78

ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

Embed Size (px)

Citation preview

Page 1: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด
Page 2: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภฏัราชนครนิทร

ปรัชญา

อนุรักษ พัฒนา สรางสรรค ศิลปะ วัฒนธรรม และ ภูมิปญญาทองถิ่น

วิสัยทัศน เปนศูนยขอมูลทองถิ่น และบูรณาการเครือขาย ศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น

พันธกิจ ๑ . ร ว มมื อ กั บ หน ว ย ง า นทั้ ง ภ า ย ใ น แล ะภ ายนอก

มหาวิ ท ย าลั ย ฯ เ พื่ อ ส ง เ ส ริ มพัฒนากา ร เ รี ย น รู ด า น

ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ๒. สงเสริมการจัดกิจกรรมดานศิลปวัฒนธรรม โดยเนนการมี

สวนรวมการสรางจิตสํานึก และการเรียนรูศิลปวัฒนธรรมตาม

วิถีชีวิตไทย ๓. ประสานงานกับหนวยงานที่ศึกษาคนควาดาน ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ทั้งในจังหวัดฉะเชิงเทรา

และจังหวัดใกลเคียง เพื่อเชิดชูเอกลักษณจังหวัด เพื่ออนุรักษ

และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของภาคตะวันออกใหอยูยั่งยืน (ตาม

พันธกิจของมหาวิทยาลัยฯ)

วัตถุประสงค ๑. เพื่อเปนศูนยกลางขอมูล และแหลงเรียนรูทาง

ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น

๒. เพื่อประสานความรวมมือกับเครือขาย อันจะสงผลให เกิดการเรียนรู และรวมแกปญหาของชุมชนและทองถิ่น

๓. เพื่อเปนศูนยในการอนุรักษ พัฒนา และสรางสรรค โดย สงเสริม สนับสนุน และเผยแพรศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิ

ปญญาทองถิ่น

วารสาร ราชนครนิทร

“ศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น” จัดทําขึ้นเพื่อเผยแพรความรู ความคิดและทัศนะตลอดจนงานศึกษา คนควา วิจัยทางศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น

เจาของ : ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

๔๒๒ ถนนมรุพงษ ต.หนาเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา โทรศัพท. ๐-๓๘๕๓-๕๔๒๖-๘ ตอ ๕๑๕๓ โทรสาร ๐-๓๘๘๑-๐๓๓๗ http://culture.rru.ac.th

ท่ีปรึกษา : ผูชวยศาสตราจารยเอนก เทพสุภรณกุล อาจารยอุทิน รวยอารี ผูชวยศาสตราจารยชุมศรี นพวงศ ณ อยุธยา

คณะบรรณาธิการ : อาจารยจินดา เนื่องจํานงค ผูชวยศาสตราจารยประเสริฐ ศีลรัตนา

ผูชวยศาสตราจารยวัฒนาพร งามสุทธิ อาจารยนพมาศ หงษาชาติ อาจารยโยธิน จี้กังวาฬ อาจารยชูชาติ นาโพตอง อาจารยภานุ สรวยสุวรรณ อาจารยบุญทอง มณีรําพรรณ อาจารยประภัสสร จันทรสถิตยพร อาจารยอารียา บุญทวี อาจารยกิจจา สิงหยศ อาจารยไตรภพ โคตวงษา นางอรวรรณ แสงอรุณ น.ส.นวลลออ อนุสิทธิ์

Page 3: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

บรรณาธิการ

วารสาร “ราชนครินทร ศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน” ฉบับนี้เปนฉบับเริ่มตนของความเปนหนวยงานทีเ่ปลี่ยนชื่อใหม จากสํานักศิลปะวัฒนธรรม มาเปน “ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน” ตามโครงสรางมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร โดยทําหนาที่ตามพันธกิจดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มีจุดมุงหมายหลัก คือ การอนุรักษ การพัฒนา และการสรางสรรค ซ่ึงเกี่ยวของกับกิจกรรมดานศลิปกรรม วัฒนธรรม ที่สะทอนใหเห็นความเปนทองถ่ินในบรบิทของการอนุรักษ สงเสริม และเผยแพรในรูปแบบตาง ๆ

ส่ิงที่สะทอนแสดงถึงการทํานุบํารุงศิลปวฒันธรรมจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของ รวมดําเนินการหรือสนับสนุน เพราะศิลปวัฒนธรรมเปนเรื่องของทุกคน เปนเจาของรวมกัน การบริหารงานหรือดําเนินงาน จึงตองเปนไปอยางตอเนื่อง

วารสารฉบับนี้ ไดสะทอนมมุมอง ความคิดและทัศนะทีม่ีตอศิลปะ วฒันธรรม และภูมิปญญาทองถ่ิน โดยไดรับความรวมมือจากคณาจารย นักศกึษา ในมหาวทิยาลัยราชภัฏราชนครินทร และคณาจารย นักวิชาการวฒันธรรม ในจังหวดัฉะเชิงเทรา ที่เปนเครือขายศิลปะ วัฒนธรรม ขอขอบคุณผูบริหาร คณาจารย คณะกรรมการประจําศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ินทุกทาน นายจนิดา เนื่องจํานงค ผูอํานวยการศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน

Page 4: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

สารบัญ หนา

กระบวนการทาํงาน : มิติดานศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน (จินดา เนื่องจํานงค) ๑ หนากกูับหนากาก (ประเสริฐ ศีลรัตนา) ๔ มุมมองงานศิลปะกับศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี (อาจารยโยธิน จี้กังวาฬ) ๒๒ ไขกี้ ( ประยูร จันวงษา) ๒๕ ภูมิปญญาทางศิลปะ (ชูชาติ นาโพตอง) ๒๙

ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย ? (ภานุ สรวยสุวรรณ) ๓๓ อุตสาหกรรมการทองเที่ยว กับศาสนา วฒันธรรม ( ไตรภพ โคตรวงษา) ๓๕ การเพิ่มมูลคาของชุมชนดวยทุนทางสังคม (อารียา บญุทวี) ๓๘ ขนมไทย (กจิจา สิงหยศ) ๔๓ ลิเก – เครื่องแตงกาย – ลมหายใจแหงการคงอยู (ประภสัสร จันทรสถิตยพร) ๔๕ ยอยรอย........บางปะกง (พิมพวดี จนัทรโกศล) ๔๘ บทบาทของชมรมครูศิลปะกับการพัฒนาสุนทรียภาพ ฯ (พรรณวลัย คีรีวงศวัฒนา) ๕๐ พิพิธภัณฑภูมพิลอดุยเดชมหาราช (นันทา ผลบุญ) ๕๕ แมน้ําบางปะกงแหลงชีวิต (วัลลภา ชํานาญคา) ๖๔ พระศักดิ์สิทธิห์ลวงพอโสธร ๖๗ พระยาศรีสุนทรปราชญภาษาไทย ๖๙ อางฤาไนปาสมบูรณ ๗๑ หนังตะลุงแปดริ้ว (ฉันทนา สระบุรินทร) ๗๓ รูปปูนปนที่วดัสัมปทวน(นอก) (อิงตะวนั แพลูกอินทร) ๗๗ มารูจักโลกการตูนกันดกีวา (อาทิตย อาวากุล) ๘๐ ประมวลภาพ ๘๔

Page 5: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

กระบวนการทํางาน : มิติดานศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น

อ. จินดา เนื่องจํานงค

ในความหมายของศิลปวัฒนธรรม หมายถึง วัฒนธรรมเชิงศิลปะ ซ่ึงเปนวิถีชีวติที่เปน ภูมิปญญาที่แทจริงของชนในชาติ ซ่ึงนอกเหนือจากลักษณะเดนทางศิลปกรรมแลวยังรวมถึงภาษา อาหาร การแตงกาย กิริยา มารยาท จารีต ประเพณี และตํานาน เปนตน (สํานักงานรับรองมาตรฐานและประกนัคณุภาพการศึกษา, ๒๕๔๘) ฉะนั้น คําวา “วัฒนธรรม” จะรวมหมายถึง วิถีชีวิตที่กลุมคนปฏิบัติรวมกันมา โดยมีองคประกอบตาง ๆ ดานวัฒนธรรมที่เปนรูปธรรม เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ เครื่องมือเครื่องใช และวัฒนธรรมที่เปนนามธรรม หรือจับตองไมได เชน ศิลปะการแสดง ภาษา เร่ืองเลา ตํานาน จารีต ประเพณี พิธีกรรม เปนตน

ในดานศิลปะตามนัยยะของอาเซียน ศิลปะ หมายถึง ผลงานดานทัศนศิลป ศิลปะการแสดง และวรรณศิลป โดยทัศนศิลปจะประกอบดวย ผลงานดานจติรกรรม ประติมากรรม ภาพพมิพ ภาพถาย ส่ือผสม งานออกแบบและสถาปตยกรรม ศิลปะการแสดง หมายถึง ดนตร ีการแสดง ละคร นาฏศิลป สวนวรรณศิลป หมายถึง กวนีิพนธรูปแบบตาง ๆ

ส่ิงที่แสดงความเปนศิลปะ วฒันธรรม จะตองเกี่ยวของกับกลุมคนในทองถ่ิน ซ่ึงทองถ่ินจะหมายถึง ส่ิงที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณเฉพาะของตัวบุคคล สังคม รวมถึงสถานที่ ภูมิปญญา ความเชื่อ ประเพณี และการดําเนินชวีิต

กระบวนการทาํงานเพื่อพัฒนาการเรียนรูโดยใชมิติทางวัฒนธรรมแตละดานมาบริหารจัดการ โดยใชมิตหิลัก ๆ ไดแก การอนุรักษ การสงเสริมเผยแพร การสรางมูลคาและคุณคา และแหลงเรียนรู ซ่ึงมิติเหลานี้จะครอบคลุม การทํางานดานวัฒนธรรมทัง้ ๗ ดาน คือ การวิจยั การอนุรักษ การถายทอด การการฟนฟู การเผยแพรและแลกเปลี่ยน และการเสริมสรางเอตทัคคะ (การสงเสริมความเปนเลิศดานใดดานหนึ่ง)

