40
RFID (Radio Frequency Identification) นางสาว ขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ รหัสนิสิต 4980111022 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งในการศึกษารายวิชา เทคโนโลยีสําหรับบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร (2206690) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคเรียนปลาย ปการศึกษา 2549

เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

Embed Size (px)

DESCRIPTION

เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

Citation preview

Page 1: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

RFID (Radio Frequency Identification)

นางสาว ขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ

รหัสนิสิต 4980111022

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งในการศึกษารายวิชา เทคโนโลยีสําหรับบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศศาสตร

(2206690) ภาควิชาบรรณารักษศาสตร คณะอักษรศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคเรียนปลาย ปการศึกษา 2549

Page 2: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 1

คํานํา

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งในการศึกษารายวิชาเทคโนโลยีสําหรับบรรณารักษศาสตรและสารนิเทศ

ศาสตร (2206690) ซึ่งไดรับมอบหมายจากอาจารยดวงเนตร วงศประทีป ใหศึกษา Hardware หรือ

Software ที่ใชในหองสมุด ซึ่งผูจัดทํารายงานสนใจศึกษา RFID

ในรายงาน RFIDประกอบดวยเนื้อหา ระบบ RFID คืออะไร องคประกอบของระบบ RFID

ลักษณะการทํางานของระบบ RFID วิธีการรับสงขอมูลระหวางแท็กสและเครื่องอาน การปองกันการชน

กันของสัญญาณขอมูล หลักการทํางานเบื้องตนของระบบ RFID การสื่อสารแบบไรสาย คลื่นพาหนะ

และมาตรฐานของระบบ RFID แนวความคิดของมาตรฐานระบบเปด กับระบบปด อัตราการรับสงขอมูล

และแบนดวิดธ ระยะการรับสงขอมูลและกําลังสง การนําระบบ RFID ไปใชงาน ตัวอยางและ

ประสบการณการนําเทคโนโลยี RFID มาใช ปญหาที่เกิดจากการใช RFID และกรณีศึกษา

หากรายงานฉบับนี้ผิดพลาดประการใด ขออภัยไว ณ ที่นี้

น.ส. ขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ

Page 3: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 2

สารบัญ

คํานํา 1

สารบัญ 2

บทนํา 3

ระบบ RFID คืออะไร 3

องคประกอบของระบบ RFID 5

Tag หรือ Transponder 5

Reader หรือ Interrogator 9

ลักษณะการทํางานของระบบ RFID 11

วิธีการรับสงขอมูลระหวางแท็กสและเครื่องอาน 11

การปองกันการชนกันของสัญญาณขอมูล 12

หลักการทํางานเบื้องตนของระบบ RFID 12

การสื่อสารแบบไรสาย 13

คลื่นพาหนะและมาตรฐานของระบบ RFID 14

แนวความคิดของมาตรฐานระบบเปด กับระบบปด 15

อัตราการรับสงขอมูลและแบนดวิดธ 16

ระยะการรับสงขอมูลและกําลังสง 16

การนําระบบ RFIDไปใชงาน 17

การประยุกตใช RFID ในหวงโซอุปทาน และระบบลอจิสติกส 17

การประยุกตใช RFID ในอุตสาหกรรมรถยนต 20

การประยุกตใช RFID ในเกษตรกรรม 21

การประยุกตใช RFID ในการแพทย 23

การประยุกตใช RFID ในหองสมุด 23

ตัวอยางและประสบการณการนํา RFID มาใช 29

ปญหาที่เกิดจากการใช RFID 30

ภาคผนวกกรณีศึกษา 35

รายการอางอิง 39

Page 4: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 3

RFID (Radio Frequency Identification)

บทนํา

แมวาในชวงนี้จะเปนเศรษฐกิจถดถอยและอาจทําใหการซื้อหาอะไรจะตองคิดหนาคิดหลังอยูบาง

แตเชื่อแนวาทุกคนคงเคยไดเขาไปเดินจับจายซื้อของตามหางสรรพสินคาตาง ๆ ในขณะที่นําสินคาไปยัง

เคานเตอรเพื่อชําระเงิน ก็จะคุนเคยกับภาพของพนักงานที่ใชอุปกรณบางอยางตรวจสอบแถบรหัสหรือที่

เรียกกันวา แถบบารโคด บนตัวสินคาเพื่ออานขอมูลบางอยางออกมา ซึ่งแมวาฉลากแบบบารโคดจะเปนที่

นิยมและใชกันมากในบานเรา แตทวาวิธีการเก็บขอมูลแบบดังกลาวก็ยังคงมีจุดดอยที่ควรไดรบการแกไข

อยูหลายๆจุด ปญหาที่เห็นไดชัดขอหนึ่งก็คือ ปญหาในการอานคาขอมูลจากแถบดังกลาวที่ตองยิงลําแสง

ตรวจจับลงไปยังฉลากเพื่ออานคากลับ หรือใชกลองซีดีขนาดเล็กจับภาพฉลากขึ้นมาเพื่ออานภาพก็ตาม

ซึ่งถาหากวาแถบขอมูลดังกลางมีรอยเปอนหรือไมชัดเจน การอานคากลับมาอาจจะมีความผิดพลาด

นอกจากนั้นวิธีการอานคาที่จําเปนตองนําเครื่องอานมาวางอยูเหนือฉลากที่ตองการอานคาก็ไมใชทางที่

สะดวกสําหรับงานบางประเภท โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีที่มีฉลากตองตรวจสอบเปนจํานวนมากๆ นี้

ก็คงเปนหนึ่งในหลายๆ เหตุผลที่ทําใหเกิดการพัฒนาระบบฉลากแบบใหมซึ่งมีชื่อเรียกวา “RFID”

ระบบ RFID คืออะไรRFID ยอมาจากคําวา Radio Frequency Identification เปนระบบฉลากที่ไดถูกพัฒนามาตั้งแตป

ค.ศ. 1980 โดยที่อุปกรณ RFID ที่มีการประดิษฐข้ึนใชงานเปนครั้งแรกนั้น เปนผลงานของ Leon

Theremin ซึ่งสรางใหกับรัฐบาลของประเทศรัสเซียในป ค.ศ. 1945 ซึ่งอุปกรณที่สรางขึ้นมาในเวลานั้นทํา

หนาที่เปนเครื่องมือดักจับสัญญาณ ไมไดทําหนาที่เปนตัวระบุเอกลักษณอยางที่ใชงานกันอยูในปจจุบัน

(ลัคน มูสิกะนุกูล, ม.ป.ป.)

RFID ในปจจุบันมีลักษณะเปนปายอิเล็กทรอนิกส (RFID Tag) ที่สามารถอานคาไดโดยผาน

คลื่นวิทยุจากระยะหาง เพื่อตรวจ ติดตามและบันทึกขอมูลที่ติดอยูกับปาย ซึ่งนําไปฝงไวในหรือติดอยูกับ

วัตถุตางๆเชน ผลิตภัณฑ กลอง หรือส่ิงของใดๆ สามารถติดตามขอมูลของวัตถุ 1 ชิ้นวา คืออะไร ผลิตที่

ไหน ใครเปนผูผลิต ผลิตอยางไร ผลิตวันไหน และเมื่อไร ประกอบไปดวยชิ้นสวนกี่ชิ้น และแตละชิ้นมาจาก

ที่ไหน รวมทั้งตําแหนงที่ตั้งของวัตถุนั้น ๆ ในปจจุปนวาอยูสวนใดในโลก โดยไมจําเปนตองอาศัยการสัมผัส

(Contact-Less) หรือตองเห็นวัตถุนั้นๆ กอน ทํางานโดยใชเครื่องอานที่ส่ือสารกับปายดวยคลื่นวิทยุในการ

อานและเขียนขอมูล (ทวีศักดิ์ กออนันตกูล, 2548 ; Smith Suksmith, ม.ป.ป.)

Page 5: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 4

RFID มีขอไดเปรียบเหนือกวาระบบบารโคดดังนี้ (Smith Suksmith, ม.ป.ป.)

- มีความละเอียด และสามารถบรรจุขอมูลไดมากกวา ซึ่งทําใหสามารถแยกความแตกตาง

ของสินคาแตละชิ้นแมจะเปน SKU (Stock Keeping Unit – ชนิดสินคา) เดียวกันก็ตาม

- ความเร็วในการอานขอมูลจากแถบ RFID เร็วกวาการอานขอมูลจากแถบบารโคดหลาย

สิบเทา

- สามารถอานขอมูลไดพรอมกันหลายๆ แถบ RFID

- สามารถสงขอมูลไปยังเครื่องรับไดโดยไมจําเปนตองนําไปจอในมุมที่เหมาะสมอยางการ

ใชเครื่องอานบารโคด (Non-Line of Sight)

- คาเฉลี่ยของความถูกตองของการอานขอมูลดวยเทคโนโลยี RFID นั้นจะอยูที่ประมาณ

99.5 เปอรเซ็นต ขณะที่ความถูกตองของการอานขอมูลดวยระบบบารโคดอยูที่ 80

เปอรเซ็นต

- สามารถเขียนทับขอมูลได จึงทําใหสามารถนํากลับมาใชใหมไดซึ่งจะลดตนทุนของการ

ผลิตปายสินคา ซึ่งคิดเปนประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท

- สามารถขจัดปญหาที่เกิดขึ้นจากการอานขอมูลซํ้าที่อาจเกิดขึ้นจากระบบบารโคด

- ความเสียหายของปายชื่อ (Tag) นอยกวาเนื่องจากไมจําเปนตองติดไวภายนอกบรรจุ

ภัณฑ

- ระบบความปลอดภัยสูงกวา ยากตอการปลอมแปลงและลอกเลียนแบบ

- ทนทานตอความเปยกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก

ปจจุบันมีการนํา RFID มาใชงานกันในงานหลายอยาง ไมวาจะเปนในบัตรชนิดตางๆ เชน บัตร

ประจําตัวประชาชน บัตรเอทีเอ็ม บัตรสําหรับผานเขาออกหองพัก บัตรโดยสารของสายการบิน บัตรจอดรถ

ในฉลากของสินคาหรือแมแตใชฝงลงในตัวสัตวเพื่อบันทึกประวัติ เปนตน การนํา RFID มาใชงานก็เพื่อ

ประโยชนในการตรวจสอบการผานเขาออกบริเวณใดบริเวณหนึ่ง หรือเพื่ออานหรือเก็บขอมูลบางอยาง

เอาไว ยกตัวอยางเชนในกรณีที่เปนฉลากสินคา RFID ก็จะถูกนํามาใชในการเก็บบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ

สินคา เพื่อใหสามารถทราบถึงที่มาที่ไปของสินคาชิ้นนั้นๆ ได เปนตน สําหรับรูปแบบของเทคโนโลยี RFID

ที่ใชในการดังกลาวก็มีทั้งแบบสมารทการดที่สามารถถูกเขียนหรืออานขอมูลออกมาไดโดยไมตองมีการ

สัมผัสกับเครื่องอานบัตรหรือคอนแทคเลสสมารทการด (Contact less Smart card), เหรียญ, ปายชื่อหรือ

ฉลากซึ่งมีขนาดเล็กมากจนสามารถแทรกลงระหวางชั้นของเนื้อกระดาษ หรือฝงเอาไวในตัวสัตวไดเลย

ทีเดียว

Page 6: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 5

องคประกอบของระบบ RFID (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

องคประกอบตางๆ ของระบบ RFID

องคประกอบในระบบ RFID จะมีหลักๆ อยู 2 สวนดวยกัน คือ สวนแรกคือฉลากหรือปายขนาด

เล็กที่จะถูกผนึกอยูกับวัตถุที่เราสนใจ โดยฉลากนี้จะทําการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับวัตถุชิ้นนั้นๆ เอาไว ฉลาก

ดังกลาวมีชื่อเรียกวา ทรานสพอนเดอร (Transponder, Transmitter & Responder) หรือที่เรียกกันโดยทั่ว

ไปวา “แท็กส” (Tag) สวนที่สองก็คืออุปกรณสําหรับอานหรือเขียนขอมูลภายในแท็กส มีชื่อเรียกวา

ทรานสซิฟเวอร (Transceiver, Transmitter & Receiver) หรือที่เรียกกันโดยทั่ว ๆ ไปวา “เครื่องอาน”

(Reader) ทั้งสองสวนจะสื่อสารกันโดยอาศัยชองความถี่วิทยุ สัญญาณนี้ผานไดทั้งโลหะและอโลหะแตไม

สามารถติดตอกับเครื่องอานใหอานไดโดยตรง เมื่อเครื่องอานสงขอมูลผานความถี่วิทยุ แสดงถึงความ

ตองการขอมูลที่ถูกระบุไวจากปาย ปายจะตอบขอมูลกลับและเครื่องอานจะสงขอมูลตอไปยังสวน

ประมวลผลหลักของคอมพิวเตอร โดยเครื่องอานจะติดตอส่ือสารกับคอมพิวเตอรโดยผานสายเครือขาย

LAN (Local Area Network) หรือสงผานทางความถี่วิทยุจากทั้งอุปกรณมีสายและอุปกรณไรสาย

1) Tag หรือ Transponder แท็กส (Tag) นั้นเรียกอีกชื่อหนึ่งวาทรานสปอนเดอร(Transponder) มาจากคําวาทรานสมิตเตอร

(Transmitter) ผสมกับคําวาเรสปอนเดอร (Responder) ถาจะแปลใหตรงตามศัพท แท็กสก็จะทําหนาที่

สงสัญญาณหรือขอมูลที่บันทึกอยูในแท็กสตอบสนองไปที่ตัวอานขอมูล การสื่อสารระหวางแท็กสและตัว

อานขอมูลจะเปนการสื่อสารกันโดยอาศัยชองความถี่วิทยุผานอากาศ โครงสรางภายในแท็กสจะประกอบ

ไปดวย 2 สวนใหญ ๆ ไดแก สวนของไอซีซึ่งเปนชิปสารกึ่งตัวนํา (Semiconductor Chip) และสวนของ

ขดลวดซึ่งทําหนาที่เปนเสาอากาศสําหรับรับสงขอมูลโดยทั้งสองสวนนี้จะเชื่อมตออยูดวยกัน

Page 7: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 6

ไอซีของแท็กสที่มีการผลิตออกมาจะมีทั้งขนาดและรูปรางเปนไดตั้งแตแทงหรือแผนขนาดเล็กจน

แทบไมสามารถมองเห็น หรือไปจนถึงขนาดใหญจนสะดุดตา ซึ่งตางก็มีความเหมาะสมกับชนิดงานที่

แตกตางกัน โดยทั่วไปโครงสรางภายในสวนที่เปนไอซีของแท็กสนั้นก็จะประกอบดวย 2 สวนหลัก ๆ ไดแก

1. สวนของการควบคุมภาครับสงสัญญาณวิทยุ สําหรับโครงสรางของสวนนี้ประกอบดวยภาคดี

มอดูเลตและภาคมอดูเลต (สําหรับรับสงขอมูลระหวางแท็กสกับตัวเครื่องอาน) และวงจรกําเนิดไฟฟา

ขนาดเล็ก

2. สวนของการควบคุมภาคดิจิตอล ซึ่งรับหนาที่จัดการเกี่ยงกับกระบวนการทางดิจิตอลทั้งหมด

โครงสรางหลัก ๆ ของสวนการทํางานนี้ประกอบดวย สวนบันทึกขอมูล (ประกอบดวยหนวยความจํา

แรม (RAM) , รอม(ROM), อีอีพรอม(EEPROM)) สวนของการเขารหัส (Crypts Unit) สวนตอบรับ

สัญญาณรองขอ (Answer to Request) สวนควบคุมและประมวลผลทางคณิตศาสตร (Control &

Arthritic Unit) อยางไรก็ตามโครงสรางภายในของแท็กสที่ตางผูผลิตหรือตางรุนกัน บางครั้งก็อาจมีไม

