใชประกาศนี้ ขาพเจามีสิทธิ์ใชครุภัณฑดังกลาวในระหวางที่โครงการวิจัยยังไมเสร็จสิ้น หลังจากน้ันขาพเจาจะสงมอบครุภัณฑใหกับหนวยงานที่ขาพเจาสังกัด เวนเสียแตจะมีการตกลงกันเปนอยางอื่น ขาพเจาไดทราบขอความขางตนโดยตลอดแลว และยินดีที่จะปฏิบัติตามทุกประการ พรอมทั้งจะดูแลนิสิตทําการวิจัยอยางเต็มที่ เพ่ือใหผลงานสามารถตีพิมพเผยแพรไดตามวัตถุประสงคของทุน (ลงนาม)………………………………………….อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ (………………..…………………………) วันที่………เดือน…………พ.ศ………….

(ลงนาม)………………………………………….นิสิตผูรับทุน (………………..…………………………) วันที่………เดือน…………พ.ศ…………

1

ระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตรายระบบการบริหารจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสยีอันตราย

รองศาสตราจารย ดร.เลอสรวง เมฆสุต

2

คณะกรรมการบริหาร

โครงการแผนพัฒนาดานการจัดการสารเคมแีละของเสียอันตรายใน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (พ.ศ.

2549 –

2554)

คณะกรรมการดําเนินงาน

แผนงาน

6. การ พฒันา บุคลากร

1. มาตรฐานระบบ

กายภาพและระบบความปลอดภัย

หองปฏิบัติการ

2. มาตรฐานการ จัดการคุณภาพ

หองปฏบิัติการ

3. การพัฒนาระบบ

ฐานขอมูล

4. การจัดการ สารเคมี

7. วิจัย พฒันา และถายทอด ความรู

5. การจัดการของเสยี

อันตราย

3

ศูนยความเปนเลิศ ฯ คณะ/สถาบัน/วิทยาลัยฯลฯ

ระบบสารสนเทศ-

Website

- รายงาน

ประสานงาน

เจาหนาที่สวนกลางดูแล และประสานงาน

ผูใชโปรแกรมการอบรมการใช

โปรแกรม

ChemTrack2009 และ

WasteTrack2009

ระบบการบริหารจัดการดานสารเคมีและของเสียอันตราย

มีระบบขอมูลสารเคมี บุคคล หองปฏิบัติการ โครงการ สาขา/ ภาควิชา คณะ/สถาบัน/ วิทยาลัย

มีระบบขอมูลของเสียอันตรายหองปฏิบัติการ โครงการ สาขา/ ภาควิชา คณะ/สถาบัน/ วิทยาลัย

ChemTrack

WasteTrack

การอบรม บุคลากรดาน ความปลอดภัย ทางเคมี

การดําเนินงานการดําเนินงานระบบการจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย ระบบการจัดการสารเคมีและของเสียอันตราย

5

การดําเนินงานการดําเนินงาน พัฒนาโปรแกรมการจัดการขอมูลสารเคมี ChemTrack และโปรแกรมการจัดการของเสียอันตราย

WasteTrack แบบออนไลน ซึง่เปนฐานขอมูลรูปแบบกลางเพื่อรองรับระบบการจัดการhttp://chemsafe.chula.ac.th

หนาหลักของโปรแกรมการจัดการขอมูลสารเคมี ChemTrack

หนาหลักของโปรแกรมการจัดการขอมูลของเสียอันตราย WasteTrack

6

จัดการอบรมเผยแพรการใชงานโปรแกรม ChemTrack และโปรแกรม WasteTrack

การดําเนินงานการดําเนินงาน

7

ปจจุบันไดรับความรวมมือจากหนวยงานที่เกี่ยวของกับการใชสารเคมี สมัครและใชโปรแกรม ChemTrack และ WasteTrack รวม 17 คณะ/ สถาบัน/ วิทยาลัย/ ศนูย ดังนี้คือ

คณะทันตแพทยศาสตรคณะแพทยศาสตรคณะเภสัชศาสตรคณะวิทยาศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตรคณะสัตวแพทยศาสตรคณะสหเวชศาสตรบัณฑิตวิทยาลัยวิทยาลัยปโตรเลียมและปโตรเคมี

วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุขศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการจัดการสิ่งแวดลอมและของเสียอันตรายศูนยทันตนวัตกรรมศูนยวิทยาศาสตรฮาลาลสถาบนัวจิัยทรัพยากรทางน้ําสถาบนัเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตรสถาบนัวจิัยโลหะและวัสดุสถาบนัวจิัยสภาวะแวดลอม