ดานการอนุรักษ (สบืคนและการวิจัย) วัตถุประสงคเพื่อใหรูวาสิ่งตาง ๆ เหตุการณตาง ๆ ครั้งหนึ่งเกิดขึ้นเมื่อใด อยางไร พื้นถ่ินมี

อะไร ทั้งนามธรรมและรูปธรรม ที่มีความหลากหลายของวัฒนธรรม เอกลักษณเฉพาะตัว (อัตลักษณ)

ฉะนั้น ส่ิงที่นักวิชาการ / ครู อาจารย ประชาชนและผูเกี่ยวของ ตองสืบคน วิจัย แลวพัฒนาขอมูลจากการศึกษา คนควา วิจัย เพื่อใหรูความเปนมา ประวัติศาสตรทองถ่ิน ซ่ึงรวมถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี กิจกรรมเพื่อการอนุรักษการสืบคนขอมูลทองถ่ิน เชน การศึกษา

Page 6: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

ประวัติศาสตรทองถ่ินจากการบอกเลา การสืบคนเพื่อการเผยแพร การละเลนพื้นบาน ประเพณีความเชื่อของทองถ่ิน ภูมิปญญาแขนงตาง ๆ เปนตน

ดานการสงเสริมเผยแพรวัฒนธรรม สภาวัฒนธรรมจังหวัด / สภาวัฒนธรรมอําเภอ / ตําบล / ศูนยวัฒนธรรมจังหวัด / หนวยงาน

ในสถานศึกษาที่ดําเนินงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ตองเปนคลังสมองของจังหวัด ตองมีกิจกรรมหลากหลายตอเนื่อง โดยทําใหคนในทองถ่ินแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม การมีสวนรวมในการระดมความคิดเห็น เชน หาวิทยากรในทองถ่ิน ปราชญชาวบานมาเปนวิทยากร ใชเวทีศูนยวัฒนธรรมหรือแหลงวัฒนธรรมนั้น ใหเกิดประโยชนจริงโดยใหเจาของวัฒนธรรมเปนผูดําเนินการคิดคน วิธีการเผยแพรวัฒนธรรมของชุมชนเขาเอง ซ่ึงหนวยงานที่เกี่ยวของตามลําดับขั้น มีหนาที่สนับสนุนงบประมาณเพื่อการบริหารจัดการ

ดานการคิดกลยุทธ เพิ่มมลูคา และคุณคาใหเกิดประโยชนกับชีวิตจริง การดําเนินการ ใหวัฒนธรรมเปนจุดแข็งของการพัฒนา ซ่ึงมีหลายวิธี ปจจุบันใชการทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมเปนกิจกรรมหนึ่ง ในการสงเสริม การเผยแพร ปญหาทีน่ักวิชาการหลายทานเปนหวง คือ รณรงคการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เปนการนําศิลปวฒันธรรมในอดีตมาใชเพื่อการทองเที่ยว แตหาไดถูกใชเพือ่ทําการรูจักตนเอง รูจักทองถ่ิน จําเปนอยางยิ่งตองมีคณะทํางานจากบุคคลหลาย ๆ ฝาย ที่จะชวยใหการปฏิบัติงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ใหชุมชนสืบคน เรียนรูภูมิปญญา คนหามูลคาและคุณคาของทรัพยากร อันเปน “ทุน” ในชุมชนของตนเอง หรือที่เรียกวา “ทุนทางปญญา” แลวเกิดเปน “ทุนทางสังคม” นั่นเอง ช้ีใหเห็นถึงศิลปวัฒนธรรมที่มีคุณคากับตนเองและกับบุคคลอื่น ๆ รวมทั้งรุนลูกหลาน และการสรางสรรคภูมิปญญาทองถ่ินใหเกิดคณุคาแกสังคมนั้น

ดานแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม ใหวฒันธรรมเปนแหลงเรยีนรู หรือสรางแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรมที่นักเรียน นักศึกษา

ประชาชน ผูสนใจเขาถึงงาย สะดวก และเปนเจาของวัฒนธรรมดวย โดยมวีิธีการ คือ หนวยงานทีด่ําเนินการทํานุบาํรุงศิลปวัฒนธรรม ตองสรุปขอมูล ช้ีใหเห็นวาแหลงเรยีนรู มีที ่

ไหนบาง และมีอะไรใหเรียนรู ซ่ึงในระดับจังหวดั คือสวนของสภาวัฒนธรมจงัหวัด สํานกังานวัฒนธรรมจังหวัดและศนูยวัฒนธรรมจังหวัด ตองเปนหลัก โดยมฐีานขอมูล แหลงเรียนรูในระดับของจังหวดัทั้งหมด ในแตละดาน เชน

- แหลงเรียนรูดานศิลปะ หอศิลป - พิพิธภัณฑพื้นบาน - ศูนยบูรณาการสายใยชุมชน

Page 7: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

- ขอมูลดานภูมปิญญาทองถ่ิน ของแตละตําบล อําเภอ - ดานศาสนสถาน - โรงเรียน

การจัดแหลงเรียนรู หรือขอมูล ไมใชวาเพยีงแคมีศูนย มพีิพิธภัณฑ แลวขาดความเคลื่อนไหวในการใชประโยชนจากสถานที่นั้น ๆ กจ็ะกลายเปนสถานที่เก็บของโบราณวัตถุ จําเปนตองมีการสงเสริมใหใชประโยชนกับชุมชน เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ใหทราบและเขาใจความเปนมาของทองถ่ิน และของชาติ

ศาสตรทางศิลปวัฒนธรรม จะครอบคลุมหลายดานทางวัฒนธรรม ซ่ึงเปนศาสตรที่มีความละเอียดออน และสะทอนความเปนเอกลักษณะเฉพาะของชาติและทองถ่ิน

ส่ิงที่คนทํางานศิลปวัฒนธรรม ตองถือเปนหนาทีห่ลักของเรา คือ คิดกลยุทธ วิธีการใหม ๆ จากกรอบแนวคิดการดําเนนิงานที่ผานมา หรือการศึกษาขอมูลเดิมจากดานวัฒนธรรมทองถ่ิน เพื่อเนนกระบวนการคิดใหมๆ ซ่ึงเปนพนัธกิจดานการบริหารและการจัดการดานวฒันธรรมและการบริการ การเรียนรูและบูรณาการวฒันธรรมไทยและภมูิปญญาไทย โดยมีองคประกอบหลายอยางที่ขาดไมได คือ

๑. กลไกการมีสวนรวมของบุคคล ชุมชน หนวยงานที่เกีย่วของ ๒. การสรางศูนย (ไมใหสูญ) หรือแหลงเรียนรูใหมีคุณคา มชีีวิต เชน ศูนยศิลปะฯ หอศลิป

หอประวัติ พพิิธภัณฑ ศนูยวัฒนธรรม ศูนยบูรณาการฯ ศูนยขอมูลชุมชน เปนตน ๓. การถักทอเชื่อมโยงเครือขาย ศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถ่ินเขาดวยกัน

ฉะนั้น วิธีการทําใหประชาชนและเยาวชนสนใจในวัฒนธรรมของตนเอง โดยใชมิตดิานการ อนุรักษ การสงเสริมเผยแพร การสรางมูลคา คุณคาและจัดแหลงเรียนรูทางวัฒนธรรม กระบวนการทํางานศิลปะวฒันธรรม ตองทําเปนระบบอยางตอเนื่อง ผลลัพธบางอยางอาจไมเหน็ผลผลิตที่บงบอกถึงความสําเร็จไดภายในกรอบเวลา ตองอาศัยการถายทอดสืบตอกนัไป ความสําคัญหรือการขับเคลื่อน คือ การรวมตัวกันสรางเครือขาย โดยการบูรณาการการทํางานระหวางตัวบุคคล หนวยงานตาง ๆ เขามามีสวนรวมในการพฒันา สานตอ ถายทอด ศิลปะ วฒันธรรม ประเพณีส่ิงทีด่ีใหกับคนรุนใหม รุนลูกรุนหลานตอไปได

Page 8: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

ประเสริฐ ศีลรัตนา

มนุษยในอดีต เมื่อคร้ังยังไมรวมกลุมเปนชุมชน ตางตองดิ้นรนเพื่อความอยูรอดตาม

สัญชาตญาณ แตละคนจะมีความเหน็แก ตัว มากกวาเหน็แกตัว คร้ันเมื่อรวมกลุมอยูรวมกันเปน

ชุมชนเปนสังคม ความเห็นแกตวัก็เร่ิมกลบักลายมาใหความสําคัญที่ หนา มากกวาสวนอื่น หนาตาในปจจบุันของมนุษยยุคโลกาภิวฒัน อาจกลาวไดวาบางครั้งมคีวามสําคัญยิ่งกวาชวีิต

จนกระทั่งมีถอยคําที่บัญญัติไวเกีย่วกับหนาอยูมากมาย ซ่ึงลวนแตเปนการบงบอกถึงคานิยมลักษณะที่แสดงอาการหรือพฤติกรรม ตลอดจนการสะทอนถึงความรูสึกนึกคิดของจิตใจโดยใชหนาเปนสื่อสําคัญ เชน

มีหนามีตา หมายถึง บุคคลที่ไดรับการยอมรับจากทางสังคมทางดานใดดานหนึ่ง จนเปนที่รูจักกันเปนอยางดี