ครบถวนทุกสวนอยางที่ไดยกมา ซึ่งรายละเอียดโครงสรางตลอดจนรายละเอียดในการทํางานของแทก็ส

เบอรใด ๆ ก็สามารถดูไดจากดาตาชีตของบริษัทผูผลิตแท็กสเบอรนั้น ๆ

ตําแหนงของแท็กสที่หมาะสมสําหรับยานของสายอากาศที่ทาํงานไดอยางมีประสิทธภิาพ

Transponder หรือ Tags มีลักษณะเปนไมโครชิฟ (microchip) ที่ยอมใหผูใชติดเขาระหวางชั้น

ของกระดาษหรือพลาสติกที่ใชทําปายฉลาก ชิฟหรือแท็กสอาจมีรูปรางไดหลายแบบขึ้นอยูกับการนําไปใช

งาน โดยอาจมีรูปรางเหมือนบัตรเครดิตในการใชงานทั่วไป หรือเล็กขนาดไสดินสอยาวเพียง 10 มิลลิเมตร

เพื่อฝงเขาไปใตผิวหนังสัตวในกรณีนําไปใชในงานปศุสัตว หรืออาจมีขนาดใหญมากสําหรับแท็กสที่ใชติด

กับเครื่องจักรขณะทําการขนสง แท็กสอาจนําไปติดไวกับสินคาในรานคาปลีกทั่วไปเพื่อปองกันขโมย

โดยจะมีการติดตั้งสายอากาศของตัวอานขอมูลขนาดใหญไวตรงประตูทางออกเพื่อทําการตรวจจับขโมย

Page 8: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 7

โดยแท็กสจะรับพลังงานจากสัญญาณ RF เพื่อติดตอส่ือสารกับเครื่องอาน หรือใชพลังงานจากแบ็ตเตอรร่ี

ที่บรรจุภายในปาย ซื่งเปนแบ็ตเตอรร่ี Lithium-lon มีอายุการใชงานที่ยาวนาน จึงมักนํามาใชกับแผนปายนี้

ระบบการอาน/เขียนขอมูลอยางงายของ RFID

แท็กสจะประกอบไปดวยสายอากาศที่มีขนาดเล็กที่จะชวยใหแท็กสตอบสนองกับเครื่องอาน โดย

สานอากาศจะแผสัญญาณวิทยุจํานวนหนึ่งออกมา เพื่อกระตุนใหแท็กสอานหรือเขียนขอมูลลงไป

สายอากาศสามารถทําไดทุกขนาดและรูปราง เพื่อที่จะสามารถออกแบบใหติดตั้งไดทุกที่ และเพื่อใหเกิด

ความครอบคลุมไดดีที่สุดในหลาย ๆ ระบบสายอากาศจะถูกติดไปโดยตรงกับ Transceiver เหมือนกับเปน

อุปกรณติดกัน

ชิปที่อยูในแท็กสจะมีหนวยความจําซึ่งอาจเปนแบบอานไดอยางเดียว (ROM) หรือทั้งอานทั้งเขียน

(RAM) ทั้งนี้ข้ึนอยูกับความตองการในการใชงาน โดยปกติหนวยความจําแบบ ROM จะใชเก็บขอมูล

เกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัย เชน ขอมูลของบุคคลที่มีสิทธิผานเขาออกในบริเวณที่มีการควบคุมหรือ

ระบบปฏิบัติการ ในขณะที่RAMจะใชเก็บขอมูลชั่วคราวในระหวางที่แท็กและตัวอานขอมูลทําการ

ติดตอส่ือสารกัน

นอกจากนี้อาจมีการนําหนวยความจําแบบ EEPROM มาใชในกรณีตองการเก็บขอมูลในระหวาง

ที่แท็กและตัวอานขอมูลทําการสื่อสาร และขอมูลยังคงอยูถึงแมจะไมมีพลังงานไฟฟาปอนใหแกแท็กส

แท็กสที่มีการใชงานกันอยูนั้นจะมีอยู 2 ชนิดใหญ ๆ โดยแตละชนิดก็จะมีความแตกตางกันในแงของ

การใชงาน ราคา โครงสรางและหลักการทํางานอยู ซึ่งจะสามารถแยกออกเปนหัวขอดังนี้

Page 9: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 8

1.1) แท็กสชนิดแอ็กตีฟ (Active Tag) แท็กสชนิดนี้จะมีแบตเตอรี่อยูภายในซึ่งใชเปน

แหลงจายไฟขนาดเล็ก เพื่อปอนพลังงานไฟฟาใหแท็กสทํางานโดยปกติ โดยแท็กสชนิดนี้มีฟงกชั่นการ

ทํางานทั่วไปทั้งอานและเขียนขอมูลลงในแท็กได และการที่ตองใชแบตเตอรี่จึงทําใหแท็กชนิดแอกตีฟมี

อายุการใชงานจํากัดตามอายุของแบตเตอรี่ เมื่อแบตเตอรี่หมดก็ตองนําแท็กสไปทิ้งไมสามารถนํากลับมา

ใชใหมได เนื่องจากจะมีการซีล (seal) ที่ตัวแท็กสจึงไมสามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่ได อยางไรก็ตามถา

สามารถออกแบบวงจรของแท็กสใหกินกระแสไฟนอยๆ ก็อาจจะมีอายุการใชงานนานนับสิบป

แท็กสชนิดแอ็กทีฟนี้จะมีหนวยความจําภายในขนาดใหญไดถึง 1 เมกะไบต มีกําลังสงสูงและระยะการ

รับสงขอมูลไกลสูงสุดถึง 6 เมตร ซึ่งไกลกวาแท็กสชนิดพาสซีฟ นอกจากนี้ยังทํางานในบริเวณที่มีสัญญาณ

รบกวนไดดี แมแท็กสชนิดนี้จะมีขอดีอยูหลายขอแตก็มีขอเสียอยูดวยเหมือนกัน เชน ราคาตอหนวยแพง มี

ขนาดคอนขางใหญ และมีระยะเวลาในการทํางานที่จํากัด

1.2) แท็กสชนิดพาสซีฟ (Passive Tag) จะไมมีแบตเตอรี่อยูภายในหรือไมจําเปนตองรับ

แหลงจายไฟใด ๆ เพราะจะทํางานโดยอาศัยพลังงานไฟฟาที่เกิดจากการเหนี่ยวนําคลื่นแมเหล็กไฟฟา

จากตัวอานขอมูล (มีวงจรกําเนิดไฟฟาขนาดเล็กอยูในตัว)หรือที่เรียกวาอุปกรณ Transceiver จึงทําให

แท็กสชนิดพาสซีฟมีน้ําหนักเบาและเล็กกวาแท็กสชนิดแอ็กทีฟ ราคาถูกกวา และมีอายุการใชงานไม

จํากัด แตขอเสียก็คือระยะการรับสงขอมูลใกลซึ่งสามารถสงขอมูลไดไกลสุดเพียง 1.5 เมตร ซึ่งเปน

ระยะการอานที่ส้ัน มีหนวยความจําขนาดเล็กซึ่งโดยทั่ว ๆ ไปประมาณ 32 ถึง 128 บิต และตัวเครื่อง

อานขอมูลจะตองมีความไวและกําลังที่สูง นอกจากนี้แท็กสชนิดพาสซีฟมักจะมีปญหาเมื่อนําไปใชงาน

ในสิ่งแวดลอมที่มีสัญญาณแมเหล็กไฟฟารบกวนสูงอีกดวย แตขอไดเปรียบในเรื่องราคาตอหนวยที่ต่ํา

กวาแท็กสชนิดแอ็กทีฟและอายุการใชงานที่ยาวนานกวาทําใหแท็กสชนิดพาสซีฟนี้เปนที่นิยมมากกวา

ไอซีของแท็กสชนิดพาสซีฟที่มีการผลิตออกมาจะมีทั้งขนาดและรูปรางเปนไดตั้งแตแทงหรือแผนขนาด

เล็กจนแทบไมสามารถมองเห็นได ไปจนถึงขนาดใหญจนสะดุดตา ซึ่งตางก็มีความเหมาะสมกับชนิด

งานที่แตกตางกัน

Page 10: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 9

แท็กสในรูปแบบตาง ๆ

นอกจากการแท็กแบงจากชนิดที่วามาแลวแท็กก็ยังถูกแบงประเภทจากรูปแบบในการใชงานไดเปน 3

แบบ คือ

1. แบบที่สามารถถูกอานและเขียนขอมูลไดอยางอิสระ (Read-write)

2. แบบเขียนไดเพียงครั้งเดียวเทานั้นแตอานไดอยางอิสระ (Write-One, Read-Many หรือ

WORM)

3. แบบอานไดเพียงอยางเดียว (Read-Only)

2) Reader หรือ Interrogator หนาที่สําคัญของตัวอานขอมูล (Reader หรือ Interrogator) ก็คือการรับขอมูลที่สงมาจากแท็กส

แลวทําการตรวจสอบความผิดพลาดของขอมูล ถอดรหัสสัญญาณขอมูลที่ ได รับซึ่ งกระทําโดย

ไมโครคอนโทรเลอร อัลกอริทึมที่อยูในเฟรมแวร (Firmware) ของตัวไมโครคอนโทรเลอรจะทําหนาที่ในการ

สงสัญญาณ ถอดรหัสสัญญาณที่ได และทําหนาที่ติดตอกับคอมพิวเตอรเพื่อนําขอมูลผานเขาสู

กระบวนการตอไป นอกจากนี้ตัวอานขอมูลที่ดีตองมีความสามารถในการปองกันการอานขอมูลซํ้า เชน ใน

Page 11: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 10

กรณีที่แท็กถูกวางทิ้งอยูในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟาที่ตัวอานขอมูลสรางขึ้น หรืออยูในระยะการรับสง ก็

อาจทําใหตัวอานขอมูลทําการรับหรืออานขอมูลจากแท็กซ้ําอยูเร่ือยๆไมส้ินสุด

ดังนั้นตัวอานขอมูลที่ดีตองมีระบบปองกันเหตุการณเชนนี้ที่เรียกวาระบบ "Hands Down Polling"

โดยตัวอานขอมูล จะสั่งใหแท็กสหยุดการสงขอมูลในกรณีเกิดเหตุการณดังกลาว หรืออาจมีบางกรณีที่มี

แท็กสหลายแท็กสอยูในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟาพรอมกัน หรือที่เรียกวา "Batch Reading" ตัวอาน

ขอมูลควรมีความสามารถที่จะจัดลําดับการอานแท็กสทีละตัวได

ลักษณะเครื่องอาน RFID ที่แตกตางกนัตามการใชงาน

ตัวอยางการใชงานแท็กสและตัวอานขอมูล (Reader )

Page 12: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 11

ลักษณะการทํางานของระบบ RFID (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

หัวใจของเทคโนโลยี RFID ไดแก"Inlay" ที่บรรจุอุปกรณและวงจรอิเล็กทรอนิกสกับโลหะที่ยืดหยุน

ไดสําหรับการติดตามหรือทําหนาที่เปนเสาอากาศนั่นเอง Inlay มีความหนาสูงสุดอยูที่ 0.375 มิลลิเมตร

สามารถทําเปนแผนบางอัดเปนชั้น ๆ ระหวางกระดาษ, แผนฟลม หรือพลาสติกก็ได ซึ่งเปนการผลิต

เครื่องหมายหรือฉลาก จากวัสดุที่มีราคาไมแพงมากนัก ซึ่งจะเห็นวา Inlay มีลักษณะรูปรางที่บางมาก จึง

ทําใหงายตอการติดเปนปายชื่อหรือฉลากของชิ้นงานหรือวัตถุนั้น ๆ ไดสะดวก

RFID เปนระบบที่นําเอาคลื่นวิทยุมาเปนคลื่นพาหะเพื่อใชในการสื่อสารขอมูลระหวางอุปกรณสอง

ชนิดที่เรียกวา แท็กส (Tag) และตัวอานขอมูล (Reader หรือ Interrogator) ซึ่งเปนการสื่อสารแบบไรสาย

(Wireless) โดยการนําขอมูลที่ตองการสง มาทําการมอดูเลต (Modulation) กับคลื่นวิทยุแลวสงออกผาน

ทางสายอากาศที่อยูในตัวรับขอมูล ดังแผนผังการทํางานของระบบ RFID ดังในรูป

แผนผังการทาํงานของระบบ RFID

การประยุกตใชงาน RFID จะมีลักษณะการใชงานที่คลายกับบารโคด (Bar code) และยังสามารถ

รองรับความตองการอีกหลายอยางที่บารโคดไมสามารถตอบสนองได เนื่องจากบารโคดจะเปนระบบทีอ่าน

ไดอยางเดียว (Read only) ไมสามารถทําการเปลี่ยนแปลงขอมูลที่อยูบนบารโคดได แตแท็กสของระบบ

RFID จะสามารถทั้งอานและบันทึกขอมูลได ดังนั้นเราจึงสามารถเปลี่ยนแปลง หรือทําการบันทึกขอมูลที่

อยูในแท็กสไดตามความตองการของผูใชงาน แท็กและตัวอานขอมูลสามารถสื่อสารผานตัวกลางได

หลายอยางเชน น้ํา, พลาสติก, กระจก หรือวัสดุทึบแสงอื่นๆในขณะที่บารโคดทําไมได

วิธีการรับสงขอมูลระหวางแท็กสและเครื่องอาน (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

โดยมากมักจะใชวิธีการมอดูเลตทางแอมปลิจูดหรือใชการมอดูเลตทางแอมปลิจูดบวกกับการ

เขารหัสแมนเชสเตอร (Manchester encoded AM) แตทวาในปจจุบันก็มีแท็กสที่ใชการมอดูเลตแบบอื่นๆ

ดวย เชน การมอดูเลชั่นแบบเฟสซีฟคียอ้ิง(Phase Shift Keying : PSK) ฟรีเควนซี่ซีฟคียอ้ิง (Freqeuecy

Shift Keying : FSK) หรือการใชการมอดูเลตทางความถี่ (Frequency Modulation : FM)

Page 13: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 12

ในการรับสงขอมูลหรือสัญญาณวิทยุระหวางแท็กสกับเครื่องอาน จะไดอยางมีประสิทธิภาพ

ตอเมื่อสายอากาศมีความยาวที่เหมาะสมกับความถี่พาหะที่ใชงาน เชน เมื่อความถี่ใชงานเปน 13.56

เมกะเฮิรตซ ความยาวของเสาอากาศ (เปนเสนตรง) ที่เหมาะสมก็คือ 22.12 แนนอนวาในทางปฏิบัติคงไม

สามารถนําเสาอากาศที่ใหญขนาดนั้นมาใชงานกับแท็กสขนาดเล็กได สายอากาศที่ดูจะเหมาะจะใช

รวมกับแท็กสมากที่สุดก็คือ สายอากาศที่เปนขดลวดขนาดเล็กหรือที่มีชื่ออยางเปนทางการวาสายอากาศ

แบบแมกเนติกไดโพล (Magnetic dipole Antenna) รูปแบบของสายอากาศแบบนี้ก็จะมีอยูหลากหลายทั้ง

แบบที่เปนขดลวดพันแกนอากาศหรือแกนเฟอรไรต แบบที่เปนวงลูปที่ทําขึ้นจากลายทองแดงบน

แผนวงจรพิมพ ทั้งที่เปนลูปแบบวงกลมและสี่เหลี่ยม ทั้งนี้ความเหมาะสมในการใชงานก็แตกตางกันไป

ตามความถี่พาหะและประเภทของงานดวยเชนกัน

นอกจากการรับสงขอมูลแลวสายอากาศก็ยังทําหนาที่เปนแหลงจายไฟใหกับแท็กสดวย โดยอาศัย

หลักการทํางานตามแนวคิดของไมเคิล ฟาราเดย เร่ืองแรงดันเหนี่ยวนําในขดลวดที่เกิดขึ้นจากเสนแรง