8

หนวยงาน จํานวนคลังที่สมัคร

โปรแกรม

จํานวนผูสมัคร

โปรแกรม (คน)

คณะทันตแพทยศาสตร 11 16

คณะแพทยศาสตร 35 77

คณะเภสัชศาสตร 23 37

คณะวิทยาศาสตร 176 238

คณะวิศวกรรมศาสตร 28 53

คณะสหเวชศาสตร 7 9

คณะสัตวแพทยศาสตร 14 18

บัณฑิตวิทยาลัย 2 3

วิทยาลัยปโตรเลียม

และปโตรเคมี

34 5

หนวยงาน จํานวนคลังที่สมัคร

โปรแกรม

จํานวนผูสมัคร

โปรแกรม (คน)

วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข 1 5

ศูนยความเปนเลิศแหงชาติดานการ

จัดการสิ่งแวดลอมและของเสยีอนัตราย

1 2

ศูนยทันตนวัตกรรม 1 2

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล 1 1

สถาบันทรัพยากรทางน้ํา 2 6

สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและ

วิศวกรรมพันธุศาสตร

4 6

สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ 1 1

สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม 1 2

รวม 342 481

** ขอมูลรวม ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

ผลการดําเนินงานการใชโปรแกรม ChemTrack

9

จํานวนคลังสารเคมีที่สมัครและใชงานจํานวนคลังสารเคมีที่สมัครและใชงาน ((มกราคมมกราคม 25512551

–– เมษายนเมษายน 2553)2553)

2546

61 64 69 7191 97 98 98 99 100 100 112

160 166190

213 215240 252

272 275 278 287 290 291 291 293 298 304 308 310 315 317 321 323 327 335 340

186 13 16 17 24

12 15 12 18 11 4 10 1023 16

41 4221 21 31 34

19 15 18 12 14 11 22 29 18 28 2334

21 17 14 1527 18

0

50

100

150

200

250

300

350

400

ม.ค.ม.ีค.พ.ค.ก.ค. ก.ย

.พ.ย.

ม.ค.ม.ีค.พ.ค.ก.ค. ก.ย

.พ.ย.ม.ค.ม.ีค.พ.ค.ก.ค. ก.ย

.พ.ย.ม.ค.ม.ีค.

เดือน

ผูใชงาน

การสมัคร (คลังสารเคมี)

การใช (คลังสารเคมี)

ป 2551 ป 2552 ป 2553

** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

10

ปริมาณสารเคมีอันตรายเทียบกับสารเคมทีั้งหมดทีม่ีการลงทะเบียนในโปรปริมาณสารเคมีอันตรายเทียบกับสารเคมทีั้งหมดทีม่ีการลงทะเบียนในโปรแกรมแกรม ChemTrackChemTrack จําแนกตามหนวยงานจําแนกตามหนวยงาน ((ขอมูลตั้งแตขอมูลตั้งแต 11 ตุลาคมตุลาคม 25512551

--

3030 เมษายนเมษายน 2553)2553)

ปริมาณสารเคมีทั้งหมด 11,485.11 กิโลกรมั มสีารเคมีที่จัดเปนสารอันตรายปรมิาณ 10,617.96 กิโลกรมั หรือคิดเปนรอยละ 92

100

91

92

98

95

0

97

0

90

86

79

17

22

82

63

47

60

13

684

13

88

169

367

0

117

3

19

17

139

129

85

1472

70145

330

0114

0

1817

128

117

8,838

2,1892

85

72571382

18

0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 6,000 7,000 8,000 9,000 10,000

ทันตแพทยศาสตร

แพทยศาสตร

เภสัชศาสตร

วิทยาศาสตร

วิศวกรรมศาสตร

สหเวชศาสตร

สัตวแพทศาสตร

บัณฑิตวิทยาลัย

วิทยาลัยปโตรเลียมฯ

วิทยาลัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข

ศูนยความเปนเลิศฯ

ศูนยทันตนวัตกรรม ฯ

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล

สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพฯ

สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา

สถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ

สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม

ปริมาณสาร

สารเคมีอันตรายสารเคมีทั้งหมด

สัดสวนสารเคมีอันตราย

คิดเปนรอยละ

1111

ประเภทของ UN Classปริมาณ

( หนวย)