เห็นแกหนาหรือไวหนา หมายถึง การคาํนึงถึงบุคคลผูเกี่ยวของทําใหพฤติกรรมทีจ่ะกระทําลดความรุนแรงลง หรือเปนการใหเกียรตแิกผูเปนเจาของหนา

ขายหนา หมายถึง การกระทําใด ๆ ทั้งที่เกิดจากผูอ่ืนหรือเกิดจากเจาตัว กอใหเกดิความเสื่อมเสียอับอาย

เสียหนาหรือไมไวหนา หมายถึง พฤติกรรมใด ๆ ที่เปนผลกระทบทาํใหเกิดความเสื่อมถอยในคุณคาบุคคล หรือกอใหเกิดพฤติกรรมการดูถูกเหยียดหยามแกผูพบเห็น

ไดหนา หมายถึง ผลอันเกิดจากการกระทําใด ๆ แลวกอใหเกดิคุณคาในทางชื่นชม ยินดียอมรับ

หนาบาน หมายถึง พฤติกรรมที่กอใหเกิดความสุขที่แสดงออกใหปรากฏเห็นได หรือหมายถึงคําเปรียบเปรยกับผูที่ไดรับความสําเร็จในกจิใด ๆ ที่กอใหเกดิคําชม คํานิยม ยอมรับ

หนาแตก หมายถึง พฤติกรรมใด ๆ อันทําใหผูอ่ืนสามารถรับรูถึงขอผิดพลาดได กอใหเกดิคําครหา การหัวเราะเยาะ เสียดสี กระทบกระเทยีบ

หนาแหก หมายถึง อาการของผูที่พล้ังพลาดในเรื่องใดกต็าม ในสายตาของผูคนทั่วไป หนาตาย หมายถึง การวางเฉยไมแสดงอาการความรูสึกใด ๆ ออกมาใหปรากฏบนใบหนา

ไมวาจะเปนความสุขหรือความทุกขก็ตาม หนาเปน หมายถึง การเสแสรงแสดงความรูสึกออกมาใหปรากฏเห็น เปนไปในทางตรง

ขามกับความรูสึก หรือการแสดงอาการลอเลียน

Page 9: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

หนาไหวหลังหลอก หมายถึง การเปลี่ยนแปลง ตลบตะแลง กลับกลอก ไมอยูกบัรองกับรอย หรือเชื่อถือไมไดในพฤติกรรมที่แสดงออก

หนาดานหรือหนาทนหรือหนาหนา หมายถึง คําประณามผูที่กระทาํการใด ๆ แลวถูกตําหนิติเตียน ถูกประณาม หรือถูกผรุสวาสแลว ไมแสดงอาการสํานึกใหปรากฏ ไมสะทกสะทานตอคํากลาวใด ๆ จนผูประณามเกดิอาการยอมแพตออาการอดกลั้นเก็บความรูสึกไมแสดงออกนั้น

หนาบาง หมายถึง อาการทนตอส่ิงเราที่จะมากระทบไมไดแมเปนเพียงเรื่องเล็กนอยจะแสดงอาการออกมาใหปรากฏตรงขามกับหนาหนา

หนามาน หมายถึง อาการละอายหรือสํานึกในพฤติกรรมที่แสดงออกไปแลวไมเปนที่ยอมรับ

หนาเสีย หมายถึง อาการทีแ่สดงปรากฏบนสีหนาบงบอกถึงความไมมั่นใจ การถดถอยของกําลังใจ

หนางอ หมายถึง อาการไมพอใจที่เกิดจากสิ่งเราที่ไมพงึปรารถนามากระทบ หนาคว่ํา หมายถึง การโกรธตอส่ิงที่มากระทบ จนไมอยากจะกลาวอางถึง หนาเขียว หมายถึง อาการโกรธจัด หรือจุกตอส่ิงที่มากระทบอันจะนําไปสูพฤตกิรรมการ

ตอบโตที่รุนแรงได หนามืด หมายถึง อาการที่เกิดขึ้นอยูนอกเหนือการบังคบัควบคุมได หนาแดง หมายถึง อาการที่บงบอกถึงอารมณอันเปนผลกระทบจากสิ่งเราที่ทําใหเลือดสูบ

ฉีดตางไปจากปกติธรรมดา อาการอาย หรืออาการโกรธ หนาเลือด หมายถึง อาการเห็นแกไดโดยไมคํานึงถึงคุณธรรม จริยธรรม หรือความ

เดือดรอนทุกขยากของผูอ่ืน หรือเปนการแสวงหาผลตอบแทนที่เกินกวาปกติธรรมดา หนาซีด หมายถึง อาการที่แสดงออกถึงความรูสึกอันเกดิจากผลกระทบของสิ่งเรา จนเลือด

สูบฉีดไมทัน อันเปนสัญญาณถึงอาการทีจ่ะตามคือ เปนลม ช็อค หมดสติ หรือหมดเนื้อหมดตัว หรืออาการกลัวสุดโดยเปรียบกับไกที่ถูกเชือดแลวนําไปตม คือ หนาซีดเปนไกตม

หนาจืด หมายถึง ใบหนาที่ราบเรียบไมมีสวนใด ๆ สามารถกระตุนเราความรูสึกจากการรับรูได กอใหเกิดอาการเบื่อ ทนไมไดตอการรับรู

หนาใหญ หมายถึง การทําส่ิงที่เกินตัวเกนิกวาสภาวะปกติธรรมดาที่ควรจะเปน หนาจอย หมายถึง การสูญเสียความหมัน่ใจ อาการหลังตกใจขณะยังไมสามารถเรียกสติ

กลับขนมาสูปกติได หรืออาการหลังจากถกูคุกคามดวยอํานาจที่เหนือกวา เสียขวัญ หนาเงิน หมายถึง ความเหน็แกไดในทรัพยสินเปนสําคัญกวาส่ิงอ่ืนใด หนาตัง้ หมายถึง อาการกลัวสุดขีดตอส่ิงที่มากระทบจนเกิดพฤติกรรมการหนีอยางเต็มกําลัง

เชน วิ่งหนาตัง้

Page 10: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๐

หนาบูด หมายถึง อาการไมพอใจทีเ่กิดขึ้นจนปรากฏใหใบหนาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมในทางที่พบเหน็แลวไมสบายใจ บางครั้งกใ็ชเรียกลักษณะอาการเชนนีว้า หนาบึง้

หนาระรื่น หมายถึง อาการดีใจที่ไมสามารถเก็บระงับไวในความรูสึกได จนตองแสดงออกใหผูอ่ืนมีสวนรับรูดวย

รักษาหนา หมายถึง ความพยายามทีจ่ะประคับประคองสถานภาพใหคงอยูไว โดยมิใหเสื่อมเสีย

ยอมเสียหนา หมายถึง อาการตัดสินใจยอมละคานยิมที่เคยมี เพื่อกระทําการใด ๆ โดยถือเอาคานิยมเปนทุน

บากหนา หมายถึง อาการยนิยอมลดละความถือมั่นในตนเองลง เพือ่หวังผลในสิ่งที่ตนไมสามารถกระทําไดดวยตวัเอง จนตองพึ่งพาอาศัยผูอ่ืน

หนาบาก หมายถึง ลักษณะทีป่รากฏเปนแผลเปนบนใบหนาในทางเฉยีง หนาดําคร่าํเครียด หมายถึง ความตั้งอกตัง้ใจที่จะกระทาํการใด ๆ อยางใจจดใจจอหรือความ

วิตกกังวลในปญหาที่ยังไมสามารถหาทางออกไดจนปรากฏใหเห็น หนาเนื้อใจเสือ หมายถึง อาการลวงที่แสดงใหปรากฏในทางที่ไมกอใหเกิดความระแวงแต

ซอนบังความเลวรายอันตรายไวภายใน หนาสิ่วหนาขวาน หมายถึง ชวงจังหวะหรือชวงเวลาคบัขัน หนาโง หมายถึง คําประณามบุคคลผูไมเทาทันผูอ่ืน หนาซื่อ หมายถึง การวางเฉยไมแสดงอาการใด ๆ ใหปรากฏเปนที่สังเกตได หนามา หมายถึง กลุมตัวแทนที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อกระทาํการใด ๆ อันนํามาซึ่งการชักชวน

ใหนาเชื่อถือ หนาตัวเมีย หมายถึง การประณามผูที่ไมมีจิตใจในการตอสู หนาหมอ หมายถึง การเปรียบเทียบผูที่มีจติใจใฝแตเร่ืองอิสตรี หนาหมา หมายถึง การเปรียบเทียบผูที่มีจติใจหรือพฤตกิรรมที่ต่ําทรามดุจสัตวเดรัจฉาน หนาผี หมายถึง อัปลักษณดุจมนษุยส้ินชวีิตแลว หนาสนตนี หมายถึง การหยามเหยยีดบุคคลผูที่ไรคุณคาในความเปนมนุษย โดยใหหนา

เทียบเทากับสิง่ที่อยูเบื้องต่ําสุดของรางกาย ฯลฯ แมจะมกีารกลาวถึงหนาในลกัษณะตาง ๆ อยางมากมาย ดังตัวอยางที่ยกมา มนุษยกย็ังไมมี

ความพึงพอในในหนาที่เปนอยูตามสภาวะตาง ๆ และพยายามสรางหนาตามความตองการขึ้นใหมดวยเทคนิควิธีการตาง ๆ นานา นับตั้งแตการทําหนาทําตาใหผิดแปลกไปจากปกติ การวาดทาระบาย

Page 11: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๑

ดวยรงควัตถุ ตลอดจนการปดบังดวยวตัถุที่สรางขึ้นเปนรูปหนาที่เรียกกันในชวงระยะเวลาตอมาวา “หนากาก” (mask) หรือแมแตกระทั่งศลัยกรรมใบหนาเปนการถาวร