แมเหล็ก (จากเครื่องอาน) ที่มีคาเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา (Time-varying magnetic field) พุงผาน

สายอากาศของแท็กส เมื่อแท็กสและเครื่องอานตั้งอยูหางกันในระยะ 0.16 เทาของความยาวของคลื่น

พาหะที่ใช เรียกปรากฏการณที่เกิดขึ้นวา Transformer-type Coupling ซึ่งเปนปรากฏการณแบบเดียวกับ

การเกิดแรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นระหวางขดลวดปฐมภูมิ (Primary) และขดลวดทุติยภูมิ (Secondary) ใน

ทรายสฟอรเมอร (Transformer) จะเปนวงจรพื้นฐานสําหรับอธิบายกลไกที่เกิดขึ้นในการสงขอมูลของ

แท็กส

การปองกันการชนกันของสัญญาณขอมูล (Anti-Collision) (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

ในการที่จะรับขอมูลจากแท็กสหลาย ๆ อัน ทั้งแท็กสและตัวเครื่องอานตองไดรับการออกแบบให

รองรับสภาวะที่มีแท็กสมากกวา 1 อันทํางาน (สงสัญญาณ) มิเชนนั้นแลวสัญญาณพาหะก็จะมีการสงออก

ในเวลาเดียวกันทําใหเกิดการชนของสัญญาณ (Collusion) จะทําใหไมมีขอมูลใด ๆ สงถึงตัวเครือ่งอานเลย

การติดตอระหวางแท็กสกับตัวเครื่องอานเปรียบเสมือน บัสแบบอนุกรม แตบัสชนิดนี้จะใชอากาศเปน

ตัวกลางในการสงสัญญาณ ในระบบบัสที่ใชเคเบิ้ลเปนตัวกลางก็ตองมีการควบคุมไมใหเกิดการชนกันของ

สัญญาณ RFID ก็จําเปนที่จะตองมีการปองกันใหมีการสงสัญญาณจากแท็กสอันเดียวตอชวงเวลานั้น

เชนกัน

หลักการทํางานเบื้องตนของระบบ RFID (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

1. ตัวอานขอมูลจะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมาตลอดเวลา และคอยตรวจจับวามีแท็กสเขามา

อยูในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟาหรือไม หรืออีกนัยหนึ่งก็คือการคอยตรวจจับวามีการมอดูเลตสัญญาณ

เกิดขึ้นหรือไม

Page 14: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 13

2. เมื่อมีแท็กสเขามาอยูในบริเวณสนามแมเหล็กไฟฟา แท็กจะไดรับพลังงานไฟฟาที่เกิดจากการ

เหนี่ยวนําของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเพื่อใหแท็กเริ่มทํางาน และจะสงขอมูลในหนวยความจําที่ผานการมอดู

เลตกับคลื่นพาหะแลวออกมาทางสายอากาศที่อยูภายในแท็ก

3. คลื่นพาหะที่ถูกสงออกมาจากแท็กสจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแอมปลิจูด, ความถี่ หรือเฟส ข้ึนอยู

กับวิธีการมอดูเลต

4. ตัวอานขอมูลจะตรวจจับความเปลี่ยนแปลงของคลื่นพาหะแปลงออกมาเปนขอมูลแลวทําการ

ถอดรหัสเพื่อนําขอมูลไปใชงานตอไป

การสื่อสารแบบไรสาย (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

การสื่อสารขอมูลของระบบ RFID คือระหวางแท็กและตัวอานขอมูล (Reader หรือ Interrogator)

จะสื่อสารแบบไรสายผานอากาศ โดยจะนําขอมูลมาทําการมอดูเลต (Modulation) กับคลื่นพาหะที่เปน

คลื่นความถี่วิทยุโดยมีสายอากาศ (Antenna) ที่อยูในตัวอานขอมูลเปนตัวรับและสงคลื่นซึ่งแบงออกเปน 2

วิธีดวยกันคือ วิธีเหนี่ยวนําคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Inductive Coupling หรือ Proximity Electromagnetic)

กับ วิธีการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา (Electromegnatic Propogation Coupling) ดังรูป

การสื่อสารระหวางแทก็สและตัวรับขอมูล

เทคนิคการมอดูเลตขอมูลเขากับคลื่นพาหะก็มีดวยกันหลายวิธี เชน ASK (Amplitude Shift

Keying), FSK (Frequency Shift Keying) หรือ PSK (Phase Shift Keying) ซึ่งขึ้นอยูกับผูออกแบบจะ

เลือกใหมีความเหมาะสมกับการใชงานแตละประเภท

การมอดูเลตเชิงเลขทางแอมปลิจูด ( ASK ) ความถี่ของคลื่นพาห (Carrir Wave) ซึ่งทําหนาที่

นําสัญญาณอนาล็อกผานตัวกลางสื่อสารนั้นจะคงที่ ลักษณะของสัญญาณมอดูเลตเมื่อคาของบิตของ

Page 15: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 14

สัญญาณขอมูลดิจิตอลมีคาเปน 1 ขนาดของคลื่นพาหจะสูงขึ้นกวาปกติ และเมื่อบิตมีคาเปน 0 ขนาดของ

คลื่นพาหจะตกลงกวาปกติ การมอดูเลต ASK มักจะไมคอยไดรับความนิยมเพราะจะถูกรบกวนจาก

สัญญาณอื่นไดงาย

การมอดูเลตเชิงเลขทางความถี่ ( FSK ) ในการมอดูเลตแบบFSK ขนาดของคลื่นพาหจะไม

เปลี่ยนแปลงที่เปลี่ยนแปลงคือความถี่ของคลื่นพาหนั่นคือ เมื่อบิตมีคาเปน1 ความถี่ของคลื่นพาหจะสูง

กวาปกติและเมื่อบิตมีคาเปน0 ความถี่ของคลื่นพาหก็จะต่ํากวาปกติ

การมอดูเลตเชิงเลขทางเฟส ( PSK ) หลักการของPhase Keying (PSK) คือ คาของขนาดและ

ความถี่ของคลื่นพาหจะไมมีการเปลี่ยนแปลงแตที่จะเปลี่ยนคือ เฟสของสัญญาณกลาวคือ เมื่อมีการ

เปลี่ยนแปลงสภาวะของบิตจาก1 ไปเปน 0 หรือเปลี่ยนจาก0 ไปเปน 1 เฟสของคลื่นจะเปลี่ยน(Shift) ไป

180 องศาดวย หลักการPSK สามารถทําไดทั้งแบบ 2 เฟส (0,90,180 และ 270 องศา)และแบบ 8 เฟส

(0,45,90,135,180,225,270 และ 315 องศา) ในการมอดูเลตเพื่อเปล่ียนสัญญาณขอมูลดิจิตอลใหเปน

สัญญาณอนาล็อกทั้ง 3 แบบ วิธีการแบบ PSK จะมีสัญญาณรบกวนเกิดขึ้นนอยที่สุดไดสัญญาณที่มี

คุณภาพดีที่สุดแตวงจรการทํางานจะยุงยากกวาและราคาสูงกวา

คลื่นพาหะและมาตรฐานของระบบ RFID (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

ในปจจุบันไดมีการรวมกลุมระหวางแตละประเทศ เพื่อทําการกําหนดมาตรฐานความถี่คลื่นพาหะ

ของระบบ RFID โดยมีสามกลุมใหญๆ คือ กลุมประเทศในยุโรปและอาฟริกา (Region1), กลุมประเทศ

อเมริกาเหนือและอเมริกาใต (Region2) และสุดทายคือกลุมประเทศตะวันออกไกลและออสเตรเลีย

(Region3) ซึ่งแตละกลุมประเทศจะกําหนดแนวทางในการเลือกใชความถี่ตางๆใหแกบรรดาประเทศสมาชิก

อยางไรก็ตาม ความถี่ของคลื่นพาหะที่นิยมใชงานในยานความถี่ต่ํา ยานความถี่ปานกลาง และ

ยานความถี่สูงก็คือ 125 kHz, 13.56 MHz และ 2.45 GHz ตามลําดับดังที่แสดงไวในตารางที่ 1 นอกจากนี้

รัฐบาลของแตละประเทศ โดยทั่วไปจะมีการออกกฏหมายเกี่ยวกับระเบียบการใชงานยานความถี่ตางๆ

รวมถึงกําลังสงของระบบ RFID ดวย

Page 16: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 15

ยานความถี่ตางๆ ของระบบ RFID และการใชงาน (วชัรากร หนทูอง และ อนุกูล นอยไม, ม.ป.ป. ;

ทวีศักดิ ์กออนนัตกูล, 2548)

ในแงของราคาและความเร็วในการสื่อสารขอมูล เมื่อเทียบกันแลว RFID ซึ่งใชคลื่นพาหะยาน

ความถี่สูงเปนระบบที่มีความเร็วในการสงขอมูลสูงสุดและมีราคาแพงที่สุดดวยเชนกัน สวน RFID ทีใ่ชคลืน่

พาหะยานความถี่ต่ําก็จะมีการสงขอมูลตํ่าและราคาก็จะต่ําลดหลั่นตามลงไปดวย

แนวความคิดของมาตรฐานระบบเปด กับระบบปด (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

ระบบเปด (Open System) คือ ระบบที่มีรูปแบบของขอมูลที่สงในลักษณะกลุมมีกฏระเบียบที่

สามารถอานไดจากเครื่องอานจํานวนมาก ความเปนมาตรฐานจะถูกกําหนดจากเครื่องมือที่สรางขอมูล

ผูใชโดยทั่วไปสามารถอานขอมูลดังกลาวได ซึ่งอาจจะเกิดจากการใชวิธีการหลาย ๆ อยางรวมกัน

ระบบปด (Closed System) คือ ระบบที่กฎของการเขารหัส (encode) และการถอดรหัส

(decode) ถูกกําหนดไวโดยเฉพาะเจาะจง หรือรูเฉพาะกลุมผูใชที่เปนเจาของ

สําหรับปาย RFID ปจจุบันนี้ถือวายังเปนมาตรฐานระบบเปด ดังนั้นผูขาย (vendor) ตองผลิต

และสนับสนุนระบบของตนเอง สวนเทคโนโลยีบารโคด เปนระบบที่มีความเปนมาตรฐานทั้งระบบเปดและ

ระบบปด

อยางไรก็ดี ปจจุบันนี้มีอุตสาหกรรมและองคกรมาตรฐานจํานวนมากที่พยายามพัฒนาระบบ

RFID ใหมีความเปนมาตรฐานยิ่งขึ้นมาก The International Standards Organization (ISO) Sub-

Committee (SC 31) ซึ่งเปนขอตกลงที่อยูภายใตการสํารวจเทคโนโลยีบารโคด และ RFID ของ ISO

Page 17: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 16

ในปจจุบัน SC 31 จะเนนที่ระบบมาตรฐานแบบเปด โดยประเด็นที่องคกรมาตรฐานไดคํานึงถึง

ไดแก

- วิธีการเปลี่ยนปายของระบบปดไปเปนระบบเปด เครื่องอานตองสามารถแยกไดทั้งสองระบบ

- เพราะวา RFID สามารถอานปายหลายปายไดในเวลาเดียวกัน ดังนั้นความเปนมาตรฐานตอง

ไมมีความซ้ําซอนกันระหวางขอมูลหลากหลายที่มีเขามา

- RFID บางชนิดยอมใหอาน / เขียนขอมูลได แตบารโคดไมสามารถทําได และขอบังคับจะทํา

ใหเกิดผลเล็กนอยกับการติดตั้งภายนอก ซึ่งเปนสิ่งที่ตอนํามาพิจารณา

ความสําคัญของการใช RFID จะเกี่ยวของกับการพัฒนาไปสูความเปนมาตรฐานไมไดเนนไปที่

จํานวนองคกรจากอุตสาหกรรมตาง ๆ วามีสวนรวมกับ SC 31 มากนอยเพียงใด แมวาสวนใหญจะเปน

การทํางานรวมกัน มีการแสดงใหเห็นถึงกลุมผลประโยชนตาง ๆ ออกมา แตก็มีหลักฐานแสดงใหเห็นวา มี

องคกรในอุตสาหกรรม RFID จํานวนมากที่ไมคอยคํานึงถึงความเปนมาตรฐาน ทําใหคนทั่ว ๆ ไปเชื่อวานี้

คือ การขาดความเปนมาตรฐาน ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่ขัดขวางการพัฒนาเทคโนโลยี RFID

อัตราการรับสงขอมูลและแบนดวิดธ (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

อัตราการรับสงขอมูล (Data Transfer Rate) จะขึ้นอยูกับความถี่ของคลื่นพาหะ โดยปกติถา

ความถี่ของคลื่นพาหะยิ่งสูง อัตราการรับสงขอมูลก็จะยิ่งสูงตามไปดวย สวนการเลือกแบนดวิดธ หรือยาน

ความถี่นั้นก็จะมีผลตออัตราการรับสงขอมูลเชนกันโดยมีหลักวา แบนดวิดธควรจะมีคามากกวาอัตราการ

รับสงขอมูลที่ตองการอยางนอยสองเทา ยกตัวอยางเชน ถาใชแบนดวิดธในชวง 2.4-2.5 GHz ก็จะสามารถ

รองรับอัตราการรับสงขอมูลไดถึงประมาณ 2 megabits ตอวินาที เปนตน แตการใชแบนดวิดธที่กวาง

เกินไปก็อาจทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับสัญญาณรบกวนมาก หรือทําให S/N Ratio ต่ําลงนั่นเอง ดังนั้นการ

เลือกใชแบนดวิดธใหถูกตองก็เปนสวนสําคัญในการพิจารณา

ระยะการรับสงขอมูลและกําลังสง (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

ระยะการรับสงขอมูลในระบบ RFID ข้ึนอยูกับปจจัยสําคัญตางๆ คือ กําลังสงของตัวอานขอมูล

(Reader/Interrogator Power) กําลังสงของแท็กส (Tag Power) และสภาพแวดลอม สวนการออกแบบ

สายอากาศของตัวอานขอมูล จะเปนตัวกําหนดลักษณะรูปรางของคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่แผกระจายออกมา

จากสายอากาศ ดังนั้นระยะการรับสงขอมูล บางทีอาจข้ึนอยูกับมุมของการรับสงระหวางแท็กและตัวอาน

ขอมูลดวยเชนกัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับรูปรางของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนสําคัญความเขมของคลื่นแมเหล็กไฟฟา

โดยทั่วไปจะลดลงตามระยะทางโดยแปรผกผันกับระยะทางยกกําลังสอง แตในบางสภาพแวดลอมซ่ึงอาจ

มีการสะทอนกลับของคลื่นแมเหล็กไฟฟาจากสิ่งตางๆรอบตัว เชน โลหะ ก็อาจทําใหความเขมของคลื่น

แมเหล็กไฟฟาลดลงอยางรวดเร็ว โดยอาจแปรผกผันกับระยะทางยกกําลังสี่ ปรากฏการณเชนนี้เราเรียกวา

Page 18: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 17

"Multi-path Attenuation" ซึ่งจะสงผลใหระยะการรับสงขอมูลส้ันลง หรือแมกระทั่งความชื้นในอากาศก็

อาจมีผลในกรณีที่ความถี่สูงๆ ดังนั้นการนําระบบ RFID ไปใชงานก็ควรมีการคํานึงถึงสภาพแวดลอม

เพราะจะมีผลกระทบกับระยะการรับสงขอมูล และพยายามติดตั้งระบบใหหางไกลจากโลหะ ซึ่งอาจทํา

ใหเกิดการสะทอนของคลื่นแมเหล็กไฟฟาได

กําลังสงของแท็กสที่จะสงกลับมายังตัวอานขอมูลนั้น โดยทั่วไปจะมีกําลังที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับ

กําลังสงของ ตัวอานขอมูล ดังนั้นความไวในการตรวจจับสัญญาณของตัวอานขอมูล ก็เปนอีกจุดหนึ่งที่