Class3 ของเหลวไวไฟ 13,783.24

Class 8 สารกัดกรอน 4,426.51

Class 6 สารพิษและสารติดเชื้อ 2,866.17

Class 2 กาซ 2,325.73

Class 5 สารออกซิไดซและ สารอินทรยีเปอรออกไซด 764.28

Class 9 สารอันตรายอืน่ๆ 448.31

Class 4 ของแข็งไวไฟ 135.51

Class 7 สาร/วัตถุกัมมันตรังสี 1.96

Class 1 สารระเบิดได 0.6

รวมทั้งสิ้น : 24,752.32

สารเคมีอันตรายที่มีการลงทะเบียนในโปรแกรมสารเคมีอันตรายที่มีการลงทะเบียนในโปรแกรม ChemTrackChemTrack

** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

Class 2 กาซ 10%

Class 4 ของแข็งไวไฟ

0%

Class 9 สาร

อันตรายอื่นๆ

Class 8 สารกัด

Class3 ของเหลวไวไฟ

57%

Class 1 สาร

ระเบิดได Class 7 สาร/วัตถุกัมมันตรังสี

0%

Class 5 สาร

ออกซิไดซ

Class 6

สารพิษ

12

รุน จํานวนผูรับทุน คิดเปนรอยละ

9 63 คน ผูที่เกี่ยวของกับการใช

โปรแกรม 46 คน

สมัครใชโปรแกรม 18 คน39

10 83 คน ผูที่เกี่ยวของกับการใช

โปรแกรม 43 คน

สมัครใชโปรแกรม 13 คน30

11 97 คน ผูที่เกี่ยวของกับการใช

โปรแกรม 58 คน

สมัครใชโปรแกรม 7 คน12

ขอมูลการสมัครของผูรับทุน 90 ปและสมัครใชงานโปรแกรม Chemtrack

** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

13** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

กราฟแสดงความสัมพันธระหวางจํานวนผูรับทุน 90 ป และการสมัครใชโปรแกรม Chemtrack

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

46 คน 43 คน 58 คน

9 10 11ทุน 90 ป รุนที่

รอยละ

รอยละ

39%30%

12%

14

กราฟแสดงความสัมพันธระหวางชวงเวลากับการสมัครของผูรับทุน 90 ปรุนที่9 รุนที่10 และรุนที่11

0

1

2

3

4

5

6

ม.ค.-5

2ก.พ

.-52

ม.ีค.-5

2เม

.ย.-5

2พ.ค.

-52

ม.ิย.-5

2ก.ค

.-52

ส.ค.-5

2ก.ย

.-52

ต.ค.

-52

พ.ย.

-52

ธ.ค.-5

2ม.ค

.-53

ก.พ.-5

3ม.ีค

.-53

เม.ย

.-53

ชวงเวลา

จํานวนการสมัคร

( คน

)

รุนที่ 9 สมัครรุนที่ 10 สมัครรุนที่ 11สมัคร

** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

15** ขอมูล ณ วันที่ 30 เมษายน 2553

กราฟแสดงความสัมพันธระหวางชวงเวลากับการรับการตรวจสอบ

0

1

2

3

4

ม.ค.

-52ก.พ

.-52

ม.ีค.

-52เม

.ย.-52

พ.ค.

-52ม.ิย.-

52ก.ค

.-52

ส.ค.-5

2ก.ย.-

52ต.

ค.-52

พ.ย.-

52ธ.ค.

-52ม.ค

.-53

ก.พ.-5

3ม.ีค

.-53

เม.ย.

-53

ชวงเวลา

รับการตรวจสอบ

( คน

)

รุนที่9 ตรวจสอบรุนที่10 ตรวจสอบรุนที่11 ตรวจสอบ

16

รายงานเพื่อผูบริหาร (7) รายงานเพื่อผูบริหาร (7)

ระบบรายงานจากโปรแกรมระบบรายงานจากโปรแกรม ChemTrackChemTrack

รายงาน มีทั้งหมด 17 รูปแบบ

รายงานทั่วไป (7)

รายงานทั่วไป (7)

รายงานสารเคมี (2)

รายงานสารเคมี (2)

รายงานคาใชจาย (1)

รายงานคาใชจาย (1)

ขวดสารเคมี สารเคมีที่หมดไปจากคลัง รายชื่อสารเคมีทั้งหมดในฐานขอมูล

รายชื่อบริษัทผูผลิตทั้งหมดในฐานขอมูล รายชื่อบริษัทผูขายทั้งหมดในฐานขอมูล สรุปขอมูลการสมัคร สรุปขอมูลการใชงานระบบ ผูใชงานระบบแยกตามคลัง ชื่อสารเคมีที่เพิ่มขึ้นในแตละเดือน