หนากาก นบัไดวาเปนประดิษฐกรรมทีม่นุษยสรางขึน้เพื่อสนองตอบตอความตองการอันมี

สมมติฐานที่ตองการเบี่ยงเบนภาพลักษณใหตางไปจากหนาเดิม อาจเพื่อจุดหมายใด ๆ ก็ตามซึ่งในขณะเดียวกนั ในการอยูรวมกันเปนสังคมของมนุษยปจจุบัน การปดบังสกัดกัน้การแสดงออกความจริงใจของตนเอง โดยเสแสรงคลอยตามเงื่อนไขกติกาสังคม หรือผูอ่ืน แมไมมวีัตถุใดปดบังใบหนาแตการปกปดความรูสึกจริงของตน ยังถือไดวาเปนการสวมหนากากเขาหากนั เราทุกคนลวนสวม หนากากเขาหากัน โดยอุปมาอุปมัยเพื่อสรางภาพพจนใหสังคม – จริงหรือไม

หนากากเปนปรากฏการณของสังคมหรือ ของมนุษย การที่มนุษยมีขดีจาํกัดแหงสภาวะวยัจึงทําใหกลับกลายเปนสัตวสังคมที่ตองสวมหนากากในบทบาทตาง ๆ เพื่อความอยูรอด ขณะที่ตองการเปนตัวของตวัเอง ก็ตองอยูภายใตกฎเกณฑของสังคม การอดกลั้นไมสามารถกระทําตามที่ตนตองการ ไมตางอะไรไปจากการสวมหนากากแหงความอดกลั้น หนากากที่สวมจึงอาจมีถึง ๒ หนาที่ คือ หลอกผูอ่ืนเปนจดุหมายหลัก และหลอกตนเองเปนจุดหมายรอง การหลอกผูอ่ืนก็เพื่อใหเกิดการยอมรับ หลงผิดบิดเบือนปดบังความจริง แตการหลอกตนเองก็เพยีงเพื่อความสบายใจทั้งที่รูความจริง

เรามักภูมใิจในหนากากมากกวาความจรงิ เรามักจะจมอยูในจินตนาการที่สามารถสนองตอบอยางไรขีดจํากัดมากกวาเผชิญหนากับความเปนจริง เรานิยมชมการแสดงมากกวาส่ิงที่พบเห็นจริงในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้เพราะการแสดงคือหนากากที่ชวยชดเชยความจริง ความหวังทีต่นเองไมสามารถปฏิเสธไดจากสังคม

ใบหนาของมนุษยเรา ความจริงก็เปนหนากาก หนากากที่สามารถเปลี่ยนแปรไปกับส่ิงแวดลอมและอารมณที่เกดิขึ้น หากผูใดสามารถสังเกตความลับทีแ่ฝงอยูในใจของผูอ่ืนจากสีหนาได ก็จะพบวาไมมีหนากากใด ๆ ที่จะประณีตพิศดารเทยีบเทาใบหนาของมนุษยได โดยเฉพาะอยางยิ่งใบหนาของผูมีศักดิ์ศรีสูงสง หรือตําแหนงฐานะสูงสง หนากากที่สวมอยูก็มกัยิ่งไมมีผูคนสามารถมองทะลุเขาไปไดงายเฉกเชน มองเห็นจากใบหนาของคนธรรมดา

ดังนั้นหนากากในสังคมปจจุบัน จึงมใิชนับแตเพยีงเครื่องบังใบหนาเทานั้น การเสแสรงปดบังความจรงิใจของตน ตลอดจนการแตงเดิมเพิ่มวัตถุใด ๆ ลงบนใบหนา ก็ถูกประมวลนับวาเปนหนากากไดทั้งสิ้น และผลแหงการตอเตมิเสริมองคาพยบ แมจะเปนเพียงเครื่องประดับหรือสีสันหนาอัศจรรย ดุจดังผูคนทีแ่สดงลิเกพอพอกหนาขาวก็อาจเปนพระเอกไดทันท ี แตคร้ันแตงแตมไฝเม็ดใหญเหนือริมฝปากหรือใตคาง ก็จะกลับกลายเปนผูรายที่แสดงบทโกงไดในพริบตา

หนากากใชจะเปนเพยีงศิลปวัตถุที่ถูกสรรสรางขึ้นดวยแรงปรารถนาของมนุษยคนใดคนหนึ่งกห็าไม ทั้งนี้เพราะในชุมชนของมนุษยตั้งแตอดตีจนถึงปจจุบนัและทีแ่พรกระจายอยูทั่วทกุมุมโลกตางไดคิดสรางสิ่งนี้ขึ้น ดวยจุดมุงหมายและรูปลักษณที่ตางกนัออกไปตามสภาพเงื่อนไขของ

Page 12: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๒

จิตใจและสิ่งแวดลอมที่ตางกนั แตที่สําคัญ คําถามที่ตองการหาคําตอบจนกอใหเกดิบทความนี้ขึน้ก็คือ

เมื่อมนุษยเกิดมา ลวนตางมหีนาตาของตนเองอยูแลว ทําไมจะตองสรางหนากากขึ้นมาปดบังใบหนาตนเอง ใชเปนเพราะลวนตางไมพึงพอใจในหนาตนหรือไม ใชเพราะตางตองการปดบังความเปนจริงของตนหรือไม ใชเพราะตางตองการลวงทั้งตนเองและผูอ่ืนใหคลอยตามหนากากที่สรางขึ้นหรือไม หรือยังมีคําตอบที่ยังไมสามารถคนพบไดในขณะนี้ เนือ่งเพาะเหตุผลในการสรางหนากากล

วนผันแปรไปไดตามเงื่อนไขของจิตมนุษยในแตละชวงกาลเวลา

พฤติกรรมการสรางหนากากของมนษุย เหตุผลที่จะเปนคําตอบวาอะไรคือแรงจูงใจใหมนุษยสรางหนากากขึ้นนั้น มีอยูมากมายซึ่ง

เรายอมไมสามารถกลาวไดวา พฤติกรรมการสรางหนากากของมนุษยนั้น เกิดจากสาเหตุใดสาเหตุหนึ่ง เนื่องจากวาเพียงเพราะสาเหตุเดียวคงไมสามารถทําใหมนุษยทุกชาติทุกภาษาที่อยูกันคนละมุมโลก ตางก็มีพฤติกรรมการสรางหนากากขึ้นเหมือน ๆ กัน

การสรางหนากากอาจนับไดวาเปนธรรมชาติของมนุษย เนื่องจากมีมนุษยทกุหนทกุแหงทุกยุคทุกสมัยไดสรางหนากากขึ้นใชเหมือน ๆ กัน โดยไมคํานึงถึงความแตกตางในเชื้อชาติ ภาษาขนบธรรมเนียมประเพณ ี อาชีพและตําแหนงฐานะในสังคม ธรรมชาติของมนุษยหรือส่ิงที่มนุษยมีอยูเหมือนกัน อันเปนปจจัยสําคัญใหเกดิการสรางหนากากนัน้ อาจหมายถึงความตองการจําเปน (needs)

ความตองการจําเปนของมนษุยมีลักษณะเปนสัญชาตญาณ (instincts) และเปนมูลเหตุจูงใจสําคัญของพฤติกรรมการสรางหนากากของมนุษย ซ่ึงอาจแบงออกไดเปน ๓ ประเภท คือ ความตองการจําเปนทางชีววิทยา ความตองการจําเปนทางสังคมวิทยา และความตองการจําเปนทางจิตวิทยา

๑. ความตองการจําเปนทางชีววิทยา (biological needs) มนุษยในฐานะเปนอินทรยีหรือส่ิงมีชีวิตอยางหนึ่ง ยอมเหมือนกับสิ่งมีชีวิตอ่ืน ๆ ในโลก

ในแงตองการมีชีวิตอยูรอดสําหรับตนเองและเผาพันธุของตน นอกจากนี้สภาพรางกายและการทํางานหรือสรีรวิทยาของอวยัวะตาง ๆ ของมนุษยยังกอใหเกิดความกดดัน และความตองการตาง ๆ ซ่ึงจําเปนตองไดรับการตอบสนอง เชน ความตองการหลีกเลี่ยงภยันตราย ความตองการแสดงอารมณตาง ๆ ออกมา เนื่องจากมีส่ิงตาง ๆ จากภายนอกมากระทบตบับุคคล และทําใหเกิดพลังผันผวนในรางกาย และกดดนัใหบุคคลแสดงอารมณออกมา เชน ความกลัว ความโกรธ และความรกั

Page 13: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๓

ซ่ึงตามธรรมชาตินั้น มนษุยจะพยายามรกัษาและควบคุมสภาวะของรางกายใหอยูในสภาพปกติอยูเสมอ เมื่อรางกายถกูรบกวนดวยส่ิงหรือสาเหตุใดก็ตาม ก็จะเกดิมีแรงจูงใจใหทํากิจกรรมเพื่อขจัดหรือลดการรบกวนเหลานั้น ใหเขาสูสภาวะปกติ โดยการหลีกเลี่ยงหรือสรางสิ่งปดปองขึ้นวาเปนพฤตกิรรมทางปญญา ที่ทําใหมนษุยตางไปจากสัตวโลกประเภทอื่น และไดส่ังสอนสืบทอดอารยธรรมทางปญญาแกมนษุยรุนตอ ๆ มา

ดังจะเห็นไดจากการดํารงชพีในยุคบรรพกาลที่มีความเปนอยูแบบอนารยะ การตอสูกับศัตรูไมวาจะเปนสตัวอ่ืน ๆ หรือมนุษยดวยตนเอง ไมวาจะเปนการไลลาหรือถูกลาก็ตาม แตเดิมอาจจะอาศัยภูมิประเทศหรือชัยภูมเิปนที่กําบัง เพื่อใหรางกายรอดพนจากการพบเห็นหรืออันตรายแตคร้ันการตอสูเปลี่ยนมาเปนสภาพการประจนับาน ดวยสติปญญาและการสรางสรรค จึงเริ่มมีการสรางอาวุธตามมาเพื่อปองกันความเสียหายแกตัว ในรูปลักษณะที่เรียกกนัวาโลรูปแบบตาง ๆ