ตองพิจารณา

ถึงแมในทางเทคนิคเราจะสามารถทําใหตัวอานขอมูลมีกําลังสงมากแคไหนก็ได แตโดยทั่วไปก็จะ

ถูกจํากัดโดยกฏหมายของแตละประเทศ เชนเดียวกับความถี่ ดังนั้นในระบบ RFID โดยทั่วๆไปจะมีกําลัง

สงเพียงระหวาง 100 -500 mW

การนําระบบ RFIDไปใชงาน (Smith Suksmith, ม.ป.ป.) 1. การประยุกตใช RFID ในหวงโซอุปทาน และระบบลอจิสติกส

การนําเทคโนโลยี RFID เขามาประยุกตใชในโลกธุรกิจ สามารถทําไดมากมาย แตตัวอยางที่

ชัดเจนและมีการนําไปใชกันอยางแพรหลายที่สุดก็คงหนีไมพนในหวงโซอุปทาน และระบบลอจิสติกสดวย

เทคโนโลยี RFID ที่ติดไวในผลิตภัณฑ จะชวยทําใหผลิตภัณฑนั้น ๆสื่อสารระหวางกันได และยังสามารถ

ส่ือสารไปยังหนวยธุรกิจและผูบริโภคไดเชนกัน ซึ่งจะเปนการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญในกระบวนการผลิต

การขาย และการจับจายซื้อสินคา โดยมีตัวอยางวิธีการทํางานดังนี้

เ ร่ิมตนที่ในโรงงานผลิตน้ําอัดลมกระปอง ซึ่งจะมีการนําแถบ RFID( RFID Tags)

ไปติดไวที่น้ําอัดลมทุกกระปอง โดยแตละแถบ RFID ก็จะเก็บระหัสสินคาที่ตางกันไว ซึ่งแถบ RFID เหลานี้

เองจะชวยใหสามารถระบุถึงรายละเอียดของสินคาแตละกระปองได ดังนั้นการนับจํานวน และการติดตาม

สินคาจึงเปนไปอยางอัตโนมัติ ซึ่งเปนวิธีการที่จะชวยลดตนทุนไดอยางมีประสิทธิภาพ หลังจากนั้นกระปอง

น้ําอัดลมเหลานี้จะถูกบรรจุใสลังที่มีแถบ RFID ที่มีรหัสตางกันติดไวเชนกันแลวจึงขนเขาไปในรถบรรทุก

เพื่อรอการขนสงตอไป

เมื่อรถบรรทุกน้ําอัดลมกระปองเดินทางมาถึงศูนยกระจายสินคา เครื่องอาน RFID ซึ่งอยูใน

บริเวณที่รับสินคาก็จะทําการตรวจสอบน้ําอัดลมทุกกระปองโดยไมตองเปดบรรจุภัณฑออกมาจึงสามารถ

ทําใหการจัดสงน้ําอัดลมกระปองไปยังรถบรรทุกคันคันที่เหมาะสมในการขนถายไปยังรานคาปลีกไปได

อยางสะดวกรวดเร็ว

รานคาปลีกจะสามารถติดตามสถานการณขนสงของน้ําอัดลมกระปองที่ตนสั่งใหตลอดเวลา

เมื่อน้ําอัดลมกระปองมาถึงก็จะผานโกดังสินคาที่ติดเครื่องอาน RFID ไว ดังนั้นระบบการซื้อขายปลีกก็

จะสามารถอัพเดทขอมูลของน้ําอัดลมกระปองที่มาถึงไดโดยอัตโนมัติ และยังสามารถระบุตําแหนงการ

Page 19: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 18

จัดเรียงน้ําอัดลมกระปองทั้งหมด ในคลังสินคาไดโดยอัตโนมัติเชนกัน ทําใหการจัดเก็บสินคามีความ

ถูกตอง และประหยัดคาใชจาย

ภายในรานคาปลีก ก็มีการติดตั้งเครื่องอาน RFID ไวที่วางของเชนกัน เมื่อน้ําอัดลมกระปองถูก

นํามาวาง ชั้นวางของก็จะทราบโดยอัตโนมัติวามีส่ิงใดมาวางที่ชั้น และเมื่อลูกคามาหยิบน้ําอัดลมกระปอง

ออกไปจากชั้นวาง เครื่องอาน RFID ก็จะสงขอความไปยังระบบของทางรานคาปลีกโดยอัตโนมตั ิวาสนิคา

ที่อยูในชั้นมีจํานวนลดลงใหนําสินคาเขามาเติมใหเต็มอีกครั้ง ซึ่งในตัวระบบเองก็จะสามารถทําการสั่งซื้อ

ไปยังโรงงานผลิตน้ําอัดลมกระปอง จึงจะสงผลใหตนทุนในการรักษาสินคาคงคลังถูกจํากัดลง

ในสวนของผูบริโภคก็จะไดรับความสะดวกสบาย มากขึ้น เนื่องจากไมตองไปเขาคิวเพื่อรอการ

จายเงินที่แคชเชียร ผูซื้อสามารถเดินออกจากประตูพรอมกับส่ิงของที่ตองการ แลวเครื่องอานที่อยูที่ประตู

ทางออกจะสามารถจําแนกสินคา ที่อยูในรถเข็นตามรหัสเฉพาะของสินคาแตละชิ้นเพื่อการจายเงิน โดยจะ

สามารถหักจากบัตรเครดิต หรือเดบิตก็ได เมื่อกลับถึงบานแลวนําน้ําอัดลมกระปองที่ซื้อมาไปเก็บในตูเย็น

ในตูเย็นก็จะมีการอัพเดทปริมาณน้ําอัดลมกระปองที่นําไปแชเพิ่ม เมื่อใดก็ตามที่น้ําอัดลมกระปองหมดลง

ตูเย็นก็จะเพิ่มรายการเครื่องดื่มที่ตองการซื้อจากราคาปลีกใหโดยอัตโนมัติ

ในสวนของการทําลาย เมื่อกระปองน้ําอัดลมมาถึงศูนยรีไซเคิล เครื่องอาน RFID ก็จะทํางาน

อัตโนมัติในการจัดกลุมของการทํารีไซเคิล ซึ่งจะชวยลดคาใชจายลงจากกระบวนการเดิมที่ทําดวยมือ แลว

กระปองเหลานี้ก็จะถูกนําไปใชในกระบวนการผลิตอีกครั้ง

การประยุกตใชเทคโนโลยี RFID ในหวงโซอุปทาน และระบบลอจิสติกส สามารถแบงแยกในรายละเอียด

ถึงการนําไปประยุกตใชในหนวยงานตาง ๆ ไดดังนี้

1.1 การประยุกตใช RFID ในอุตสาหกรรมการผลิต

ในกระบวนการจัดซื้อ และเก็บรักษาวัตถุดิบตาง ๆ เทคโนโลยี RFID จะสามารถชวยลดเวลาใน

การจัดซื้อ, รักษาปริมาณวัตถุดิบใหเพียงพอตอการใชงาน แลจัดสรรปริมาณการใชกําลังคน และอุปกรณ

ตาง ๆไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงยังชวยกระชับเวลาในวงจรของการจัดซื้อ เพิ่มประสิทธิภาพ

ในกระบวนการผลิต เชนเดียวกันเทคโนโลยี RFID จะชวยในการจัดสรรปริมาณการใชกําลังคน และ

อุปกรณตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงยังชวยกระชับเวลาในวงจรของการจัดซื้อ เพิ่มประสิทธิภาพ

และชวยใหสามรถติดตามสถานะของสิ่งของตาง ๆ ไดทุกระยะ จึงปองกันการสูญหายไดเปนอยางดี

ในสวนของการใชประโยชนของสินทรัพยตาง ๆ RFID จะชวยประหยัดคาใชจายโดยสามารถนํากลับมาใช

ไหมได ( Reusable ) และรวมถึงการบํารุงรักษา เพื่อยืดอายุการใชงานของเครื่องมือตาง ๆ เปนตน

Page 20: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 19

1.2 การประยุกตใช RFID ในคลังสินคา ในกระบวนการรับ และสงสินคา เทคโนโลยีRFIDจะชวยยนระยะเวลาในการนับจํานวนตรวจสอบ

สินคาลง รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบความถูกตองของสินคาดังกลาวในสวนของการสั่งซื้อก็

จะชวยเพิ่มความถูกตอง และความปลอดภัยใหสูงขึ้น ในสวนของการจัดวางสินคาก็จะชวยลดความ

ผิดพลาดที่เกิดจากการวางสิ่งของผิดที่ผิดตําแหนง และยนระยะเวลาในการระบุตําแหนงที่ใชในการวาง

สินคานั้น ๆ โดยแถบ RFID จะแสดงถึงตําแหนงที่ใชในการวางสินคานั้นโดยอัตโนมัติ และสงสัญญาณ

เตือนเมื่อเกิดความผิดพลาดขึ้น นอกเหนือจากที่กลาวมาขางตน เทคโนโลยี RFID ยังชวยเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการวางแผนงานตางๆ ทั้งการจัดการอุปสงค อุปทาน และรวมถึงการเชื่อมโยงระหวาง

คลังสินคากับหนวยงานอื่น ๆที่เกี่ยวของ

1.3 การประยุกตใช RFID ในระบบการขนสง

ในเรื่องของการบริหารจัดการ และการดูแลรักษาทรัพยสินนั้น เทคโนโลยี RFID จะเขามา

ชวยเหลือในสวนของการเพิ่มประสิทธิผลที่ไดรับจากการใชบริการสินทรัพยนั้น ๆ ลดความเสียหายที่อาจ

เกิดขึ้น และปองกันความผิดพลาดจากการปฏิบัติงานที่อาจเกิดขึ้น ในสวนของการบริหารจัดการภายใน

ลานจอดรถ RFID จะชวยเพิ่มประสิทธิผลที่ไดรับจากการใชบริการสินทรัพยตาง ๆ เชนกัน และยังรวมไปถงึ

การติดตามรถขนสง การติดตามสินคา การตรวจสอบความถูกตองของเสนทางการขนสง เพิ่มความ

นาเชื่อถือ และประสิทธิภาพโดยรวม นอกเหนือจากนี้ ยังสามารถใชการติดตาม และประเมินศักยภาพของ

ผูทําสัญญารับชวงไดอีกเปนอยางดี

Page 21: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 20

1.4 การประยุกตใช RFID ในรานคา เร่ิมตนตั้งแตในสวนของการรับสินคา RFID จะชวยลดระยะเวลาในการตรวจรับสินคา และรวมถึง

การลดปริมาณคนงานที่ทําหนาที่ รับสินคา เพิ่มประสิทธิภาพ และความถูกตอง จากงานวิจัยของ

Accenture กลาววา ระบบ RFID สามารถลดคาใชจายที่เกี่ยวของกับคนงานลงไดโดย ลดคาใชจายที่

เกี่ยวของกับการตรวจสอบรับสินคาลง 65% คลังสินคา 25% การนับสินคาถึง 100% ในสวนของการ

จัดเรียงก็จะชวยยนระยะเวลาในการจัดเรียงเนื่องจากสามารถระบุตําแหนงในการตรวจสอบสินคาคงเหลือ

นอกจากนั้น RFID ยังสามารถชวยเหลือในงานรับคืนสินคา โดยจะตรวจสอบไดวาสินคานั้น ๆ เปนสินคาที่

ขายไปจากที่ไหน เมื่อไร ในสภาพเชนไร และยังรวมถึงเพิ่มความถูกตองในการคืนเงิน ภายหลังการขาย

RFID สามารถชวยตรวจสอบสภาพการรับประกันสินคา โดยสามารถทําใหการตรวจสอบเปนไปดวยความ

รวดเร็ว และทําใหการซอมบํารุง หรือเปลี่ยนสินคาทดแทนมีประสิทธิภาพเพิ่มข้ึน

1.5 การประยุกตใช RFID ระหวางหนวยธุรกิจในหวงโซอุปทาน

เทคโนโลยี RFID จะชวยลดปญหาสินคาหมดเนื่องจากสามารถตรวจสอบปริมาณสินคาไดตลอดเวลา

และยังชวยใหสามารถวางแผนการจัดซื้อไดอยางมีประสิทธิภาพโดยอางอิงจากพฤติกรรม การซื้อของ

ผูบริโภคโดยตรง ลดปริมาณสินคาคงคลัง ( Safety Stock ) ทุกหนวยธุรกิจสามารถสงขอมูลตาง ๆ ไปยัง

สวนงานที่เกี่ยวของไดโดยสะดวก และในระยะเวลาอันสั้น การซื้อขายสินคาปลอมแปลงก็จะลดปริมาณลง

ประสิทธิภาพของสินคาสูงขึ้น ในสวนของความปลอดภัยก็จะชวยลดการรุกล้ําของสิ่งของ เครื่องมือตาง ๆ

ที่ไมไดรับอนุญาตใหเขาในแตละพื้นที่หวงหาม เปนตน

2. การประยุกตใช RFID ในอุตสาหกรรมรถยนต

การประยุกตใชเทคโนโลยี RFID กับอุตสาหกรรมรถยนตสามารถจําแนกออกเปน 3 ประเภท งาน

หลัก ๆ คือ การติดตามสวนประกอบรถยนต การบริหาจัดการอุปกรณ เครื่องมือ และการประยุกตใชกับตัว

รถยนต ในสวนของการติดตามสวนประกอบรถยนต ก็จะประกอบไปดวย การบริหารสินคาคงคลัง การ

ประกอบรถยนต การปองกันการขโมย การยืนยันความถูกตองของตัวสินคาวาเปนของแทไมไดมีการทํา

Page 22: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 21

ลอกเลียนแบบ การบํารุงรักษา และ การนํากลับมาใชใหม (Recycle ) อีกดานหนึ่งในสวนของการประยกุต

ใชกับตัวรถยนต ก็จะใความสําคัญในเรื่อง การแสดงตัวของรถยนตแตละคัน การอนุญาตการเขา-ออก

( การฝง RFID ไวกับกุญแจ หรือ คียการดสําหรับเปดประตูรถ ) และการติดตามวัดแรงดันของยางรถยนต

เปนตน หลักการทํางานของการประยุกตใชเทคโนโลยี RFID ในอุตสาหกรรมรถยนต ก็จะมีความ

คลายคลึงกับการประยุกตใชเทคโนโลยี RFID ในหวงโซอุปทาน และระบบลอจิสติกส กลาวคือ ตองการ

ระบุวาส่ิงของนั้น ๆ คืออะไร มีรายละเอียดเปนอยางไร มาจากไหน แลวจะตองไปตอที่ไหน โดยจะตอง

สามารถควบคุมดูแล และตรวจสอบใหตลอดเสนทางการเคลื่อนยาย

3. การประยุกตใช RFID ในเกษตรกรรม RFIDมีผลกระทบอยางยิ่งในอุตสาหกรรมการเกษตรตามที่ไดกลาวมาแลวในขางตน สําหรับ

ภายในประเทศไทยเองก็ไดมีการนํามาประยุกตใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมเชนเดียวกัน เชน ใน

ปจจุบัน ฟารม เอส พี เอ็ม ที่จังหวัดราชบุรี ไดนําเทคโนโลยี RFID มาใชในการเลี้ยงสุกร เพื่อใหได

มาตรฐาน ไมอวนหรือผอมเกินไป

ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงหมู หมูที่เลี้ยงจะมีสองประเภท คือ หมูขุน และ หมูพันธุ ซึ่งมีวิธีการเลี้ยงที่

แตกตางกัน สําหรับการเลี้ยงหมูขุนนั้น จะเนนการทําน้ําหนักเพื่อขาย จึงสามารถกินไดเต็มที่และเลี้ยงรวม

ในคอกขนาดใหญได โดยไมตองกังวลเรื่องปริมาณอาหารที่ไดรับ แตสําหรับหมูพันธุแลว สุขภาพของแม