รายงานสารเคมีที่มีคาใชจายสูงสุด

ชื่อสารเคมีทั้งหมดในฐานขอมูล ชื่อบริษัทผูผลิตทั้งหมดในฐานขอมูล รายชื่อบริษัทผูขายทั้งหมดในฐานขอมูล สรุปขอมูลการสมัคร สรุปขอมูลการใชงานระบบ ผูใชงานระบบแยกตามคลัง ชื่อสารเคมีที่เพิ่มขึ้นในแตละเดือน

17

Download ใบสมัคร

สมัครใชงาน

ดาวนโหลดเอกสาร

ChemTrackChemTrack 20092009http://chemsafe.chula.ac.th/chemtrack

18

เขาสูระบบ

พิมพ User Name และ Password

19

20

21

BarcodeBarcode

22

ตัดขวดสารเคมีตัดขวดสารเคมี

เช็คสต็อกเช็คสต็อก

23

เปลี่ยนเจาของขวดเปลี่ยนเจาของขวด

24

รายงานขวดสารเคมี

25

26

27

28

29

30

การติดตามขอมูลผูไดรับทุนของบัณฑติวิทยาลัย

เพื่อใหเปนไปตามนโยบายการจัดการสารเคม

ีและของ เ สียอันตรายของมหาวิทยา ลัย กําหนดใหผู ไดรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช กรณ

ีที่มีการใชสารเคมีในงานวิจัย ตองบันทึก

ข อ มู ลก า ร ใ ช ส า ร เ คมี ล ง ในฐ านข อ มู ล ChemTrack/ WasteTrack ของมหาวิทยาลัย

อยางเครงครัด

เริ่มบังคับใชกับผู ไดรับทุน ตั้งแตรุนที่ 9 (2/2552) เปนตนไป

คณะกรรมการดําเนินงานฯ จะตองตรวจสอบ หองปฏิบั ติการของผู ได รับทุน เพื่ อออก ใบรับรองสงใหกับบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณา ประกอบการขอรับทุนในงวดตอไป

แนวทางปฏิบัติ

31

ที่ ชื่อคลังสารเคมี ชื่อผูใชงาน คณะ ภาควิชา รุน จํานวน

ขวด

1 อ.ธรรมนูญ หนูจักร นางสาวศิริพร อังคณาศิริพร คณะวิทยาศาสตร เคมี 27

2 อ.ชวลิต งามจรัสศรีวิชัย นางสาวศศิพิมพ ลิ่มมณี คณะวิทยาศาสตร เคมีเทคนิค 10 18

3 คลังสารเคมีกลางหองปฏิบัติการ (703.00)

น.ส.มณีรัตน ลิ้มสุวัฒนาธํารง สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพ

และวิศวกรรมพันธุศาสตร

10 10

4 อ.สิริชัย อดิศักดิ์วัฒนา นางสาวอรามศรี มีพรอม คณะสหเวชศาสตร เคมีคลินิก 10 8

5 ดร.อรฤทัย หิญญาดา นางสาวกังสดาล ทองดอนงาว คณะวิทยาศาสตร จุลชีววิทยา 9 7

6 รศ.ดร.พญ.วิไล ชินธเนศ นางสาวตุลาภรณ วองธวัชชัย คณะแพทยศาสตร กายวิภาคศาสตร 10 5

7 หองปฏิบัติการ (704.00) นายณัฐชัย เที่ยงบูรณธรรม สถาบันเทคโนโลยีชีวภาพ

และวิศวกรรมพันธุศาสตร

10 10

8 รศ.ดร.แมนสรวง อักษรนุกิจ นางสาวธิติมา พุนทิตพัทร คณะทันตแพทยศาสตร ทันตกรรมประดิษฐ 9 2

9 ดร.อังคณา ตันติธุวานนท นางสาววิทิตดา อวัยวานนท คณะเภสัชศาสตร วิทยาการเภสัชกรรมและ

เภสัชอุตสาหกรรม

10 19

10 รศ.ดร.สุชาดา ชุติมาวรพันธ นางสาวอรุณกมล ประดิษฐบงกช คณะเภสัชศาสตร วิทยาการเภสัชกรรมและ

เภสัชอุตสาหกรรม

10 7

11 รศ.น.สพ.ดร.ธงชัย เฉลิมชัยกิจ นางสาวณัฐบด ี วิริยาวัฒน คณะสัตวแพทยศาสตร จุลชีววิทยา 9 8

12 ศูนยเชีย่วชาญเฉพาะทางดาน

เทคโนโลยีชีวภาพทางทะเล

นายชาตรี ฤทธิ์ทอง คณะวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรทางทะเล 8 6