โลในยุคเริ่มสรางยอมตองมีขนาดที่สามารถปดบัง ปองกันรางกายไดมากสวนนัน่ คือ มีความกวางยาวหรือใหญโต ตอมาก็เร่ิมถูกดัดแปลงแกไขใหมีขนาดพอเหมาะ เพื่อความคลองตัวในการเคลื่อนไหวจนกลับกลายเปนการออกแบบสรางสิ่งปองกันเฉพาะสวนสําคัญ ๆ ของรางกายเพื่อสะดวกในการเคลื่อนไหวรางกาย กระชับและมีประสิทธิภาพในการปองกันมากกวาโล นั่นคือ หมวก หนากาก เส้ือ เกราะ ตลอดจนชดุเกราะและสิ่งอื่น ๆ

จากพฤติกรรมการตอสู เปนเพียงมูลเหตหุนึ่งที่ทําใหมนุษยเกิดการสรางสรรคส่ิงประดิษฐที่เรียกวาหนากากขึ้น เพื่อปองกันใบหนาใหรอดพนจากการรบกวนดวยอาวุธของศัตรู นอกจากศตัรูที่เปนมนุษยดวยกันแลวสภาพภูมิอากาศกถื็อไดวาเปนสิง่รบกวน จนอาจกอใหเกิดอันตรายแกรางกายหรือใบหนาได ผาโพก ผาคลุม หมวก แวนตา และหนากากกันลม กันฝุนผง ทราย แดด หิมะ ก็ถูกสรางขึ้นจากน้ํามือของมนุษยในแตละภูมิประเทศ

คร้ันตอมาการดําเนินชวีิตของมนุษยในลักษณะสัตวสังคม เร่ิมมีรูปแบบซับซอนขึ้น การปองกันอุบัติภยัจากการเอารางกายเขาไปประกอบการ ทําใหเกิดการสรางหนากากในรูปลักษณเฉพาะที่ตางกนัออกไปอยางมากมาย เชน หมวกตาขายของคนเลี้ยงผ้ึง ถุงคลุมศีรษะของนักผจญภัยเพลิง หนากากกันแก็สพิษ หมวกกนัน็อค แวนตาหรอืหนากากของมนุษยกบ หนากากออกซิเจนของคนไข ฯลฯ ตาง ๆ เหลานี้เปนเพียงแรงจูงใจใหเกิดพฤติกรรมการสรางหนากากขึ้น โดยถือรวมอยูในกลุมมูลเหตุทางกายภาค ที่มนษุยพยายามจะรักษาและควบคุมสภาวะของใบหนา ใหพนจากการรบกวน หรือควบคมุสภาวะของใบหนาใหอยูในสภาพปกติอยูเสมอนั่นเอง

๒. ความตองการจําเปนทางสังคมวิทยา (sociological needs) มนุษยเปนสัตวสังคม มีความจําเปนที่จะตองมีชีวิตอยูรวมกับผูอ่ืน ในสังคมมนุษยจะตองมี

การติดตอสังสรรคคบหาสมาคมกับผูอ่ืน และมีความจําเปนที่จะตองพึ่งพาอาศัยผูอ่ืนอยูตลอดเวลาทั้งในดานวัตถุและจิตใจ ความตองการจําเปนนี้ ผลักดันใหมนุษยอยูรวมกันเปนหมูเปนเหลา มีการคบหาสมาคมกับผูอ่ืน มีความสนใจในเรื่องกันและกัน มีขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของ

Page 14: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๔

กลุม ของชนเผา ของชาติ มีการถายทอดอารยธรรมทางปญญาจากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่งหรือเปนแบบอยางใหสมาชิกในแตละสังคมเกิดการเรียนรู เกิดการสั่งสมทางสังคมซึ่งเปนกระบวนการ การเรียนรูวิธีสรางหนากากอีกแนวหนึ่ง ที่เกิดกับทุกคนโดยอาจตั้งใจหรือไมตั้งใจก็ตาม

นับเปนกระบวนการสั่งสมทางสังคม (socialization) ที่สะทอนใหเห็นถึงการแสดงออกทางรูปแบบ อยางเกี่ยวของผูกพัน (identification) และการรับเอาเขามาไวภายใน (internalization) ซ่ึงเปนแนวปฏิบตัิโดยมีจดุมุงหมาย เพื่อสนองตอบตอความตองการทางสังคม ที่คลอยตามขนบธรรมเนียมประเพณ ี และวัฒนธรรมของชุมชนของตน หรือสนองตอบตอความตองการของชุมชนบางอยางที่ตางกันออกไป เชน เพื่อใชในพิธีกรรม เพื่อสรางความบันเทงิใหแกสมาชิกในสังคม เปนตน

การเรียนรูเกี่ยวกับหนากากทางสังคม อาจเกิดการสังเกตพฤติกรรมการสรางของผูอ่ืน ในลักษณะพฤติกรรมการเลียนแบบ (IMITATION) โดยแสดงออกอยางเกี่ยวของผูกพันซึ่งอาจเรียกวาเปนการทําแบบอยาง (MODELING) ในการทําแบบอยางผูสังเกตจะพอกพนูเอาเหตกุารณที่เปนแบบอยาง อยางที่เปนสัญลักษณภายใตกระบวนการเอาใจใส กระบวนการเกบ็จดจํา โดยมีพฤติกรรมคอนไปทางการเลียนแบบดวยการรวมเอาลักษณะเขาไว

๓. ความตองการจําเปนทางจิตวิทยา (psychological needs) มนุษยทั่วไปมีสภาพทางจิตใจเหมือนกันและจิตของมนุษยก็มีกระบวนการทํางานโดยอาศัย

หลักการตาง ๆ อยางเดียวกัน ไมวาจะเปนการเรียนรู การจูงใจ การแสดงความรูสึก และอื่น ๆ ความตองการจําเปนทางจิตวิทยาจึงเปนอีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดพฤติกรรม การสรางหนากากขึ้นเหมือน กันทั่วทุกมุมโลก และท่ีถือไดวาเปนความตองการจําเปนขั้นมูลฐาน ที่นําไปสูพฤติกรรมการสรางหนากาก ไดแก

๓.๑ ความเชือ่ (belief) หมายถึง การที่บุคคลคิดวา การกระทําบางอยางหรือปรากฎการณบางอยาง หรือส่ิงของบางอยาง หรือคุณสมบัติของสิ่งของหรือบุคคลบางอยาง มีอยูจริงหรือเกิดขึน้จริง กลาวคือการที่บุคคลหนึ่งคิดถึงอะไรก็ได ในแงของขอเท็จจริงวาเปนเชนนั้น ซ่ึงความคิดนัน้อาจไมถูกตองกับความเปนจรงิก็ได แตถาเขาคิดวาความเปนจริงเปนเชนนัน้แลวนั่นก็คือ ความเชื่อ

ความเชื่อนี้อาจไดมาจากการไดเห็น การไดยิน การสัมผัส การไดรับคําบอกเลา และอ่ืน ๆ ตลอดจนคิดขึ้นเอง ความเชื่ออาจเปนอาการเห็นคลอยตามสิ่งที่ตนเองคิด ส่ิงที่บุคคลอื่นหรือสังคมถือวามีจริงดังเชน ความเชื่อวาธรรมชาติมีความศักดิ์สิทธิ์ ความเชื่ออํานาจลึกลับ ความเชื่อมยาศาสตร ความเชื่อในคุณลักษณะพิเศษของสัตว ความเชื่อเกี่ยวกับธาตุประจาํโลกความเชือ่ในขอหามและพธีิชําระใหบริสุทธิ์ การบูชาบรรพบุรุษ ความเชื่อในเครื่องหมายเครื่องราง ความเชื่อมีชีวิตในทกุสิ่ง และความเชื่อเกี่ยวกับตางพิภพ เปนตน ความเชื่อเหลานี้ลวนเปนแรงจูงใจให

Page 15: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๕

พฤติกรรมตอบสนองในอากัปกริยาลบักษณะตาง ๆ ตลอดรวมทั้งเกิดการสรางหนากากขึ้นเพื่อใชสนองตอบตอความเชื่อของบุคคลในสังคม

๓.๒ ความปรารถนาหรือความตองการ (needs) ความปรารถนาเปนความตองการทางจิต ความตองการทางจิตสามารถผลักดันพฤติกรรมมนุษย การสรางหนากากเปนพฤติกรรมมนุษยสวนหนึ่งของแรงผลักดัน นัน่คือความปรารถนาหรือความตองการนั่นเอง

ความตองการนั้นอาจไดแก ความอยากในสิ่งที่นาใครปรารถนา นาพอในในรูป รส กล่ิน เสียงและการสัมผัส ตลอดจนความอยากจะเปนนัน่ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งไดแกความอยากไมเปน อันไดแกอยากพนจากสภาวะที่ไมปรารถนา ซ่ึงความอยากทั้งหลายทั้งปวงทําใหเกิดเจตจํานงในการกระทําพฤติกรรมไปสูความปรารถนาการที่คนเรามักจะจมอยูในจิตนาการมากกวาอยูในโลกแหงความจริง ก็เพราะในจินตนาการสามารถตอบตอความปรารถนาในความอยากที่จะเปนไดอยางไรขีดจํากัด และสามารถทําใหหลุดพนจากโลกแหงความเปนจริงที่ไมปรารถนาได ดังนั้นบุคคลมกันิยมชมการแสดงมากกวาสิ่งที่พบเห็นจริงในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้เพราะการแสดงคือหนากากที่ชวยชดเชยความปรารถนาทางจิต ในสิ่งที่ตนไมสามารถหลีกเลี่ยงได หรือหลุดพนไดจากโลกแหงคามเปนจริงในสังคม แลหนากากก็ถูกสรางขึ้นเพื่อใหโลกแหงจินตนาการนั้น ปรากฎตัวตนขึ้นในความเปนจริงตามความตองการ