หมูเปนเรื่องสําคัญ คือ แมหมูตองสุขภาพดี ไมอวนหรือผอมเกินไป ซึ่งจะทําใหมีปญหานอย สามารถผสม

ติดไดดี ทําใหโอกาสมีลูกและคลอดดกขึ้น ถาแมหมูอวนเกินไป กินเยอะ การผสมติดก็จะยาก และลูกหมูที่

ไดมาก็จะไมแข็งแรง ทําใหการเลี้ยงหมูพันธุตองมีการควบคุมน้ําหนัก เพื่อรักษารูปรางใหไดมาตรฐาน

นั่นเอง โดยทั่วไปผูเลี้ยงมักจะเลี้ยงหมูพันธุแบบกรงตับ ( กรงขังเดี่ยว ) เพื่อสามารถควบคุมการตักอาหาร

ใหแมหมูกินทีละตัว ๆ ตามปริมาณที่แตละตัวตองกินได เชน แมหมูปกติใหกิน 2 กิโลกรัม สวนแมหมูที่อวน

จะตองลดปริมาณอาหารลงเหลือ 1.5 กิโลกรัม เปนตน แตปญหาก็คือ แมหมูที่อยูกรงตับจะไมแข็งแรง

เพราะไมไดออกกําลังกาย มีแตกินกับนอนอยูที่แคบ ๆ ดังนั้น ทางฟารมจึงไดเปลี่ยนวิธีการเลี้ยงมาเปน

ระบบปลอยแบบคอกรวมขนาดใหญ ที่แมหมูสามารถเดินออกกําลังกายได สวนปญหาการควบคุม

ปริมาณอาหารนั้น ทางฟารมไดนําซอฟตแวรที่ชื่อวา Porcode Management System ซึ่งเปนซอฟตแวร

ของประเทศเนเธอรแลนด มาใชรวมกับเทคโนโลยี RFID เพื่อควบคุมเครื่องใหอาหารแมหมู ซึ่งระบบจะ

ควบคุมใหเครื่องใหอาหารปลอยอาหารมาตามปริมาณที่เหมาะสมกับแมหมูแตละตัว ระบบใหอาหารหมู

Page 23: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 22

อัตโนมัตินี้ ประกอบไปดวย แถบ RFID สําหรับระบุหมายเลขประจําตัวของแมหมูแตละตัว ซึ่งจะติดไวที่หู

ของแมหมู , เครื่องอาน RFID ซึ่งจะติดอยูที่ผนังบริเวณจุดใหอาหารทําหนาที่รับสัญญาณจากแถบ RFID

ทําใหรูวาแมหมูที่เขามากินอาหารเปนแมหมูหมายเลขใด , โปรแกรม Porcode Management System

สําหรับต้ังโปรแกรมปริมาณอาหาร แผงควบคุมและชุดอุปกรณปลอยอาหาร โดยการทํางานของระบบนี้

จะเร่ิมตนดวยการตั้งโปรแกรมการใหอาหารแมหมู (Feed Curve) ซึ่งตั้งครั้งเดียวในตอนแรก โดยจะ

กําหนดปริมาณอาหารเริ่มตนและปริมาณอาหารที่เพิ่มข้ึนในแตละสัปดาห แบงตามชวงอายุและรูปราง

ของแมหมู รงมถึงสถานการณตั้งทอง เชน ถาอายุปกติเร่ิมเขาโปรแกรมหมูแมพันธุ 0-2 สัปดาห หมูรูปราง

ปกติใหกินอาหาร 2.4 กิโลกรัมตอวัน หมูผอม2.7 กิโลกรัมตอวัน หมูอวน 2.3 กิโลกรัมตอวัน และเมื่ออายุ

2-4 สัปดาห ใหเพิ่มอีก 0.6 กิโลกรัม เมื่อหมูเร่ิมทองก็ใหอาหารนอยลง และเมื่อทองแกก็คอยเพิ่มอาหารขึ้น

เร่ือย ๆ จากนั้นจึงติดแถบ RFID ที่หูของแมหมูแตละตัว พรอบันทึกหมายเลขประจําตัวและปอนขอมูล

สวนตัว เชน น้ําหนัก อายุ การเปนสัด การทอง การคลอด ฯลฯ ของแมหมูแตละตัวไวในระบบ ซึ่งโปรแกรม

Porcode จะประมวลผลปริมาณอาหารที่เหมาะสมกับน้ําหนักและอายุของแมหมูตัวนั้น ๆ ใหโดยอัตโนมัติ

เมื่อแมหมูเขาไปกินอาหารในปริเวณเครื่องปลอยอาหาร (Feed Station) ซึ่งสามารถเขาไดทีละตัว เครื่อง

อาน RFID ที่ติดอยูที่ผนังบริเวณจุดปลอยอาหารจะอานแถบ RFID ที่หูของแมหมูแลวสงหมายเลข

ประจําตัวแมหมู ไปตรวจสอบปริมาณโควตาอาหารที่เหลืออยูของแมหมูตัวนั้น ๆ ถาโควตายังเหลืออยู

ระบบจะควบคุมประตูทางเขาโซนกินอาหารใหปดประตูเพื่อไมใหแมหมูตัวอื่นเขามารบกวน จากนั้นเครื่อง

ปลอยอาหารจะปลอยอาหารออกมาตามปริมาณโควตาของแมหมูตัวนั้น ๆ หากโควตาอาหารในวันนั้นของ

แมหมูหมดแลวหรือแมหมูกินอิ่มแลว ( ดูจากการที่แมหมูเอาหูออกหางจากบริเวณปลอยอาหาร ทําใหไม

สามารถรับสัญญาณแถบ RFID ได ) เครื่องปลอยอาหารจะหยุดปลอยอาหาร และประตูทางเขาจะเปดให

แมหมูตัวใหมเขามากินอาหารตอได กรณีโควตายังเหลืออยู แมหมูไมสามารถเขามากินรอบสองได ระบบ

ที่เลี้ยงแบบปลอยนี้จะแพงกวาการเลี้ยงแบบกรงตับ แตก็คุมคากวา เพราะแมหมูจะมีสุขภาพแข็งแรง ทํา

ใหประหยัดตนทุนโดยรวม

Page 24: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 23

4. การประยุกตใช RFID ในการแพทย ในปจุบันไดเร่ิมมีการนําเทคโนโลยี RFID เขาไปประยุกตใชทางการแพทยและไดรับความนิยมเพ

มข้ึนอยางตอเนื่อง เชนในประเทศสหรัฐอเมริกา องคการอาหารและยาของประเทศใหการรับรองและ

อนุญาตใหมีการใชเครื่องมือหรือเทคโนโลยี ฝงชิ้นสวนของไมโครชิพ หรือ เก็บหนวยขอมูลอัจฉริยะขนาด

จิ๋ว ซึ่งทํางานดวยระบบ RFID เขาสูผิวหนังผูปวยได โดยลักษณะรูปรางของเจาไมโครชิพนี้จะมีขนาดเล็ก

มาก ๆมีขนาดเทา “ เมล็ดขาว” เทานั้นเอง และใชฉีดเขาไปฝงตัวใตผิวหนังของผูปวย เพื่อชวยเก็บขอมูล

ในทางการแพทย อาทิเชน ขอมูลกรุปเลือด ขอมูลการเกิดภูมิแพ ขอมูลลักษณะเฉพาะของผูปวยแตละ

บุคคล เพื่อใหแพทยชวยรักษาและวินิจฉัยใหตรงกับโรคมากที่สุดอีกทั้งยังใช เปนรหัสสวนบุคคลของผูปวย

อีกดวย

5. การประยุกตใช RFID ในหองสมุด (วชิราภรณ คลังธนบูรณ, 2549)

แนวคิดที่จะนําเทคโนโลยี RFID มาใชในกระบวนการยืมคืนหนังสือและสื่อโสตทัศนดวยตนเอง

หองสมุดแหงแรกที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID คือ หองสมุดของ Rockefeller University in New York

สวนหองสมุดประชาชนแหงแรกที่นําเทคโนโลยี RFID มาใช คือ Farmington Community Library ในรัฐ

มิชิแกน

หองสมุดแตละแหงพัฒนาฐานขอมูลเพื่อจัดเก็บรายละเอียดทางบรรณานุกรมและสถานภาพของ

ทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใชในการตรวจสอบขอมูลเกี่ยวกับยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศแตละรายการของ

หองสมุด โดยทรัพยากรสารสนเทศแตละรายการจะไดรับตัวเลขที่เฉพาะรายการ (บารโคด) ซึ่งไมไดมี

ความสัมพันธกันระหวางชื่อผูแตง และชื่อเร่ืองของทรัพยากรสารสนเทศรายการนั้นๆ การยืมคืนทรัพยากร

สารสนเทศที่ใชเทคโนโลยีบารโคด ผูใชตองติดตอขอความชวยเหลือจากบรรณารักษ/เจาหนาที่ จากนั้น

บรรณารักษ/เจาหนาที่จะนําแถบบารโคดที่ติดกับทรัพยากรสารสนเทศนั้นไปไวในบริเวณที่เครื่องอานรหัส

บารโคด โดยสามารถอานไดทีละเลม แตสําหรับเทคโนโลยี RFID นั้นมีลักษณะคลายกับบารโคดและยัง

สามารถรองรับความตองการอีกหลายๆอยางที่บารโคดไมสามารถตอบสนองได กลาวคือ เทคโนโลยีบาร

โคดเปนระบบที่อานไดอยางเดียว ไมสามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลที่อยูบนบารโคดได แตปาย RFID

สามารถอานและบันทึกขอมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากตัวเลขและเพิ่มเติมขอมูลภายหลังได นอกจากนี้

ระบบเทคโนโลยี RFID เปนเทคโนโลยีที่สามารถสงขอมูลทุกอยางผานคลื่นความถี่วิทยุ ดังนั้นการอาน

Page 25: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 24

ขอมูลจากปาย RFID จึงไมตองปายขอมูลอยูในบริเวณที่เคร่ืองอานอานได และผูใชสามารถยืมคืน

ทรัพยากรสารสนเทศไดดวยตนเอง นอกจากนี้เมื่อมีการยืมคืนผานเทคโนโลยี RFID ฐานขอมูลทรัพยากร

สารสนเทศจะถูกปรับปรุงขอมูลเปนปจจุบันทันที

กระบวนการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศดวยระบบเทคโนโลยี RFID

กระบวนการคืนทรัพยากรสารสนเทศดวยระบบเทคโนโลย ีRFID

สืบคนรานการทรัพยากรสารสนเทศที่ตองการจาก

ฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุด

เดินไปหยิบตัวเลมที่ช้ันหนังสือ

ยืมคืนหนังสือดวยตนเองที่เครื่องปฏิบัติการยืมคืน

ดวยตนเอง

ออกจากหองสมุดโดยผานประตูเขา-ออกหองสมุดที่

ติดเครื่องตรวจจับสัญญาณ RFID

ระบบปดสัญญาณกันขโมย

ขอมูลการยืมคืนจะถูกบันทึก

ลงในฐานขอมูลทรพัยากร

สารสนเทศของหองสมุดทันท ี

เครื่องจะพิมพใบสลิปแสดง

รายช่ือทรัพยากรสารสนเทศที่ยืม

และกําหนดสงคืน

คืนหนังสือ

ที่เครื่องปฏิบัติการยืมคืนดวยตนเอง

เครื่องจะปรับปรุงระเบียนในฐานขอมูลทรัพยากร

สารสนเทศของหองสมุดทันท ี

บรรณารักษเปดสัญญาณกันขโมย เครื่องเปดสัญญาณกันขโมยอัตโนมติั

นําหนังสือขึ้นช้ันเพือ่ใหบริการ

Page 26: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 25

เหตุผลในการนํา RFID มาใชในหองสมุด เทคโนโลยี RFID มีประโยชนตอการปฏิบัติงานของบรรณารักษและเอื้อใหเกิดความสะดวกในการ

ใชบริการ ดังนี้

1. ลดขั้นตอนและประหยัดเวลาในการใหบริการยืมคืน การนําระบบเทคโนโลยี RFID มาใชในหองสมุดจะชวยลดขั้นตอนและเวลาที่ใชในการใหบริการยมื

คืนทรัพยากรสารสนเทศ ทั้งนี้เนื่องจากระบบเทคโนโลยี RFID เปนระบบที่ใชเทคโนโลยีจากคลื่นความถี่

วิทยุในการตรวจสอบขอมูล บรรณารักษจึงไมจําเปนตองเสียเวลาในการนําบารโคดหนังสือใหอยูใน

บริเวณที่เครื่องอานบารโคดสามารถอานได นอกจากนี้ยังสามารถอานไดทีละหลายเลมพรอมๆกันอีกดวย

จึงทําใหการบริการยืมคืนทรัพยากรสารนิเทศเปนไปอยางรวดเร็ว ผูใชไมตองเสียเวลารอเขาแถวเพื่อยืมคืน

ทรัพยากรสารสนเทศ

2. ทําใหการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศดวยตนเองงายขึ้น หองสมุดที่ติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID แลว จะเอื้อใหผูใชหองสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากร

สารสนเทศดวยตนเอง และการยืมคืนดวยตนเองมีข้ันตอนที่ส้ันและมีวิธีใชงานงาย คือ เดิมเจาหนาที่/

บรรณารักษเปนผูใหบริการยืมคืนแกผูใช โดยนําบารโคดบนทรัพยากรสารสนเทศนั้นไปอานดวยเครื่อง

อาน จากนั้นนําไปลบสัญญาณกันขโมย ซึ่งมีข้ันตอนยุงยาก แตหากใชระบบเทคโนโลยี RFID ผูใช

หองสมุดสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศตางๆดวยตนเอง ซึ่งมีข้ันตอนงายๆเพียงผูใชหองสมุดนํา

ทรัพยากรสารสนเทศที่ตองการยืมหรือคืนใสในตําแหนงที่กําหนด เครื่องจะดําเนินการยืม/คืนใหเรียบรอย

โดยปรับขอมูลยืมคืนของผูใชและฐานขอมูลหองสมุดใหเปนปจจุบัน พรอมทั้งลบสัญญาณกันขโมยทันที

ซึ่งเปนกระบวนการที่งาย ไมซับซอน และสะดวก นอกจากนี้เวลาคืนทรัพยากรสารสนเทศ ผูใชไม

จําเปนตองรอหองสมุดเปดทําการหรือเจาหนาที่ปฏิบัติงาน ผูใชสามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศผาน

เครื่องคืนทรัพยากรสารสนเทศไดทันที จึงทําใหผูใชสวนใหญพึงพอใจในการใชบริการยืมคืนดวยตนเอง

สําหรับผูปฏิบัติงานบริการยืมคืนจะมีเวลาในการปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพการใหบริการในดานอื่นๆแก

ผูใชมากขึ้น

3. มีความปลอดภัยสูง บริษัทผูจัดจําหนาย RFID สวนใหญอางวาระบบการปองกันการสูญหายและการขโมยทรัพยากร

สารสนเทศของ RFID มีความเชื่อถือไดสูง ดังนั้นหองสมุดสามารถทราบไดทันทีวาในขณะนี้ทรัพยากร

สารสนเทศรายการใดไดยืมออกจากหองสมุด หรือทรัพยากรสารสนเทศรายการใดหายไปจากชั้นหนังสือ

Page 27: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 26

เพื่อดําเนินการซื้อทดแทนรายการที่สูญหายไดทันที นอกจากนี้หากบัตรสมาชิกหองสมุดไดใชเทคโนโลยี

RFID ดวยแลว จะทําใหหองสมุดสามารถทราบไดทันทีวาสมาชิกคนใดไดนําทรัพยากรสารสนเทศออก

จากหองสมุด โดยยังไมไดผานกระบวนการยืมคืน 4. เพิ่มความรวดเร็วในการสํารวจชั้นหนังสือ การสํารวจชั้นหนังสือจะรวดเร็วขึ้นดวยเครื่องอานแบบพกพาหรือแบบมือถือ (Hand-held

inventory reader) เพียงบรรณารักษถือเครื่องอานนี้เดินตามชั้นหนังสือ ก็สามารถทราบไดทันทีวา