32

http://chemsafe.chula.ac.th/waste/

33

34

ขั้นตอนการสมัคร การสมัครเขาใชงานโปรแกรม WasteTrack20071. ทางหนวยงานพิเศษตองการรายละเอียด 4

เรื่อง ที่เปนทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพื่อเปนขอมูลใน

การจัดทํารหสผูใชและรหัส

ผาน โดยขอมูลที่ตองการมีดังนี้

1.1 ชื่อคณะ/สถาบัน/หนวยงาน

1.2 ชื่อภาควิชา

1.3 ชื่อหองปฏิบัติการ 1.4 ชื่อเจาหนาที่ผูรับผิดชอบใน หองปฏิบตัิการ

โดยสงรายละเอียดดังกลาวมาทาง e-mail: [email protected]

2. เมื่อไดรับขอมูลแลว เจาหนาที่จากหนวยงานพิเศษสําหรับการจัดการของเสียอันตราย จะดําเนนิการ จัดทําขอมูลและแจงรหัสผูใชและรหัสผานกลับไปยังผูสมัครทาง e-mail

จากนั้นผูสมัครสามารถนํารหัส

ผูใชและรหัสผานที่ไดมาใชในการล็อค อินเขาสูโปรแกรม

3. หลังจากเขาสูระบบแลว เจาหนาที่ที่รับผิดชอบในแตละหองปฏิบัติการสามารถ Download คูมือการใช

งานโปรแกรม WasteTrack

2007 ไดจากเมนู ดาวนโหลดเอกสาร หรือสามารถแจงใหเจาหนาที่จาก

หนวยงานพเิศษสําหรับการจัดการของเสีย อันตราย ไปอบรมการใชงานโปรแกรม WasteTrack2007 ได

ที่หนวยงานของทาน

4. หากมีขอสงสัยในการใชงานโปรแกรมฯหรือการแยกประเภทของเสียอันตราย สามารถติดตอสอบถามได

ที่e-mail: [email protected]

ขอขอบคุณ

http://chemsafe.chula.ac.th

เบอรตดิตอ 02-2183962 ฉันทลกัษณ/จริยา

22

บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบรายงานความกาวหนาการทําวิทยานิพนธ

สําหรับผูรับ “ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย” รุนท่ี 12 (2/2553) ปงบประมาณ 2553

ดวย ขาพเจา นาย นาง นางสาว …………………...……………………………….. เลขประจําตัว…………...………… ระดับปริญญา เอก โท สาขาวิชา………………….……………… คณะ…………...……………………โทร…………… และสถานที่ที่สามารถติดตอไดสะดวกที่สุด …………………………...…………..………………………………………………. ,…………………………………………………………………..………………..โทรศัพทที่บาน…………..…….……..…………. ที่ทํางาน………………………..……มือถือ……………..…………Email…….………………………….…………………………. ช่ือหัวขอวิทยานิพนธ…………………………………………………..……………………………………………..……………….. ……………………………………………………………………………..…………………………………………………..……… อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ…………………………………………..……….……………………………………….…………….. สรุปความกาวหนาการทําวิทยานิพนธนับต้ังแตวันท่ีมีการลงนามในขอตกลงแลว ..…………………………………………………………….…………………………………………….……………………………..………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………… ……..………………………………….……………………………………………………………………………………………… ……..………………………………………….………………………………………………………………………………………

.………………………....……………………………… ผูรับทุน วันที่…..……เดือน…...……พ.ศ…......…. คํารับรองเก่ียวกับความกาวหนาการทําวิทยานิพนธของผูรับทุน …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………..……………………………………………………………………………………….………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ...…........………................……อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ วันที่...…..… เดือน...……พ.ศ………

ความเห็น........................................................................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ........................................................................................................ (ผูอํานวยการหลักสูตรฯ/ประธานหลักสูตรฯ/เลขานุการหลักสูตรฯ) วันที่…...…เดือน……....…พ.ศ…..…… ลงช่ือ............................................................................................... (รองคณบดี.......................................................................) วันที่….…เดือน…………พ.ศ………

หมายเหตุ 1. การรายงานความกาวหนาวิทยานิพนธ ตองสงแผนงานวิจัยท่ีเสนอในโครงรางวิทยานิพนธ และรายละเอียด เน้ืองานวิทยานิพนธท่ีไดดําเนินการแลวมาพรอมแบบรายงานฉบับน้ี โดยรายงานในหัวขอ การดําเนินงานวิจัย ผลการดําเนินงานวิจัย การอภิปรายผล ปญหาอุปสรรค และงานวิจัยท่ีจะดําเนินการตอไป (หรือสงเปนแบบสรุปรายงาน)