ลักษณะของหนากาก

มนุษยทุกคนที่เกิดมาแลวมีใบหนาจริงเปนของตนเองเพียงหนาเดียว ซ่ึงมีองคพยบเปนลักษณะเฉพาะแสดงถึงความเปนบุคคลนั้น แตเมื่อหนาจริงถูกกระทําใหเปล่ียนแปลกไปจากเดิมไมวาจะเปนวิธีการใด ๆ ก็ตาม ความผิดแผกไปจากธรรมชาตินี้จัดนับไดวาเปนการใสหนากาก ซ่ึงหนากากจากการจัดนับดวยวิธีการนี้ อาจกําหนดแบงออกเปนลําดับได ดังนี้

๑. ลักษณะการตีหนาใหผดิธรรมชาติ กค็ือการทําหนาใหมีลักษณะตางไปจากปกตหิรือตางไปจากใจจริง เชน การตหีนายกัษคือการทําหนาดุ การตีหนาเศรา การตีหนาเลียนแบบอาการที่แสดงอารมณตาง ๆ และการบังคับองคพยบสวน-ตาง ๆ ของใบหนาใหมีลักษณะบดิเบี้ยวตางไปจากที่เปนอยูเดิม เปนตน ซ่ึงการตีหนาเชนนี้ถือเปนการใสหนากากลักษณะหนึ่งซ่ึงไมตองอาศัยเครื่องบังใบหนาใด ก็สามารถโนมนาวใหผูพบเห็นรูสึกคลอยตามไดดังการตีหนาของนกัแสดงละครที่ทําใหผูชมเกดิความรูสึกคลอยตามบทบาที่แสดง สวนการตีหนาในชีวติจริงถือเปนการเสแสรงปดบังความรูสึก ใหผูพบเห็นเขาใจไปในทางทีห่างไกลจากความจริงใจ

๒. ลักษณะการแตงแตมดวยสีสัน คือ การอําพรางปกปดรูปลักษณจริงขององคาพยบสวนหนา และตกแตงใหเกิดรูปลักษณใหมบนใบหนา เพือ่กระตุนเราใหผูพบเห็นเขาใจวาเปนตามที่รับรู ซ่ึงเปนการซอนเรนปกปดความจริงอีกลักษณะหนึ่ง และอาจนับไดวาเปนกรรมวิธีการสรางหนากากขั้นพื้นฐานทีไ่ปสูการพัฒนาเปนกรรมวิธีการสรางสิ่งเครื่องบังหนาในลําดับตอมา การแตงแตมดวย

Page 16: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๖

สีสันในลักษณะแบบอนารยะจะเห็นไดจาก ชนเผาพืน้เมืองเดิมในแถบอาฟริกา แถบออสเตรเลีย ตลอดจนเผาอินเดียแดง เปนตน สวนการแตงแตมสีสันที่พัฒนาและมีความสลับซับซอน เชน การแตงหนาของพวกงิว้ ละคร และลิเก เปนตน สวนการแตงหนาทาปากของคนยคุปจจุบันกเ็ปนการเสริมเติมแตงและปกปดอําพรางหนาจริงลักษณะหนึ่งเชนกัน

๓. ลักษณะเครื่องบังใบหนาบางสวน เปนรูปลักษณะของหนากากที่สรางขึ้นเพื่อปกปด อําพรางองคายสวนใดสวนหนึ่ง หรือหลายสวนของใบหนา เชน ทีค่าดหัว ผาโพกศีรษะ ที่คาดตา แวนตา ที่คาดหรือครอบจมูกและปาก ผาปดจมูกและปาก หนวดเคราปลอม วิกผม หนากากครึ่งหนา ฯลฯ หนากากลักษณะนี้ปดบางสวนและเผยใหเห็นเคาหนาจรงิบางสวน

๔. ลักษณะเครื่องบังใบหนาทั้งหมด เปนหนากากที่สรางขึ้นดวยวัสดใุด ๆ เปนรูปแบบตาง ๆ เพื่อปดบัง องคายพยบทกุสวนใบหนาใหเห็นและรับรูโดยไมมีรูปเคาหนาจริงปรากฏอยูเลย

๕. ลักษณะเครื่องปดครอบหนาและศีรษะ เปนหนากากที่บังอําพรางองคาพยบโดยรวมของผูสวมใส ตั้งแตศีรษะลงมาจรดคาง ซ่ึงไดแก หวัโขน เปนตน

การใสหนากากหรือสวมหวัโขน มิใชเปนการสวมเพื่อปองกันซอนเรนใบหนาเทานั้นแตเปนการวิญญาณ สวมความลึกลับ สวมชวีิตจิตใจ ใหความเชื่อและจนิตนาการการปรากฏตัวตนขึ้นในความเปนจริงซ่ึงการแปลงหนาหรือหวันั้นอาจจะทําใหคนเปลี่ยนไปเปนคนละคนโดยสิ้นเชิง ไมวาจะเปนแคการแตงหนา ใสหนากาก หรือสวมหวัโขน ใสวิก ใสตุมหู ฯ อาจทําใหชายแกกลายเปนสาวนอยอันธพาลกลายเปนนักปราชญ นักบุญกลายเปนคนเหีย้มโหด และอื่น ๆ เปนการเปลี่ยนมิใชเฉพาะสีหนาเทานั้น แตเปนการเปลี่ยนนิสัยใจคอโดยสิ้นเชิง ถึงแมการสวมหนากากในสมัยกอนจะชวยเปลีย่นใหบคุคลกลายเปนสิ่งที่ตรงกันขามกับในชวีิตจริงก็ตาม แตดูเหมือนวาความมหัศจรรยของมัน จะไมมีความหมายกับคนในยุคปจจุบนัเลย เพราะยคุนี้ผูคนสามารถเปลี่ยนหนาใหเปนแบบใดกไ็ด โดยไมตองอาศัยหนากากอยางในสมัยกอนกันอีกแลว เพยีงแคการตีหนาในลักษณะแรกกท็ําใหสามารถปดบังซอนเรนใบหนาจริงได ตลอดจนใจจริงก็พลอยถูกซอนเรนไปอยางสนิทแนบเนียน

คุณคาของหนากาก

ส่ิงที่เราเห็นวาเราเปนอยูขณะนี้ อาจจะไมใชส่ิงที่เราสามารถเปนไดจริง ๆ หรือหมายความจริง ๆ แลวเราอาจเปนไดมากกวา สูงกวา หรือแบบอื่น ๆ

ความเขาใจตนเองสวนใหญแลว ยอมไดมาจากการที่ผูอ่ืนมองเรา เพราะไมมใีครเกิดมาสามารถมองเห็นใบหนาตนเองไดจริง ๆ และนี่ก็เปนความจําเปนอยางหนึ่งทีท่ําใหเกิดการสรางหนากากขึ้น เพื่อชักจูงใหผูอ่ืนรับรู เขาใจ และยอมรับเราวาเปนเกนิกวาทีเ่ปนเรา ดังนั้นคณุคาของหนากากจึงอาจกลาวไดวา

Page 17: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๗

หนากากกอใหเกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผูสวมใส หนากากชวยหลอมรวมความจริงเขากับความฝนได โดยสรางความเชื่อมั่นใหแกผูสวมใน

อันที่จะพดูและปฏิบัติ อยางอิสระเสรี เขมแข็งในฐานะภาพอีกลักษณะหนึ่ง ซ่ึงตางไปจากที่ตนเปนอยู

หนากากชวยใหมนุษยหลุดพนจากพฤติกรรมที่แทจริง สูสภาวะการสวมหนากากที่ไมมีรูปแบบแตจะเปนอะไรกไ็ดตามสถานการณแหงรูปลักษณของหนากากที่สวม

ดังนั้นหนากากที่เกิดขึน้ กเ็นื่องจากการที่มนุษยบางคนบางพวก มีจิตใจทีจ่ะเสาะแสวงหา (SPIRIT OF INQUIRY) พยายามศกึษาคนควา พัฒนาความคิด และทดลองในทางปฏิบัติเพื่อใหไดมาซึ่งส่ิง (หนา) ที่ดกีวา

ในเดือนกันยายนของแตละป จะมีผูที่ตองถอดหนากากและพบหนาจริงของตนเองหนึ่ง จะมีผูที่สวมหนากากเพื่อปดบังหนาจริงของตนเองอีกหนึ่งซ่ึงตางลวนมีความเขาใจในหนาของตนเองดีแตการถอดหนากากหรือสวมหนากาก จะกอใหเกดิความลําบากใจหรือความพึงพอใจประการใดนั้นอยูที่แตละคนวาจะทําใจไดมากนอยเพียงใดวาไมมีละครหรืองานเลี้ยงใดที่ไมเลิกลา ส่ิง เหตุการณ บุคคลที่ผานเขามาในชีวติแตละวัน แตละนาที แตละป ลวนอยูภายใตการปกปดเพื่อหนาในสังคม มากกวาเพื่อใจที่แทจริง

Page 18: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๘

โยธิน จี้กังวาฬ

อารยธรรมของชาวตะวันออกรวมถึงความศรัทธาของคนไทยจะใหความสําคัญกับเรื่องราว

ของศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี จนมีหลายครั้งที่เราพบวามีการนําเรื่องราวหรอืรูปแบบทางศาสนามาสรางสรรคผลงานศิลปะ และหลายครั้งที่ผลงานศิลปะเหลานั้นกลับกลายเปนความขัดแยง ในดานความเหมาะสมหรือการนําไปใชที่ไมถูกกาลเทศะ