ทรัพยากรสารสนเทศเหลานั้นอยูถูกตําแหนงโดยเรียงตามลําดับตามเลขเรียกหนังสือหรือไม และรายการ

ทรัพยากรสารสนเทศใดบางที่หายไปจากชั้น จึงชวยลดปญหาการไมพบหนังสือบนช้ันไดเปนอยางดี

นอกจากนี้การสํารวจชั้นหนังสือก็ทําไดงายและบอยครั้งขึ้นตามความตองการ ซึ่งขอมูลของหองสมุดจะ

ทันสมัยตลอดเวลา

5. ปาย RFID มีอายุการใชงานนาน ปาย RFID มีระยะเวลาในการใชงานยาวนานกวาแถบบารโคด บริษัทจัดจํานายอางวา ปาย

RFID 1 ชิ้นสามารถผานการใชงานยืมคืนอยางนอยที่สุด 100,000 คร้ัง จึงจะถึงเวลาที่ตองเปลี่ยนแผน

ใหม ดังนั้นจึงมีความคงทนและมีอายุการใชงานไดนาน ประเด็นที่ควรพิจารณากอนการติดต้ังระบบ RFIDในหองสมุด ดวยประโยชนนานัปการของระบบเทคโนโลยี RFID ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ

การใหบริการสารสนเทศแกผู จึงทําใหผูบริหารหองสมุดหลานแหงเริ่มสนใจเทคโนโลยีนี้ และเริ่มวางแผน

ที่จะนําระบบเทคโนโลยี RFID มาใชกับหองสมุดของตน ดังนั้นหองสมุดควรพิจารณาประเด็นตางๆอยาง

รอบคอบทุกแงมุมกอนตัดสินใจติดตั้งระบบเทคโนโลยี RFID ทั้งนี้เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยประเดน็ที่

หองสมุดควรใหความสนใจมีดังนี้

1. งบประมาณสําหรับการติดต้ังระบบเทคโนโลยี RFID เนื่องจากคาใชจายในการติดตั้งระบบคอนขางสูง โดยแผนปายขอมูล RFID 1 แผนราคา 50-70

cent นอกจากนี้ยังมีคาใชจายในสวนเครื่องปฏิบัติการสําหรับยืม-คืนดวยตนเอง (Workstation) และ

เครื่องอานแบบมือถือ (Hand-held reader) จึงทําใหหองสมุดขนาดกลางที่มีทรัพยากรสารสนเทศ

ประมาณ 400,000 รายการ ตองใชงบประมาณสูงถึง $ 280,000 เพื่อปรับไปใชระบบเทคโนโลยี RFID ซึ่ง

คาใชจายดังกลาวเปนเพียงคาใชจายสําหรับปาย RFID โดยยังไมรวมคาใชจายในสวนอุปกรณอ่ืนและ

Page 28: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 27

คาแรง อยางไรก็ตามมีแนวโนมวาราคาของปาย RFID จะลดลง ดังนั้นหองสมุดจําเปนตองเตรียม

งบประมาณสําหรับคาใชจายอื่นๆ นอกเหนือจากปาย RFID ดังนี้

- ประตูทางเขา-ออกหอสมุด (Security gate) หองสมุดจําเปนตองติดตั้งประตูนี้ใหม เมื่อ

เปลี่ยนไปใชเทคโนโลยี RFID เนื่องจากประตูใหมนี้จะมีการออกแบบใหสามารถอานขอมูลจาก

ปาย RFID ได เพื่อตรวจสอบการยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศนั้นไดดวย และปองกันการขโมย

ทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุด โดยจะสงสัญญาณดังออกมาเมื่อผูใชยังไมไดยืมทรัพยากร

สารสนเทศนั้นใหเรียบรอย

- เครื่องปฏิบัติการยืมคืนดวยตนเอง (Self-check station) จะมีข้ันตอนการยืมคืนอยาง

งายๆ เพื่อชวยเหลือผูใช โดยเครื่องดังกลาวอาจเปนแบบตั้งโตะหรือต้ังกับพื้น นอกจากนี้ใน

เครื่องมีโปรแกรมที่เชื่อมโยงเขากับฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุด พรอมทั้ง

เครื่องพิมพเล็กๆเพื่อพิมพใบสลิปรายละเอียดการยืมคืนของผูใชใหทราบไดทันที ซึ่งหองสมุด

สามารถตกแตงและกําหนดรายละเอียดใหแสดงผลในหนาจอและบนกระดาษสําหรับผูใชไดดวย

เชนกัน หองสมุดอาจติดตั้งเครื่องดังกลาวนี้ไวใหบริการภายในหองสมุดมากกวา 1 เครื่องก็ได

ข้ึนอยูกับจํานวนผูใช นอกจากนี้หองสมุดอาจติดตั้งเครื่องสําหรับยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศ

ภายนอกหองสมุดเพื่อใหผูใชสามารถคืนทรัพยากรสารสนเทศนอกเวลาทําการของหองสมุด

Page 29: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 28

- เครื่องปฏิบัติการยืมคืนสําหรับบรรณารักษ (Self circulation desk) เครื่องนี้มีลักษณะ

การดําเนินงานคลายกับเครื่องสําหรับผูใช แตเพิ่มโปรแกรมบางโปรแกรมเพื่อใหสามารถลบ-เพิ่ม

สัญญาณในปาย RFID ได

- เครื่องอานแบบพกพา สําหรับสํารวจชั้นหนังสือ (Portable reader / Hand-held

inventory reader) เปนอุปกรณที่สามารถพกพาไปที่อ่ืนได ทําใหบรรณารักษสามารถนําเครื่อง

อานนี้ไปเดินตรวจตามชั้นหนังสือไดทันที โดยไมตองยกหนังสือหลายเลมมายังโตะทํางานของ

บรรณารักษ ทําใหสะดวกสบายมากขึ้น และสามารถสํารวจชั้นหนังสือไดอยางรวดเร็ว

ประหยัดเวลาและสามารถดําเนินการสั่งซื้อทรัพยากรสารสนเทศทดแทนรายการที่หายไปได 2. ความปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลของผูใช ขอจํากัดประเด็นที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นและหองสมุดหลายแหงไดหันมาใหความสนใจ

มากขึ้น คือ ความปลอดภัยและความเปนสวนตัวของผูใชหองสมุด ทั้งนี้หองสมุดมีความเห็นวาอาจเปนไป

ไดหรือไมที่จะมีบุคคลอ่ืนนําเครื่องอานมาติดตามพฤติกรรมการอานของผูใช ซึ่งถือเปนการรุกล้ําความ

เปนสวนตัวของผูใช

ผูคนสวนใหญมีความเขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี RFID วา ปาย RFID นั้นบรรจุขอมูลสวนบุคคลของ

ผูใชไวดวย และขอมูลดังกลาวสามารถเรียกอานไดถึงแมวาทรัพยากรสารสนเทศที่ติดปาย RFID จะอยูที่

ไหนก็ตาม แตในความเปนจริงปาย RFID สวนใหญที่ติดกับทรัพยากรสารสนเทศของหองสมุดนั้นมีเพียง

รายละเอียดของตัวทรัพยากรสารสนเทศ สวนเปด/ปดสัญญาณเตือน และอาจมีรายละเอียดเพิ่มเติม เชน

สถานที่จัดเก็บ เลขเรียกหนังสือ ชื่อผูแตง ชื่อเร่ือง เปนตน สําหรับการอานขอมูลในปาย RFID นั้น ก็

สามารถเรียกอานผานเครื่องอาน โดยมาระยะความหางจากปายสูงสุดประมาณ 1 เมตรเทานั้น ทั้งนี้

เนื่องจากเทคโนโลยี RFID ที่ใชในหองสมุดมีความถี่ของคลื่นวิทยุที่ 13.56 MHz ดังนั้นจึงไมนาจะเปนไป

ไดที่จะมีใครบางคนอานปาย RFID จากบนทองถนนหรือบนอาคารสํานักงานใกลๆ

Page 30: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 29

แตอยางไรก็ตามประเด็นเรื่องความปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลอาจเปนจริงไดในอนาคต

ดังนั้นเพื่อความปลอดภัย หองสมุดจึงจําเปนตองพิจารณาประเด็นนี้อยางรอบคอบโดยศึกษาหาขอมูล

จากหนวยงานตางๆที่มีการนําเทคโนโลยี RFID นี้ไปใช อาจเปนหองสมุดดวยกันหรืออยูในแวดวงธุรกิจ

อุตสาหกรรมตางๆ จากนั้นใหความรูแกบรรณารักษและผูใชใหทราบถึงเทคโนโลยี RFID กอนจะนํามาใช

ภายในหองสมุด ทั้งนี้ดวยขอวิตกในเรื่องความปลอดภัยของขอมูลสวนบุคคลและความเปนสวนตัวของ

ผูใช จึงทําใหสมาคมหองสมุดอเมริกัน (American Library Association) ไดกําหนดประเด็นเรื่อง RFID

กับความเปนสวนตัวไวในการประชุมเพื่อใหหองสมุดตระหนักถึงความสําคัญของการรักษาความปลอดภัย

ของขอมูลสวนบุคคล โดยใหหองสมุดกําหนดนโยบายความเปนสวนตัว การพิจารณาขอมูลที่จะบันทึกลง

ในปาย RFID และแจงใหผูใชทราบถึงขอมูลที่บันทึกในปายพรอมทั้งเหตุผลและมาตรการตรวจสอบการ

รักษาความปลอดภัย ตัวอยางและประสบการณการนํา RFID มาใช (สมนึก สมชัยกุลทรัพย, 2547)

ในสวนตอไป จะขอยกตัวอยางการประยุกตเทคโนโลยี RFID ไปใชในวงการตางๆมากมาย เพื่อให

ทุกทานเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้น และที่สําคัญประสบการณการนํา RFID ไปใชในองคกรตางๆ จะเปนสวน

สําคัญที่ชวยกระตุนใหทุกทานทราบวา RFID ไมใชเร่ืองที่ไกลตัวอีกตอไปแลว

Wall Mart รานคาปลีกชื่อดงัของสหรัฐฯ ซึ่งมียอดขายปละกวา 250,000 ลานดอลลาร ไดออก

ระเบียบกาํหนดให Suppliers รายใหญ 100 ราย เชน Gillette, Nestle’, Johnsons & Johnsons

และ Kimberly Clark ติด RFID Chip บนหีบหอ และกลองบรรจุสินคาใหเรียบรอยกอนสงมาถงึหาง

สวน Suppliers รายเล็กๆ จะตองติดชิปในรถสงสนิคาใหแลวเสร็จภายในสิ้นป 2549 WallMart มองวา

เมื่อระบบดังกลาวเสร็จส้ินอยางสมบูรณจะชวยใหบริษทัทราบถึงการเดินทางของสนิคาไดทุกระยะ

ตั้งแตโรงงานของ Suppliers จนถงึศูนยกระจายสนิคาของหาง และเมื่อใดที่สินคาถกูหยิบออก

จากชัน้ไป RFID ก็จะสงสัญญาณเตือนไปยังพนักงานใหนําสนิคามาเตมิใหม

ทําให Wall Mart ไมจําเปนตองเก็บสต็อกสินคา แตสามารถสั่งให Suppliers มาสงของไดทันที

รวมทั้งจะชวย guarantee วาสินคามีวางจําหนวยตลอดเวลา และประโยชนที่สําคัญอีกประการ

หนึ่งก็คือ จะชวยลดปญหาการโจรกรรมสนิคา และปลอมแปลงสินคาไดอีกดวย Extra Future Store ซึ่งเปน Supermarket ในเยอรมนี ก็ไดนําเทคโนโลยี RFID มาใชงานแลว

หากลูกคาตองการซื้อชีส ลูกคาก็เพียงปอนคําสั่งลงในหนาจอระบบสัมผัสที่อยูหนารถเข็น จากนั้นหนาจอ

ก็จะปรากฏแผนที่บอกทางไปสูชั้นวางชีส ทันทีที่ลูกคาหยิบชีสจากชั้นวาง ชิปที่ติดอยูบนหอชีสก็จะสง

สัญญาณขอมูลไปยังแผนเก็บขอมูลหนา 2 มิลลิเมตรที่อยูใตชั้นวาง และอุปกรณตรวจจับที่อยูบนแผน

Page 31: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 30

ดังกลาวก็จะสงสัญญาณแจงไปยังฐานขอมูลของคลังสินคาวา ชีสหอนั้นถูกหยิบออกจากชั้นไปแลว

ขณะเดียวกันขอมูลดังกลาวก็จะถูกสงตอไปยังบริษัทผูผลิตชีสดวย และเมื่อขอมูลพฤติกรรมของผูบริโภค

ถูกเก็บรวบรวมไวมากพอสมควรจนสามารถกําหนดเปนพฤติกรรมการบริโภคไดแลว บริษัทผูผลิตและ

รานคาก็สามารถนําขอมูลเหลานั้นไปใชในการวางแผนการตลาดที่เหมาะสมและสามารถตอบสนองความ

ตองการของผูบริโภคไดมากขึ้น

หาง TESCO ไดเร่ิมนํา RFID Tag มาใชกับสินคาประเภทที่มิใชอาหาร ณ ศูนยกระจายสินคา

ในสหราชอาณาจักรแลว

METRO GROUP ซึ่งเปนผูคาสงขนาดใหญที่ใหบริการกวา 2,300 แหง กําหนดให Suppliers

รายใหญๆ กวา 300 ราย ตองติด RFID Tag โดย Suppliers 20% แรก จะมีผลต้ังแตเดือนพฤศจิกายนนี้

ขณะที่อีก 80% ที่เหลือจะมีผลบังคับภายในปนี้

Mark & Spencer รานคาชั้นนําของอังกฤษกําลังทดลองติดตั้งชิปลงในชุดสูทผูชาย เมื่อลูกคาซื้อ

สูทตัวใด Size ใด สัญญาณขอมูลจะถูกสงไปยังหองเก็บสต็อกสินคา ใหนําสูทตัวใหมเขามาเติม

หาง PRADA ที่อยูกลางกรุงนิวยอรก ก็ไดทดลองนําชิปไปติดไวกับเสื้อผา เมื่อใดที่ลูกคาหยิบชุด

ข้ึนมา และถือไวใกลๆ กับ RFID Reader จอภาพก็จะปรากฎภาพนางแบบที่สวมชุดนั้นอยูเพื่อใหลูกคาดู

เปนตัวอยางอีกดวย

ปญหาที่เกิดจากการใช RFID (ธวัช วราไชย, ม.ป.ป.) ประเด็นที่ 1 ดานความถี่ที่ใชงานของ RFID

ปจจุบันเทคโนโลยีและคลื่นความถี่ที่ใชรับสัญญาณ ที่เปน Ultrahigh Frequency (UHF)ในแตละ

ประเทศยังมีความแตกตางกันอยูคอนขางมาก และในหลายประเทศ เชน ฝร่ังเศส และโปแลนด ยังคง

สงวนคลื่นความถี่ไวสําหรับกิจการทางทหารและความมั่นคงเทานั้น แตเปนที่นายินดีที่หลายฝายพยายาม

จะพัฒนาเทคโนโลยีใหสามารถรองรับธุรกรรมการคาระหวางประเทศไดเพิ่มมากขึ้น ทําใหในอนาคต เมื่อ

สินคาที่ติด RFID Tag ถูกจําหนายไป ก็จะสงสัญญาณไปสูแหลงผลิตสินคาในตางประเทศได RFID จึงมี

บทบาทในเชิงการคาระหวางประเทศอยางหลีกเลี่ยงไมได แตจําเปนตองมีการพัฒนามาตรฐานของ Tag ,