2. การประเมินปริมาณงานในรายงานความกาวหนาวิทยานิพนธ คิดตามแผนงานวิจัยท่ีเสนอในโครงรางวิทยานิพนธ 3. รองคณบดีท่ีเก่ียวของใหการลงนามเพ่ือทราบ

F-31-GS-ES13

23 บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แบบรายงานผลงานทางวิชาการและผลการศึกษาของนิสิตผูรับทุน 1. ขาพเจา (นาย,นาง,นางสาว,อื่นๆ…)………...…………………………………………………….….เลขประจําตัวนิสิต……..……….. ....... ........ ระดับปริญญา................สําเร็จการศึกษา ภาคตน ภาคปลาย ปการศึกษา…….…..สาขาวิชา………………………………................

ภาควิชา…………….……………………….…..……………………..คณะ………………................................................................................................

2. ที่อยูปจจุบัน บานเลขท่ี……….ซอย………………………….…..ถนน…………………………..ตําบล/แขวง……………………...…….. .......…

อําเภอ/เขต…………………….…………….……….จังหวัด………………………………...……..…....………รหัสไปรษณีย……....................... โทรศัพทที่บาน………………..ที่ทํางาน………………………มือถือ………………………..…Email: ……………………………………………...

3. ไดรับทุน “ ทุน 90 ปจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ” ทุนอุดหนุนวิทยานิพนธสําหรับนิสิต

ทุนสนับสนุนวิทยานิพนธและกลุมวิทยานิพนธ ทุนอุดหนุนและสงเสริมวิทยานิพนธฯ ของทบวงมหาวิทยาลัย

ทุนอุดหนุนการศึกษาฯ 72 พรรษา ทุนเสนอผลงานวิชาการในตางประเทศ ทุนอื่น ๆ…………………………..

เมื่อ ภาคตน ภาคปลาย ปการศึกษา…………………………

4. หัวขอวิทยานิพนธ……………………………………………………………………………………………….………………………............................

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ……………………………………………อาจารยที่ปรึกษารวม (ถามี)……………………………………………...

5. การสงผลงาน รางบทความฉบับสมบูรณพรอมตีพิมพ เอกสารตอบรับการตีพิมพ บทความที่ไดรับการตีพิมพแลว

เอกสารการประชุมทางวิชาการ/สัมมนา บทคัดยอภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ วิทยานิพนธฉบับสมบูรณที่เขาปกแลว

การสงผลการศึกษา ใบรับรองคะแนนรายวิชา

ผลงานที่ตองสงเพ่ิม คือ 1..……………………………………………………… จะสงภายในวันที่……………………...............................

เน่ืองจากอยูในระหวาง....................................................................................................................... 2..……………………………………………………….จะสงภายในวันที่……………………................................

เน่ืองจากอยูในระหวาง....................................................................................................................... 6. ขอแจงการเสนอผลงานทางวิชาการที่สงไว ดังน้ี

ช่ือบทความ / หัวขอการเสนอผลงาน……………………………………………………………………………………………………………...

……………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………….

6.1 ไดรับการตีพิมพในวารสาร ระดับนานาชาติ มี ไมม ี

ช่ือวารสาร…………………………………………………………………………………………………………………...................

ฉบับที่……………ปที่พิมพ………………..หนา………….…….……ประเทศ………………..………………………………….

6.2 ไดรับการตีพิมพในวารสาร ระดับชาติ มี ไมม ี

ช่ือวารสาร……………………………………………………………………………………………………………………................

ฉบับที่……………ปที่พิมพ………………..หนา………….…….……ประเทศ………………..………………………………….

6.3 ประชุมทางวิชาการ ระดับนานาชาติ ชาติ

ช่ือการประชุม............................................................................องคกรที่จัดประชุม.................................................. สถานที่จัดประชุม…………………………………...................วันที่จัดประชุม……………..…........

6.4 สิทธิบัตร มี ไมมี ช่ือสิทธิบัตร……………………………………………………………......

6.5 อื่น ๆ……………………………………………………………………………………………………………………………………...

สําหรับนิสิตผูรับทุน

ขาพเจาขอรับรองวาขอมูลที่ใหไวเปนความจริงทุกประการ

(ลงนาม) …………….……………….........

………./…………………/………..

ความเห็นอาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก ………………………………………………....................................

………………………………………………....................................

(ลงนาม) ……………………….…….......... ………./…………………/………..

โปรดกรอกขอมูลและสงคืน หนวยสงเสริมและพัฒนาทางวิชาการ งานบริการการศึกษา บณัฑิตวิทยาลัย โทร 0-22183502-5 หรือสงขอมลทาง Email : [email protected]

24 บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุนท่ี 12 (2/2553)

ชื่อวิทยานิพนธ................................................................................................................................................................. .........................................................................................................................................................................................