การสรางผลงานศิลปะที่มีรูปแบบเกีย่วของกับศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี บางทมีักมีความขัดแยงกนัในมุมมองของคนแตละคนและความเขาใจที่อาจจะไมตรงกันของผูสรางสรรคผลงานกับผูชมผลงานในหลายๆกรณี ตัวอยางเชน

การที่ศิลปนไทยนําภาพวาดรูปผูหญิงเปลือยมาเขียนคูกบัภาพหวัโขนของไทย มีการตําหนิถึงความไมเหมาะสมในประเดน็ที่ลบหลูศิลปะชั้นสูงของไทย และตัวศิลปนผูสรางผลงานก็เปนคนไทยดวย ไมควรทาํอยางยิ่งผลงานชุดนี้จึงไมไดรับการแพรหลายใหสาธารณชนไดเห็นกนัมากนัก

จัดเดนิแฟชัน่โชวชุดวายน้ําและชุดออกแนววาบหววิโดยมีฉากหลังสรางเปนปฏิมากรรมพระพุทธรูป มีการวิจารณถึงความไมเหมาะสมกันระหวางเนื้องานเดินแฟชัน่ กับฉากประกอบดานหลัง ถึงแมจะดูวาเปนความสวยงามที่อลังการแตไปดวยกันไมได

Page 19: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๑๙

ผาบาติกลวดลายพระพุทธรปูนําไปนุงเดินตามชายหาด วัตถุประสงคจริงๆคงตองการเขียนภาพนี้ขึน้มาเพื่อเปนงานศิลปะที่ระลึกมากกวา แตโดยประโยชนใชสอยหลักของผาบาติกจึงมีผูนําไปใชนุงเดินเลน นบัวาเปนการออกแบบลวดลายที่ไมตรงกับวัตถุประสงคการใชงานของสิ่งนั้นๆ

ชุดวายน้ําสตรีแบบเต็มตวัออกแบบลวดลายเปนรูปเจาแมกวนอิม กรณีนี้คงตางจากการเขียนผาบาติกเปนภาพพระพุทธรูป เพราะรูปลักษณของสิ่งของดูชัดเจนวาเปนชุดวายน้ํา ไมสมควรที่จะใชลวดลายที่คนเคารพศรัทธาไปปรากฏอยูบนสิ่งนั้นอยูแลว

โปสเตอรโฆษณาภาพยนตรของตางประเทศ เปนภาพคนนั่งอยูบนเศยีรพระพุทธรปู เปนการกระทาํของชาวตางชาติ จะเปนการไมรู ไมตัง้ใจ หรือดวูาเปนศิลปะกแ็ลวแต แตเมื่อภาพปรากฏออกมาแลวไมเปนทีย่อมรับ ทําใหเกดิความรูสึกตอตานของคน

การนําเศียรพระไปเปนวัตถุประดับตกแตงในบานเรือนหรือสํานักงาน มองในดานของการลบหลูศาสนาก็เปนได หรือผูที่ทําเชนนั้นอาจไมเขาใจวาส่ิงนัน้คอือะไร วัตถุประสงคหลักของการสรางขึ้นมาเพื่ออะไร เหมือนกับกรณีที่คร้ังหนึ่ง เดวิด เบคแคม นักฟุตบอลชื่อดังเคยมาเมืองไทยแลวชอบใจศาลพระภูมิของเมืองไทย ส่ังซื้อกลับประเทศองักฤษไปหลายศาล ซ่ึงเราไมทราบไดวาเขาซื้อเอากลับไปทําอะไร และปานนี้ศาลพระภูมิของเมืองไทยจะไปตั้งอยูในสถานภาพใดที่ประเทศอังกฤษ

เครื่องหมายการคาผลิตภัณฑรองเทาของตางชาติ ที่มีรูปแบบลักษณะคลายกับองคพระพุทธรูปแตไปใชติดทีพ่ืน้รองเทา ทําใหเกิดการตอตานและหามนํารองเทายีห่อนี้เขามาจําหนายในเมืองพุทธ และใหแกไขรูปแบบใหมดวย

ส่ิงตางๆเหลานี้เปนกรณีตัวอยางบางสวนเทานั้นที่เกดิขึน้จริงในสังคมปจจุบันนอกจากนี้ยังม ี

ยังมีการนําศิลปะแบบตะวนัออกและแบบตะวนัตกมาประยุกตใชผสมผสานกัน อยางการนํารูปแบบของเสาโรมันแตเดิมจัดเปนสถาปตยกรรมของการสรางวิหาร แตคนไทยนํามาออกแบบประกอบเปนสถาปตยกรรมของการสรางบานพักอาศยั ที่ดูเหมือนมีความหรูหราแบบตะวนัตกในมุมมองที่ตางกันชาวตะวันตกนําเศยีรพระพุทธรูปซึ่งเปนปฏิมากรรมที่มีความงดงามแบบตะวนัออก และเปนสิ่งที่ศรัทธาของชนชาวตะวนัออก ชาวตางชาตนิําไปใชเปนสิ่งประดับตกแตงบานเรือน เชน

Page 20: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๐

นําไปทําเปนทีจ่ับราวบันได นําไปทําหวัเสาตกแตงสวน ฯลฯ ซ่ึงเปนมุมมองที่แตกตางกันโดยส้ินเชิง และเปนการนําไปใชผิดวัตถุประสงคของสิ่งเหลานั้น การจัดประกวดนางงามจกัรวาลในประเทศไทยประจําปพุทธศักราช 2548 มีขอถกเถียงกนัในกรณีที่สาวงามจากประเทศตางๆสวมชุดวายน้ําโชวเรือนรางบนเรือยอรชลองไปตามแมน้ําเจาพระยาเพื่อโชวตัวและวตัถุประสงคหลักตองการประชาสัมพันธประเทศไทยใหทัว่โลกไดรูจกัและเห็นมุมมองที่งดงามของเมืองไทยดวย แตชางภาพไดถายภาพนางงามในชุดวายน้ําสุดเซ็กซี่ โดยมีพระปรางควัดอรุณราชวรารามเปนฉากหลงัแสดงความเปนเมืองไทย เมืองพุทธอยางชัดเจน ซ่ึงเปนขอถกเถียงของหลายคนวาเปนภาพทีไ่มเหมาะสม ถึงแมจะมีความสวยทั้งนางงาม และมีความงดงามของสถาปตยกรรมวดัอรุณราชวราราม แตเมื่อนํามารวมเปนองคประกอบเดยีวกันทําใหภาพมีความขัดแยงกนัทันที ประเด็นที่รายแรงถึงขั้นบางคนตั้งมุมมองวาเปนการลบหลูพุทธศาสนาดวยซํ้าไป และเมื่อถึงวันประกวดนางงามจักรวาลบนเวทีที่เมืองไทยที่เหลานางงามทุกคนตองใสชุดวายน้าํ

เดินโชวเรือนรางบนเวทีสูสายตาของทั่วโลก ฉากหลังไดออกแบบไวเปนภาพพระบรมมหาราชวัง และวดัอรุณราชวรารามอีกแลวเพราะถือเปนเอกลักษณทีแ่สดงความเปนเมอืงไทยอยางชดัเจน ทีมงานฝายฉากไดแกปญหาจากกรณีขอพพิากษที่ผานมา ดวยการออกแบบโดยนํารมบอสรางของชาวเชียงใหม มาบดบังฉากภาพวัดอรุณฯพรอมกบัหร่ีไฟดานหลังเวทีใหมดืลงมองไมเห็นภาพพระบรมมหาราชวังและภาพวัด ก็ทําใหการโชวชุดวายน้ําผานพนไปไดดวยดีพนขอครหาจากการวิพากษวิจารณ

ส่ิงตาง ๆ เหลานี้จะเห็นวาบางทีความงดงามที่เรามองวาสวยงามในแงของงานศิลปะ บางสถานการณหรือในบางองคประกอบที่นําความงามหลายๆดานมารวมกัน กลับกลายเปนความขัดแยงกันทั้งในดานศาสนาและวัฒนธรรมประเพณไีด ดังนั้นการใชศิลปะเขามาเกีย่วของกับเรื่องของศาสนาและวัฒนธรรมประเพณี จึงเปนสิ่งที่ตองใชอยางระมัดระวังและควรมีวจิารณญาณในการสรางสรรคผลงานอยางรอบคอบที่สุด

ท่ีมาของภาพ หนังสือพิมพคม-ชัด-ลึก

ฉบับวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๔๘ (หนา ๒๘)

Page 21: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๑

ไขกี ้

ประยูร จันวงษา

“กร๊ิง” “กร๊ิง” “กร๊ิง” “ไขกี้ มาเลี้ยว ไขกี้ มาเลี้ยว

ไขกี้ มาเลี้ยว…” กร๊ิง กริ๊ง กร๊ิง !!!”