เครื่องอานสัญญาณ ใหสามารถใชงานไดในทุกประเทศ นอกจากนี้จะตองมีการแกไขปญหาการใชคลื่น

ความถี่ดวย สวนปญหาของ RFID ที่พบก็คือไมสามารถใชขามระบบความถี่ได รานคาปลีกที่ใช RFID

เพื่อตรวจขอมูลสินคาจะใชไดในเฉพาะรานนั้นๆ เชนเดียวกับการตรวจสอบสินคาจากโรงงานไปยังคลังเก็บ

Page 32: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 31

สินคาและไปยังที่ขนสงสินคา RFID ไมสามารถตรวจสอบไดดีนักเมื่อสินคาอยูนอกเขตคลื่นวิทยุการ

แกปญหาเหลานี้ ทําโดยมีความพยายามสรางเครื่องอานที่สามารถอานขอมูลและแปลสัญญาณจาก

RFID ของคลื่นที่แตกตางกันและในสิ่งแวดลอมที่ตางกันได แมจะอยูภายนอกอาคาร ปญหาที่ยังตองการ

การพัฒนาตอไปของระบบ RFID ก็คือ เครื่องอานของระบบ RFID ในปจจุบันสามารถอานแผนปายได

เพียงครั้งและแผน ซึ่งหมายความวา กลองสินคาจํานวนมากตองใชเครื่องอานมากกวา 1 เครื่อง ส่ิงที่ควร

พิจารณาปรับปรุงเกี่ยวกับระบบ RFID อีกประการหนึ่งที่สําคัญคือ เร่ืองของมาตรฐานของระบบ ปจจุบัน

ผูผลิตตางก็มีมาตรฐานเปนของตัวเอง ไมวาจะเปนความถี่ที่ใชงาน หรือโปรโตคอล (Protocol) เรายังไม

สามารถนําแทกสจากผูผลิตรายหนึ่งมาใชกับตัวอานขอมูลของผูผลิตอีกรายหนึ่งหรือในทางกลับกันได นี่

เปนอุปสรรคที่สําคัญของการเติบโตของระบบ RFID

สรุปในประเด็นที่ 1 จากขอมูลปญหาในเรื่องความถี่ที่ใชในการรับสงขอมูลของระบบ RFID การใช

ความถี่คลื่นวิทยุนั้นจะตองอยูภายใตการควบคุมของหนวยงานที่ทําหนาที่ควบคุมดูแลการใชยานความถี่

ทําใหการเลือกใช Tags ที่มีความสามารถในการสงสัญญาณไดดีนั้นถูกจํากัดลง การใชความถี่ที่ต่ําจะมี

ผลทําใหถูกรบกวนจากคลื่นวิทยุใกลเคียงไดงายกวาเชน คลื่นจากโทรศัพทมือถือ คลื่นจากโทรทัศน เปน

ตน เพราะ tag ที่ใชกันอยูทั่วไปจะอยูในยานความถี่ 135 Khz ,13.56 Mhz , 27.125 Mhz ถาสูงขึ้นจะเปน

2.45 Ghz ราคาของ tag จะสูงขึ้นแตจะทําใหการรบกวนของสัญญาณนอยลง ดังนั้นหากหนวยงานใดที่มี

การนําเทคโนโลยี RFID ไปใชงานก็ตองพิจาณาถึงสภาพแวดลอมที่มีผลตอการรบกวนของสัญญาณวา

เปนอยางไร เชนมีการติดตั้งตัวอานไวใกลกับเครื่องสงวิทยุ หรือ ใกลเครื่องรับโทรทัศน หรือจากการใช

โทรศัพทมือถือ ตัวแปรตาง ๆเหลานี้ยอมมีผลตอการลดทอนการทํางานของระบบ RFID ซึ่งอาจทาํใหขอมลู

เกิดความผิดพลาดขึ้นมาได ประเด็นที่ 2 ดานวัสดุที่นํา Tag ไปติดต้ัง

ถึงแมทุกฝายจะเตรียมการดังกลาวขางตนเปนอยางดี แตการนําเทคโนโลยี RFID มาใชก็ไมใช

เร่ืองงายนัก จากอุปสรรคเกี่ยวกับขอจํากัดของคลื่นที่ใชสงระหวาง tags และ readers คือคลื่นที่ถูกสงออก

ไปจะสะทอนกลับเมื่อกระทบกับโลหะ และคลื่นความถี่จะถูกดูดซับโดยน้ํา รวมถึงความผิดพลาดจากการ

อานคา ปญหาเหลานี้ทําใหบรรดาผูคาปลีกตองหาขอสรุปสําหรับขอจํากัดเหลานี้ เพราะมีสินคากวา 100

ชนิดที่มีน้ําบรรจุอยูในปริมาณที่สูง หรือทํามาจากโลหะ

สรุปประเด็นที่2 เนื่องจากคุณสมบัติของคลื่นวิทยุจะมีคุณสมบัติของการการสะทอนกลับ

(Reflection) การหักเห(Refraction) การแพรกระจายคลื่น (Diffraction) การแทรกสอดของคลื่น

(Interference) สาเหตุที่เกิดการหักเหของทางเดินของคลื่นวิทยุ เนื่องจากความเร็วของคลื่นวิทยุใน

Page 33: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 32

ตัวกลาง ที่มีคุณสมบัติทางไฟฟาแตกตางกันจะไมเทากัน เชน คลื่นวิทยุจะเดินทางในน้ําบริสุทธิ์จะชากวา

เดินทางในอากาศถึง 9 เทา เปนตน ดังนั้นผลิตภัณฑบางอยางก็ไมสามารถนํามา ติด Tag RFID ได

ประเด็นที่ 3 ดานสิทธิสวนบุคคล

ขอมูลจาก The United States of Food and Drug Administration (USFDA) พบวา ปจจุบัน

โรงพยาบาลบางแหงในสหรัฐฯ ไดฝง RFID Chip ไวใตผิวหนงบริเวณทอนแขน ตรง สวนกลามเนื้อ

Triceps ของคนไข เพื่อความสะดวกในการตรวจรักษาและติดตามขอมูลการ รักษาของผูปวย เมื่ออวัยวะที่

ไดรับการฝงชิปไวภายในถูกสแกนดวย RFID Reader ระบบจะ แสดงขอมูลการรักษาของคนไขรายนั้น

ออกมา ทําใหแพทยที่ถูกเปลี่ยนใหมาดูแลรักษาคนไขรายดังกลาวไดรับทราบประวัติการรักษาโดยแพทย

คนกอนหนานั้นไดอยางถูกตอง การฝงชิปลง ไปใตผิวหนังก็ไมไดยุงยากมากนัก เพียงแคบรรจุชิปลงใน

หลอดฉีดยา แลวฉีดลงไป ซึ่งชิปจะถูก เคลือบดวยสารที่ชื่อวา Biobond ชวยในการยึดเกาะกับเนื้อเยื่อ

ภายในรางกาย และชวยปองกัน ไมใหชิปเสียหายดวย

ทุกสิ่งยอมมีสองดานเสมอ และเทคโนโลยี RFID ก็เชนเดียวกัน ถึงแมจะมีคุณประโยชนในหลาย ๆ

ดาน แตก็สามารถกอใหเกิดผลเสียกับประชาชน หรือผูบริโภคได ดวยคุณสมบัติอันอัจฉริยะของเทคโนโลยี

เชน ประวัติการซื้อสินคา หรือขอมูลประจําตัวของเราอาจถูกบันทึกไวตอนซื้อสินคาในรานคา และขอมูล

ดังกลาวจะถูกนําไปใชโดยเจาของรานคา เพื่อทําโฆษณาขายสินคาใหตรงกับพฤติกรรมาของเราตอไป นั่น

หมายถึงเราจะถูกรุกรานจากโฆษณาเหลานั้นอยูเสมอ หรือในกรณีที่เรามี tag อยูกับตัว ไมวาจะติดอยูกับ

เส้ือผา รองเทา หรือส่ิงของตาง ๆ เมื่อเราอยูในรัศมีสัญญาณของเครื่องอาน (Readers) ขอมูลเกี่ยวกับตัว

เราจะถูกเปดเผย ทั้งหมดนี้ หมายถึงสิทธิสวนบุคคลของเราไดถูกละเมิด โดยความกาวหนาของเทคโนโลยี

ดังกลาวแลว ซึ่งในหลายประเทศใหความสําคัญ และหาทางปองกันกับเร่ืองนี้ โดยมีการออกกฎหมาย

คุมครองขอมูลสวนบุคคล เพื่อปองกันการละเมิดสิทธิดังกลาว แตสําหรับประเทศไทย ประชาชนยังให

ความสําคัญตอขอมูลสวนบุคคลคอนขางนอย ดังนั้นทางผูที่เกี่ยวของจึงควรมีการเผยแพร และกระตุนให

ประชาชนตระหนักถึงความสําคัญ ควบคูไปกับการพัฒนากฎหมายคุมครองขอมูลสวนบุคคลใหมี

ประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อใหสามารถรองรับและปองกันความเสี่ยงอันเกิดจากความกาวหนาของ

เทคโนโลยีในปจจุบัน และอนาคตได

สรุปประเด็นที่ 3 สิทธิสวนบุคคลถือไดวามีความสําคัญกับมนุษยมากเพราะปญหานี้อาจจะ

กอใหเกิดปญหาทางดานกอการรายหรือความไมสงบไดอันเนื่องจากการที่เทคโนโลยีเขามาทําลายซึ่ง

ความเปนสิทธิสวนบุคคลไปดังนั้นในแงประเด็นนี้ผูที่นําเทคโนโลยี RFID ไปใชงานจําเปนจะตองคํานึงถึง

ปญหาดังกลาวนี้ดวยไมใชวาคิดจะทําขึ้นมาเพื่อใหสะดวกสบายขึ้นอยางเดียวโดยที่ไมไดคํานึงถึงความ

เปนมนุษยที่ยังตองการอิสรภาพเสรีอยู

Page 34: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 33

ประเด็นที่ 4 ดานความปลอดภัยของขอมูล นายลูคัส กรุนวาลด (Lukas Grunwald) นักวิจัยจาก DN-Systems ประเทศเยอรมนี กลาวในงาน

สัมมนา “เดอะ แบล็ก แฮท คอนเฟอเรนส” (The Black Hat Conference) ที่ลาสเวกัส สหรัฐอเมริกา วา

พบชองโหวในระบบพาสปอรตอิเล็กทรอนิกส ที่มีการใชชิป RFID (Radio Frequency Identification) ที่

ไดรับความนิยมใชงานในการดประเภทตาง ๆ สําหรับยืนยันตัวบุคคล และเก็บขอมูล โดยเฉพาะเอกสาร

สําหรับการเดินทางในตางประเทศอยางพาสปอรต (Passport) เนื่องจากสามารถยนเวลาในการตรวจ

เอกสารเขาเมืองของเจาหนาที่ลงไดมากกวาเดิม แตพบวาการปลอมแปลงขอมูลจากชิปดังกลาวทําไดงาย

มาก เพียงแคมีเครื่องอาน (RFID reader) กับเครื่องไรทขอมูลลงบัตรสมารทการด (Smart Card Writer)

เทานั้น พรอมทั้ง เตรียมระดมสมองจากผูเชี่ยวชาญทุกแขนง เพื่อสรางระบบรักษาความปลอดภัยในระบบ

พาสปอรตอิเล็กทรอนิกส ที่รัดกุมกอนประยุกตใชในระยะยาว

สรุปประเด็นที่ 4 ปญหาการโจรกรรมขอมูล การHack การปลอมแปลงลวนเปนสิ่งที่ผิดกฎหมาย

ปญหานี้แนนอนวายอมเกิดจากมนุษยเพราะในปจจุบันไมวาจะในโลกปกติหรือโลกของสื่ออิเล็กทรอนิกส

นั้นยังมีคดีที่เกี่ยวของกับการโจรกรรมขอมูลใหเห็นกันอยูบอย ๆ ดังนั้นการที่จะใชเทคโนโลยีเพื่อใหเกิด

ประโยชนมากที่สุดจําเปนจะตองปรับปรุงแกไขระบบการทํางานและกระบวนการใชงานของเทคโนโลยีที่

เหมาะสมพอที่จะใหโอกาสหรือหนทางของโจรนั้นมีนอยที่สุดเทาที่จะทําไดไมใชเพียงแคคิดวาจะหา

เทคโนโลยีที่จะปองกันการโจรกรรมไดเพียงอยางเดียวเพราะยิ่งคิดขึ้นมากเทาไรก็มีผูที่คิดตามทันและหา

หนทางที่มีความประสงคที่ไมดีอยูเสมอ

ปญหาการใชเทคโนโลยี RFID ระบบและเทคโนโลยีใหม ๆที่เกิดขึ้นนั้นเปนผลที่เกิดจากความ

ตองการของมนุษยทั้งสิ้น แตหากเทคโนโลยีตาง ๆ ไมเกิดขึ้นมนุษยก็จะไมมีการพัฒนา ดังนั้นการที่จะนํา

เทคโนโลยีมาใชงานในหนวยงานหรือองคกรนั้นจําเปนจะตองมีการเตรียมการถึงดานตาง ๆ ที่มีผลกระทบ

ตอการใชงาน แตปญหาบางอยางก็เกิดจากความไมรูถึงกระบวนการขั้นตอนการใชงานของผูใชงานตรงนี้

ทางหนวยงานหรือองคกรจําเปนจะตองมีการฝกอบรมบุคลากรอยูเสมอและจะตองฝกใหบุคลากรมีความ

เอาใจใสตอหนาที่ที่รับผิดชอบไมเชนนั้นแลวเทคโนโลยีที่เขามาแทนที่จะชวยใหดีขึ้นกลับกลายเปนแยลง

เอกสารเชิงวิเคราะหฉบับนี้ผูเรียบเรียงหวังวาคงจะเปนแนวทางสําหรับหนวยงานหรือองคกรที่กําลังจะ

พัฒนามาใชเทคโนโลยี RFID เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลอันสูงสุด

Page 35: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 34

บทสรุป การพัฒนาระบบ RFID มิไดมีจุดประสงคเพื่อมาแทนที่ระบบอื่นที่มีการพัฒนามากอนหนา เชน

ระบบบารโคด แตเปนการเสริมจุดออนตางๆ ของระบบอื่น ในประเทศไทยมีแนวโนมการใชเทคโนโลยี

RFID ในหลากหลายดานทั้งใชในดานการขนสง (บัตรทางดวน บัตรโดยสารรถไฟฟา ดานการปศุสัตว

( การใหอาหาร การติดตามโรค ) ใชกับเอกสารราชการ (บัตรประชาชน หนังสือเดินทางอิเล็กทรอนิกส )

การควบคุมการเขาออกสถานที่ ( บัตรพนักงาน บัตรจอดรถ ) และการใช RFID เพื่อเพิ่มขีด

ความสามารถในดาน Logistics โดยใชผนึกอิเล็กทรอนิกสติด RFID ปดล็อคตูคอนเทนเนอรเพื่อสะดวก

ในการติดตาม บริหารจัดการการขนสง ดานการแพทย (บันทึกประวัติการรักษาผูปวย) หรือแมแตใน

งานของหองสมุดเองไดมีการนํา RFID มาชวยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงานของ

บรรณารักษ และสรางความพึงพอใจในการใหบริการแกผูใชในดานของความสะดวก รวดเร็ว อยางไร

ก็ตามหองสมุดควรพิจารณาการนําเทคโนโลยี RFID มาใชใหละเอียดในทุกแงมุมที่เกี่ยวของ

เชนเดียวกับการนําเทคโนโลยีบารโคดและเทคโนโลยีอ่ืนๆมาใชในหองสมุด ไมวาจะเปน ดาน

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของเทคโนโลยี มาตรฐานที่ใช อุปกรณที่จําเปนสําหรับระบบ คาใชจาย

ผลกระทบตอผูปฏิบัติงานและผูใชบริการ ความเปนสวนตัวของผูใช รวมทั้งรายละเอียดที่สําคัญ

เกี่ยวกับบริษัทผูจัดจําหนายและบริการหลังการขายดวย ทั้งนี้เพื่อใหไดระบบที่สามารถตอบสนองการ

ปฏิบัติงานของบรรณารักษและความตองการของผูใชบริการไดอยางเต็มที่และคุมคากับงบประมาณที่

หองสมุดไดเสียไป

Page 36: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 35

ภาคผนวก

กรณีศึกษา (เทคโนโลยี RFID, ม.ป.ป.)