รายงานสรุปการใชจายเงนิทุน

รายงานต้ังแตวันท่ี...................................................ถึงวันท่ี............................................................................................. อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธหลัก.................................................................................................................................... นิสิตผูรับทุน..................................................................................................................................................................... ระยะเวลาดําเนินงาน...........................เดือน

รายจาย

หมวดงบประมาณ รายจายงวดท่ี 1 รวม 1. หมวดวัสดุ (โปรดระบุการใชวัสดุใหชัดเจน) 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 2. หมวดสารเคมี (โปรดระบุการใชสารเคมีใหชัดเจน) 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3. หมวดคาใชสอยอ่ืนๆ (โปรดระบุใหชัดเจน) 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5

รวมท้ังส้ิน

จํานวนเงินท่ีไดรับและจํานวนคงเหลือ

จํานวนเงินท่ีไดรับงวดท่ี 1..........................................................................................................................บาท คาใชจายงวดที่ 1.........................................................................................................................................บาท คงเหลือ.......................................................................................................................................................บาท

25 F-25-GS-ES07

คํารองท่ัวไป บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

(ใชเฉพาะเร่ืองทุนการศึกษาและวิจัย งานบริการการศึกษา เทาน้ัน)

เรื่อง……….....................................................................…………………………………………………………………………………

ดวย ขาพเจา นาย นาง นางสาว……………..…………...…………..เลขประจําตัว…..………….……. ระดับปริญญา โท เอก สาขาวิชา …….…………………….….ภาควิชา …………………………..คณะ/สหสาขาวิชา…………………….………..……..……เขาศึกษาเมื่อภาค ตน ปลาย ปการศึกษา….….…อยูบานเลขท่ี..…….…ซอย ………….……….…..…ถนน ….…….…...……ตําบล/แขวง ….…...………………อําเภอ/เขต …..………….….……จังหวัด…….………...………รหัสไปรษณีย…………………..…โทรศัพทที่ทํางาน ……………ที่บาน…………………มือถือ………………….. Email…………...…………………………...…..…… ไดรับทุน...................................................................... เมื่อภาค ตน ปลาย ปการศึกษา…….…... จํานวนเงิน ..............................บาท มีความประสงคและเหตุผลที่ชัดเจนดังตอไปน้ี …….……………………….…………………………………………………………………………………………………………..…. .……………………………………………………………….………………………………………………………………………….... .……………………………………………………………….…………………………………………………………………………… .……………………………………………………………….……………………………………………………………………………

(ลงช่ือ) ………………………………..……………………ผูยื่นขอคํารอง ……………/………………………/……………..

บัณฑิตวิทยาลัยจะไมพิจารณาคํารองท่ีมิไดระบุเหตุผลในการยื่นคาํรองอยางชดัเจน

ความเห็นของอาจารยที่ปรึกษา ……………………………………………………………………………………………………………….………..…………….. ………………………………………………………………………………………………………………….…..……………….. (ลงนาม) ……………………………………………...……………. (...........................................................................................) อาจารยที่ปรึกษา ………./…………………/………..

ความเห็นของหัวหนางานบริการการศึกษา ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… ……………………………………………………………… (ลงนาม) …………………………………………

หัวหนาหนวยสงเสริมฯ (แทน) ………./…………………/………..

เลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย ………………………………………………………………………..……………………………………………………………….……….………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………. (ลงนาม) ……………………………..……………………

เลขานุการบัณฑิตวิทยาลัย ………./…………………/………..

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงนาม) ……………………………………….

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ………./……………/………..

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย …………………………………………………………..…….……. ………………………………………………………………...…….……………………………………………………………………… (ลงนาม) …………………………..………………..

คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ………./……………/………..

26

เลข

ที่

ID คํานํา

หนา

ช่ือ นามสกุล คณะ ขั้นปริญญา สาขาวิชา รหัสเขตตามหนาที่

(รหัสโครงการ)

1 4884691327 นาย สถาพร กรีธาธร คณะครุศาสตร ดุษฎีบัณฑิต บริหารการศึกษา 65455270600023

2 4976955933 น.ส. บัณฑิตาภรณ ศิริจันทรชื่น คณะเภสัชศาสตร ดุษฎีบัณฑิต เภสัชศาสตรชีวภาพ 65455334200001

3 5076955333 น.ส. วนิดา สุขเกษศิริ คณะเภสัชศาสตร ดุษฎีบัณฑิต เภสัชศาสตรชีวภาพ 65455334200002