กรณีศึกษาที่จะนํามาวิเคราะหตอเปนนี้ เปนบริษัทที่มีการนําระบบ RFID ไปใชงานในองคกร ซึ่ง

เปนการเปรียบเทียบกับการใชงานของบารโคด ซึ่งการวิเคราะหคุณสมบัติจะเปนไปในรูปแบบของการ

เปรียบเทียบพื้นฐานของเทคโนโลยีทั้งสองระบบ ไดแก ตนทุนเริ่มแรก, ความคงทน, ความงายและความ

ยืดหยุนในการใชงาน, ความถูกตองและความนาเชื่อถือ, และการนํากลับมาใชหรือเขียนใหมไดอีก

- ตนทุนเริ่มแรก คือ การประเมินเงินทุนที่ใชในการแกปญหา ซึ่งตนทุนจะเปลี่ยนแปลงความ

ตองการจํานวนปายฉลากบารโคด หรือจํานวน RFID tags

- ความคงทน หมายถึง ความสามารถในการใชงานในทุกสภาวะแวดลอม รวมถึงการไม

ขอจํากัดในเรื่องของ อากาศรอน อากาศเย็น (อุณหภูมิ), น้ํา, และปฏิกิริยาทางเคมี

- ความงายและความยืดหยุนในการใช หมายถึง ขอจํากัดของการวางแผนปายหรือปายฉลาก

(Tag / label) ซึ่งหมายถึงระดับการติดปายที่ระดับสายตาตองการและงายตอการใชหลาย

งานระบบรวมกัน

- ความถูกตองและความนาเชื่อถือ หมายถึง การเสนอขอมูลที่มีความถูกตองและเชื่อถือได ใน

ทุก ๆ เงื่อนในการทํางานในทุกสภาวะแวดลอม

- การนํากลับมาใชและเขียนใหมไดอีก หมายถึง ลักษณะที่เสนอจากเทคโนโลยีโดยจะจัดอันดับ

คุณสมบัติจากการเนนตัวหนา เพื่อแสดงขอไดเปรียบของแตละคุณสมบัติที่เกี่ยวของจาก

กรณีศึกษา

กรณีศึกษาที่จะยกมาเปนตัวอยางในที่นี้ คือ

กรณีศึกษาที่ 1 Seagate Seagate คือ ผูผลิตดิสกไดรฟ, แมกเนติกดิสก และหัวอาน/เขียน รายใหญที่สุดในโลก และยังเปน

ผูบุกเบิกริเร่ิมในระบบของเทปไดรฟอีกดวย โดยมีการผลิตดิสกชนิดตาง ๆ นับพันหนวยตอวัน ดังนั้น

Seagate จึงตองการระบบที่สามารถติดตามผลิตภัณฑไดตลอดทั้งกระบวนการผลิต รวมถึงหองสะอาด

(clean room) ซึ่งการใชระบบ RFID ทําให Seagate สามารถติดตามผลิตภัณฑที่กําลังผลิตอยูภายในหอง

สะอาดได แตระบบบารโคดไมสามารถใชได เพราะตองมีการคํานึงถึงสารปนเปอนในหองสะอาด และ

ยิ่งกวานั้นการไดติดตามตรวจสอบความถูกตองของผลิตภัณฑในขณะทํางานจริง จะชวยทําให Seagate

สามารถเพิ่มคุณภาพสินคาและประสิทธิภาพการผลิต โดยการหาจุดที่ผิดพลาดวามาจากตรงไหนของแต

ละปญหา

Page 37: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 36

ระบบบารโคดที่มีอยูไมสามารถใหขอมูลที่ถูกตองไดเกิน 98% สําหรับงานที่กําลังอยูในชวงการ

ผลิต ปญหาดานการผลิตจะยากและใชเวลานานในการแยกแยะปญหา ทาง Seagate คาดไววา

“ประมาณ 25% ของเวลาที่เปนตนเหตุของปญหาดานการผลิตไมสามารถระบุได”

เมื่อใชระบบ RFID ดิสกแตละแผนจะถูกติดแผนปาย RFID แบบอาน/เขียนไดดวยความจําขนาด

736 bytes แลทํางานที่ยานความถี่ 13.56 MHz แท็กสจะมีขอมูลสําหรับการตรวจสอบการผลิตจํานวนเลข

เฉพาะ และบันทึกการทดลองตาง ๆ โดยรวมแลว Seagate ใชปาย RFID จํานวน 38,000 หนวย และ

สายอากาศ RF มากกวา 600 หนวย เมื่อปายผานจุดที่วางเครื่องอานไว เครื่องอานจะติดตอส่ือสารไววามี

กระบวนการผลิตที่สําเร็จแลวทั้งหมดเทาไร และขอมูลนี้จะถูกเก็บสะสมไวในเครื่องอาน และถูกสงตอไปยัง

ระบบ Seagate’s Enterprise Resource Planning (ERP) โดยโปรแกรมของระบบ ERP จะตรวจสอบ

ขอมูลที่บรรจุอยูในเครื่องอาน เพื่อควบคุมการผลิต และการรักษาความถูกตองของตารางเวลาการผลิต

และเมื่อเกิดขอผิดพลาดที่ไมตรงกันจากการตรวจสอบพบของระบบเครื่องอาน หรือระบบปาย หรือระบบ

ERP ผูจัดการการผลิต หรือ พนักงานการผลิตจะสามารถทราบการเตือนขอผิดพลาดดังกลาวไดทันทีจาก

กระดาษหรือเสียงเตือน

สําหรับขอไดเปรียบ และขอเสียเปรียบของแตละเทคโนโลยีที่เกี่ยวของในกรณีศึกษาที่ 1 นี้ แสดง

ดังตารางที่ 2

คุณสมบัติ บารโคด RFID

ตนทุนเริ่มแรก ต่ํา กลาง – สูง

ความคงทน กลาง – ต่ํา สูง

ความยืดหยุนและความงายตอการใช กลาง – ต่ํา กลาง – สูง

ความนาเชื่อถือและความถูกตอง กลาง – สูง สูง

การนํากลับมาใชหรือเขียนใหม ต่ํา สูง

การวิเคราะหกรณีศึกษา Seagate

Page 38: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 37

กรณีศึกษาที่ 2 Automatic Vehicle Location เพื่อการปรับปรุงการจัดการของสถานีรถบัส และการเพิ่มความพอใจของลูกคาที่เมือง Vejle

ประเทศเดนมารก ไดมีการนําระบบการชี้ตําแหนงพาหนะ (รสบัส) แบบอัตโนมัติ (automatic vehicle

location system) มาใช ซึ่งเปนเทคโนโลยี RFID เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการรถบัสที่เขามาและ

ออกไป และการขึ้นลงที่ชานชาลาในสถานี โดยที่ระบบนี้จะจัดการกับรสบัสจํานวน 149 คน เสนทางวิ่ง 13

เมือง และ 22 เขต โดยประมาณไดวามีการเดินทางเขาและออกจากสถานีประมาณ 800 คัน ทุกวัน

รสบัสแตละคันจะมีการติดปาย RFID ทีกันชนรถ และภายในปายจะมีการบรรจุขอมูลเฉพาะ และ

ขอมูลเสนทางการวิ่ง เครื่องอาน RFID จะถูกฝงอยูที่พื้นผิวถนนในระวางทางเฉพาะในชวงของการเขา

เสนทาง ซึ่งเครื่องอาน RFID จะอานขอมูลจากปายของรถแตละคันที่วิ่งผานและขอมูลถูกสงกลับไปยัง

ระบบคอมพิวเตอรหลัก ทําใหสถานีรถบัสสามารถประเมินตําแหนงของรสบัสแตละคันได ทําใหรูวามีรสบัส

กี่คันที่ใกลจะถึงสถานี้แลวและสามารถจัดการสําหรับการลาชาที่ไมไดคาดหมายได

ขอไดเปรียบและขอเสียของแตละเทคโนโลยีที่เกี่ยวของในกรณีศึกษาที่ 2 นี้ สามารถแสดงไดดัง

ตาราง

คุณสมบัติ บารโคด RFID

ตนทุนเริ่มแรก ต่ํา กลาง

ความคงทน ต่ํา สูง

ความยืดหยุนและความงายตอการใช ต่ํา กลาง – สูง

ความนาเชื่อถือและความถูกตอง ต่ํา สูง

การนํากลับมาใชหรือเขียนใหม ต่ํา สูง

การวิเคราะหกรณีศึกษา Automatic Vehicle Location

RFID เปนเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอยางตอเนื่อง และการพัฒนาสงผลใหความสามารถในการจํา

มีมากขึ้น เปนการเพิ่มระยะขอบเขตการอานขอมูลใหกวางขึ้น มีการประมวลผลไดเร็วขึ้น และสามารถลด

ตนทุนใหต่ําลงได ยิ่งกวานั้นความเปนมาตรฐานจะทําใหการทํางานที่ เชื่อมโยงกันในการผลิตมี

ประสิทธิภาพมาขึ้น และกอใหเกิดการปรับเปลี่ยนระบบ RFID ใหดียิ่งขึ้น

จากกรณีศึกษา จะเห็นไดวามีเงื่อนไขที่เปนการสนับสนุนให RFID เขามาแทนที่บารโคดโดยตรง

แตก็ยังมีเงื่อนไขที่แตกตางออกไป ซึ่งมีสวนสนับสนุนให RFID เขามาเปนเทคโนโลยีที่เสริมใหกับระบบบาร

โคดโดยขอเปรียบเทียบดังกลางแสดงในตาราง

Page 39: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 38

เงื่อนไข / ขอกําหนด บารโคด RFID

ตนทุนในการลงทุนเริ่มแรกต่ํา

อุณหภูมิ สูง / ต่ํา

สารเคมี / ของเหลว

ขอกําหนดการไมมีเสนที่มองเห็นได

ความคงทน (ข้ึนกับลักษณะการใชงาน)

การเชื่อมโยงการปฏิบัติงานระหวางผูคาหลาย ๆ ราย

ความยืดหยุน (ข้ึนกับลักษณะการใชงาน)

ความนาเชื่อถือ / ความถูกตอง

ความสามารถในการสแกนสินคาหลายตัว

การนํากลับมาใชอีก

เงื่อนไขทีม่ีสวนตัดสินใจวา RFID จะมาแทนหรือมาเสรมิบารโคด

ทั้งระบบ RFID และระบบบารโคดมีขอได และเสียเปรียบกันเปลี่ยนแปลงตามลักษณะการใชงาน

ผลสรุปจากเงื่อนไขในการใชงาน อาจกลาวไดวาเทคโนโลยีทั้งสองระบบ เปนตัวกอใหเกิดตลาดใหม ซึ่ง

เปนการเปดตลาดที่มีเทคโนโลยีทั้งสองเปนสวนสําคัญ สําหรับลักษณะการใชงานที่ตองการการปฏิบัติงาน

ที่สามารถทํางานกับสภาพแวดลอมที่รุนแรงได ไมตองการใหมีเสนที่มองเห็นสามารถสแกนสินคาหลาย

ชนิดไดพรอมกัน และสามารถนํากลับมาใชไดอีกจากความตองการของลักษณะงานดังกลาว ระบบ RFID

จะมีความเปนตอมากวา

แตถาหากลักษณะการใชงานตองการการปฏิบัติงานที่มีตนทุนของการลงทุนต่ํา ใชงานเชื่อมโยง

กันไดกับผูคาหลาย ๆ ราย มีความยืดหยุนในการใชงาน และมีความคงทนพอสมควรในการใชงานกับ

สภาวะแวดลอมทั่ว ๆ ไป หากลักษณะการใชงานตองการเงื่อนไขดังกลาว ระบบบารโคดจะมีความ

เหมาะสมมากกวา แตเมื่อเงื่อนไขความตองการเปลี่ยน และระบบไดรับการปรับปรุงศักยภาพ เทคโนโลยี

ทั้งสองก็จะมีสวนเสริมการทํางานกัน ซึ่งเปนการขยายขอบเขตหนาที่การใชงานในปจจุบันที่ไมเคยไดรับ

การพัฒนามากอนใหพัฒนาไดกาวไกล

Page 40: เอกสาร RFID - รายงาน RFID (จุฬา)

นางสาวขวัญชนก วิริยกุลโอภาศ 4980111022 39

บรรณานุกรม Suksmith, Smith. “Introduction to RFID Technology.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://www2.sipa.or.th/main/index.php?option=com_docman&task=doc_download&gid

=20&Itemid=91. สืบคน 15 ธันวาคม 2549.

ทวีศักดิ ์กออนนัตกูล. “เทคโนโลย ีRFID กับผลกระทบตอประเทศไทย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://ict.moph.go.th/content/RFID.pdf. สืบคน 15 ธนัวาคม 2549.

“เทคโนโลยี RFID.” [ออนไลน]. เขาถงึไดจาก :

http://angsila.compsci.buu.ac.th/~sc440061/%CB%D1%C7%A2%E9%CD%CA%D1%C

1%B9%D2/%C3%D2%C2%A7%D2%B9%CA%D1%C1%C1%B9%D21/TECHNOLOGY_

RFID1.doc.. สืบคน 14 มกราคม 2550.

ธวัช วราไชย. “เอกสารเชิงวิเคราะห : ปญหาที่เกิดจากการใชงานเทคโนโลยี RFID.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://www.lib.tsu.ac.th/index.php?option=com_docman&task=cat_view&gid=28&Itemid

=60. สืบคน 15 มกราคม 2550.

นฤมล นําจนัทร. “RFID เทคโนโลยีฉลากแหงอนาคต.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://angsila.compsci.buu.ac.th/~sc440061/%CB%D1%C7%A2%E9%CD%CA%D1%C

1%B9%D2/RFID.ppt. สืบคน 16 มกราคม 2550.

บุรินทร อรุณโรจน. “RFID เทคโนโลยีที่ตองตามใหทนั.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://www.dss.go.th/dssweb/st-articles/files/pep_11_2548_rfid.pdf. สืบคน 15 ธันวาคม

2549.

ลัคน มูสิกะนกุูล. “RFID วิวฒันาการอีกกาวของโลกไอทีไรสาย.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :

http://itmc.tsu.ac.th/paper/it002.doc. สืบคน 15 ธนัวาคม 2549.

วชิราภรณ คลังธนบูรณ. “เทคโนโลย ีRFID กับหองสมุด.” วารสารบรรณารักษศาสตร 26, 2 (2549) :

11-20.

วัชรากร หนูทอง และ อนุกลู นอยไม. “RFID หนึ่งในเทคโนโลยทีี่นาจบัตามอง.” [ออนไลน]. เขาถงึไดจาก :

http://www.nectec.or.th/pressnews/bid/RFID/RFID_technology_final2.pdf. สืบคน 15

ธันวาคม 2549.

วีรพล พัวพนัธ.”เทคโนโลย ีRFID.” [ออนไลน]. เขาถงึไดจาก : http://industrial.se-

ed.com/itr93/itr93_107.asp#3สืบคน 15 มกราคม 2550.

สมนึก สมชัยกุลทรัพย. “ตัวอยางและประสบการณการนําเทคโนโลยี RFIDมาใชในธุรกิจและใน

ชีวิตประจําวัน.” [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tnsc.com/RFID.pdf. สืบคน 15

มกราคม 2550.