4 4877103633 น.ส. วรรณา ต้ังภักดีรัตน คณะเภสัชศาสตร ดุษฎีบัณฑิต เภสัชศาสตรสังคมและบริหาร 65455334300002

5 5071826121 นาย โสภณ ผูมีจรรยา คณะวิศวกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟา 65455210210004

6 5071830621 นาย อานนท ฉั่วชื่นสุข คณะวิศวกรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิศวกรรมเคมี 65455210500004

7 5075956831 น.ส. สรอยสุดา โชติมานุกูล คณะสัตวแพทยศาสตร ดุษฎีบัณฑิต วิทยาการสืบพันธุสัตว 65455310800001

8 5087760020 น.ส. จุรีรัตน โพธ์ิแกว บัณฑิตวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิต ชีวเวชศาสตร 65455201100008

9 5187844220 นาง ดนยภรณ พรรณสวัสด์ิ บัณฑิตวทิยาลัย ดุษฎีบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดลอม 65455200900012

10 5087879120 น.ส. ภานุช หงษสวัสด์ิ บัณฑิตวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดลอม 65455200900013

11 4989738220 นาย เอกรัฐ เดชศรี บัณฑิตวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตรนาโนและเทคโนโลยี 65455202100004

12 4989723820 น.ส. สุชาดา จงประกอบกิจ บัณฑิตวิทยาลัย ดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตรนาโนและเทคโนโลยี 65455202100005

13 4973821923 นาย ธวัชชัย เชื้อเหลาวานิช คณะวิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต ธรณีวิทยา 65455230700001

14 5073933023 น.ส. ณัษฐา กิจประเทือง คณะวิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีชีวภาพ 65455234100007

15 5073851123 นาย พลวัต นิวเคลียร คณะวิทยาศาสตร ดุษฎีบัณฑิต เทคโนโลยีชีวภาพ 65455234100008

16 4885453528 นาย มนต ขอเจริญ คณะนิเทศศาสตร ดุษฎีบัณฑิต นิเทศศาสตร 65455280010011

17 5184853328 น.ส. กิติยา ปรัตถจริยา คณะนิเทศศาสตร มหาบัณฑิต นิเทศศาสตรพัฒนาการ 65453280320001

18 5172255023 นาย ชนินทร สาริกภูติ คณะวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต เทคโนโลยีชีวภาพ 65453234100023

19 5072624923 นาย ศรุต ไทยรัตน คณะวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต เทคโนโลยีชีวภาพ 65453234100024

20 5072250823 นาย ชนภัฏฏ ลักษณะวิลาศ คณะวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม 65453231210013

21 5172400723 น.ส. ภัทรสุภา ศรีธนกฤช คณะวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต ปโตรเคมีและวิทยาศาสตรพอลิเมอร 65453231130021

22 4983680327 น.ส. ณัฐธิดา ทองเอี่ยม คณะครุศาสตร มหาบัณฑิต การสอนภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ 65453270140002

23 5174758830 น.ส. จริยา พูลภักดี คณะแพทยศาสตร มหาบัณฑิต ชีวเคมีทางการแพทย 65453300500002

24 5176566033 น.ส. ธราธร ไตรยวงค คณะเภสัชศาสตร มหาบัณฑิต เภสัชกรรมคลินิก 65453330110004

25 5176570433 นาย ปริญญ อยูเมือง คณะเภสัชศาสตร มหาบัณฑิต เภสัชวิทยา 65453331000004

26 5170226521 น.ส. กุลชาดา สงาสินธุ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต วิศวกรรมสิ่งแวดลอม 65453210700004

27 5270472621 น.ส. วชิราภรณ แดงประเสริฐ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาบัณฑิต วิศวกรรมเคมี 65453210520013

28 5187284820 น.ส. ศิตา วีรกุล บัณฑิตวิทยาลัย มหาบัณฑิต จุลชีววิทยาทางการแพทย 65453200500005

29 5087140020 น.ส. ทัศนีย วงศนาม บัณฑิตวิทยาลัย มหาบัณฑิต เภสัชวิทยา 65453200600006

30 5187534720 นาย ธนันท เฉลิมสินสุวรรณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดลอม 65455334200005

31 5187529620 นาย ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาบัณฑิต การจัดการสิ่งแวดลอม 65455334200006

รหัสเขตตามหนาที่ของผูรับทุน 90 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุนที่ 12 (2/2553)

ภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา 2552 ปงบประมาณ 2553

27

ข้ันตอนการรับทุน 90 ป จุฬาฯ