ทันทีที่ขาพเจาไดยินเสียง ความไมรู ความสงสัยไดเกิดขึ้นกับขาพเจานั่นเปนเหตุผลที่ทําใหขาพเจาละความสนใจจากงานที่กําลังกระทําอยูหันไปมองยังตนเสียงที่ไดยิน ภาพที่ปรากฏเบื้องหนาของขาพเจา คือ ภาพรถซาเลงเกา ๆ คันหนึ่งกําลังเคลื่อนไหวเขามาอยางชาๆ มีชายชราชาวจีนคนหนึ่งเปนผูปนอยูดานหลัง อาแปะ คือ ความรูสึกแรกที่เกิดขึ้นภายในใจของขาพเจาในการที่จะเรียกชายชราชาวจีนผูนี้ แกมาพรอมกับเสื้อกลามสีขาวเกา ๆ ใสกางเกงขากวยสีดําและไมไดสวมใสรองเทาเลย ทาทางที่แกคอย ๆ ยกเทาเหยียบลงบนที่พักเทาสําหรับปนใหพาหนะคูกายของแกเคลื่อนไหวไปขางหนา ดูเชื่องชาและออนแรง คราใดที่ตองเหยียบเทากดลงไปยังที่พักเทา รายกายที่ผายผอมก็จะเอียงไปในทิศทางนั้น เหตุผลคงเพียงเพื่อใหน้ําหนักตัวชวยกดลงไปยังเทาขางนั้น ๆ เพราะหากจะอาศัยพละกําลังจากขาในการปนแตเพียงอยางเดียว คงเกินกําลังที่ชายแกคนหนึ่งจะทําไหว รางกายที่ผอมแหงผสมผสานกับผิวหนังที่หยาบกรานเปนส่ิงที่บงบอกถึงประสบการณ ในการตอสูชีวิตอยางหนักหนาของชายชราผูนี้ไดเปนอยางดี ซ่ึงคงไมแตกตางจากซาเลงคูกายคันเกาของแกที่นาจะสันนิษฐานไดวาเปนคูทุกขคูยากที่รวมฟนผาอุปสรรคขวากหนามตางๆนาๆมาดวยกัน สีเคลือบเหล็กตางๆที่คร้ังหนึ่งคงเปนสีที่สดใส แตหาไมไดอีกแลวในปจจุบัน มีเพียงความเกาคร่ําคราจากคราบไคลของสนิมอยูตามซอกมุมรอยตอตางๆทั่วทั้งคัน การเชื่อมตอกันของโครงสรางตางๆ อาจเคยแนนหนา หากแตในเวลานี้กลับมีเสียงดังออดแอด ๆ ตลอดเวลาที่มีการเคลื่อนไหว ขาพเจากวาดสายตาสํารวจซาเลงคันนั้นจึงไดพบกับถังแสตนเลสสี่เหล่ียมใบหนึ่งตั้งอยู จึงตั้งขอสันนิษฐานวาขางในนาจะบรรจุอะไรบางอยาง ที่นาจะใชรับประทานได เมื่อซาเลงคันนั้นขยับเขามาใกล ขาพเจาจึงเรียกใหหยุด พรอมทั้งคําถามที่ยังคางคาอยูในใจของขาพเจา

“อาแปะ ขายอะไร” ยังไมทันที่อาแปะจะเอื้อมมือไปดึงเบรคมือที่อยูใตเบาะนัง่ของแก คําถามก็หลุดออกไปจากปากของขาพเจา

Page 22: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๒

“ขายอายติม ลองกิงลูซิ อารอยนา” ภาษาไทยสําเนียงจนียืนยันความเปนอาแปะตามความรูสึกของขาพเจาไดเปนอยางด ี อาแปะตอบคําถามของขาพเจาและบรรยายสรรพคุณของสินคาที่แกนํามา พรอมกับเบี่ยงตวัลงจากรถเดนิออมมาทางดานขางเปดฝาถังใหขาพเจามองเห็นสินคาทีอ่ยูภายใน

“ขายยังงัยแปะ” ขาพเจาถามถึงราคา พรอมทั้งกมลงมองไปยังสินคาที่อยูขางใน

“หาบากมี สิกบากม”ี เสียงอาแปะบอกราคาในขณะที่ขาพเจากําลังมองดูรายละเอยีดของสินคา ส่ิงที่ขาพเจาเหน็ในถังใบนั้น คือ ไอศกรีมแบบกอน วางทับซอนกันอยูหลายกอนหลายขนาดและหลายส ี

“ทําไมมีหลายสีจังเลยแปะ” ความสงสัยทําใหขาพเจายังไมหยุดคําถาม

“สีเขาเปงอายติมกาทิ สีลําลําเปงกาแฟ สีเขียวเปงใบเตย” อาแปะอธิบายสรรพคุณตามลักษณะสีของไอศกรีมที่มีอยูภายในถัง “งั้นเอาสีขาวสิบบาท” ขาพเจาบอกอาแปะ พรอมทั้งถอยออกมาเพือ่ใหอาแปะไดปฏิบัติหนาที่ของแก

ขาพเจามองเหน็อาแปะกม ๆ เงย ๆ สักพักก็หยิบไอศกรมีกอนสีขาวขนาดกวางยาวและหนาเปนครึ่งหนึ่งของอิฐบล็อกกอนใหญโดยประมาณ มีกระดาษสีขาวขุนพันอยูโดยรอบแลวนําไปวางบนฝาถังที่หงายไวกอนหนานี้ เสร็จแลวอาแปะใชมดีตดัแบงเปน ๔ สวนเทา ๆ กนั แลวหันมาถามขาพเจาวา

“ล้ือจะเสียะมายรึสายจาน” ขาพเจามองไปที่ไอศกรีมทีอ่าแปะตัดไว “ทั้งหมดเลยรแึปะ” ขาพเจาถามเพื่อตอกย้าํความเปนสิบบาทที่ขาพเจาตองจาย “ชาย” ส้ินเสียงอาแปะ ขาพเจาก็เดินไปหลังบาน และกลับออกมาพรอมกับจานเปลาใบหนึ่ง พรอมทั้งสงใหอาแปะ

อาแปะรับจานจากขาพเจาไป พรอมทั้งนําเอาไอศกรมีที่ตัดไวจัดใสจานใหขาพเจากอนสงจานคืนอาแปะหันไปหยิบเอาถั่วลิสงคั่วในถงุโรยลงบนไอศกรีมทั้งส่ีช้ินแลวสงจานใหขาพเจา “อ๊ัวะแถมถั่วหาย” อาแปะแสดงความมีน้ําใจกับลูกคาทีซ้ื่อของจากแก

ขาพเจาเดินไปนั่งยังเกาอี้ไมที่ตั้งอยูใตตนยางใหญหนาบานของขาพเจา หางจากจุดที่อาแปะจอดซาเลงไมเกิน ๒ วา ขาพเจามองไปทางอาแปะที่กําลังงวนอยูกับการจัดเก็บวัสดุอุปกรณ และเพิ่งสังเกตวาแมจะดูออนลาโรยแรงตามวัย แตอาแปะยังดูกระฉับกระเฉงอยู ความแคลวคลองอาจลดลง

Page 23: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๓

ไปบาง แตก็ยังฉายแววแหงความแข็งแกรงในอดีตใหพอไดเห็นอยูบาง นี่คงเปนผลจากการที่อาแปะตองใชรางกายทํางานหนักมาทั้งชีวิต ขณะที่ขาพเจากําลังจับจดอยูกับอริยาบถของอาแปะนั่นเอง ขาพเจาก็ไดเห็นอาแปะใชมือปาดเหงื่อบริเวณใบหนาสองสามครั้ง กอนสายตาจะมองยอนขึ้นไปยังที่มาของแสงแดด เสมือนกับจะออนวอนอยาใหแสงแดดรอนแรงอยางนี้เลย

“แปะ กินน้ําเย็นกอนมั้ย อยาเพิ่งไปเลย แดดรอนอยางนี้ ….นั่งกอนเถอะ” ขาพเจารองบอกแปะดวยความรูสึกที่ไมใชระหวางพอคากับลูกคา แตเปนความรูสึกระหวางเด็กหนุมกับคนแก อาแปะ คงเขาใจเจตนาของขาพเจา แกเดินมานั่งที่มานั่งที่ขาพเจาหยิบยื่นให ขาพเจาเดนิหายไปหลังรานอีกครั้งหนึ่ง แลวกลับออกมาพรอมกับสงน้ําเย็นใหแปะ “ขอบจายนา” อาแปะรับน้ําไปดื่มในขณะทีข่าพเจาเองกเ็สียบไมจิ้มไปทีไ่อศกรีม แลวการกินของขาพเจาก็เริ่มตนขึ้น

ขาพเจาไดล้ิมรสจากไอศกรมีของอาแปะที่ทั้งหอม หวานและ มัน ทั้งหมดผสมกลมกลืนกับความเยน็อยางลงตัว แมไมใชนกัชิมฝปากเอกแตความกลมกลอมที่อยูภายในปากของขาพเจาในขณะนี้ ก็พอสรุปไดวานี้คือความอรอยช้ันสดุยอดของไอศครีม “แปะทําไมเรยีกไอติม” ขาพเจาชวนแปะคุยในเรื่องที่ขาพเจาเองยังสงสัย “อ๊ัวะมายรูหรอก เคยเรียกหยั่งงี้มาตางนางเลี้ยว” “แปะทําเองเหรอ” ขาพเจายงัชวนอาแปะคยุไปเรื่อยๆ แตก็ไมวายสงไอศครีมเขาปาก “ทําเองทุกอยาง” อาแปะตอบดวยทาทางภาคภูมิใจ “แปะทํามานานแลวเหรอ บอกตรง ๆ นะ อรอยด”ี ขาพเจายืนยันใหอาแปะไดรับรูถึงรสชาดของไอศครีม

“อ๊ัวะทํามาตางแตตองหนุม ๆ ที่สําคังอ๊ัวะไมหวงของ สายอารายตองสายเยอะๆ มะพราวน้ําตางก็ตองเยอะมังถึงจามังจาหอม” อาแปะอธิบายใหขาพเจาฟง “กอนโตขนาดนี้ จะไดกําไรเหรอ” ขาพเจาถามดวยความสงสัยเร่ืองตนทุนกับกําไร “มายอาวนา ถาเราทามลีมีคุงนาภาพ คนกินก็จาเยอะ คนก็จาติกจาย เราก็สบายจาย กําลายถึงจานอยแตกล็ายเยอะ ๆ …เอานา” อาแปะพดูและมองไปที่รถซาเลงคูชีพของแก ขาพเจารูสึกวาอาแปะไมไดบอกขาพเจาเพียงคนเดียวเทานัน้ อาแปะบอกกับทุกคนที่เปนลูกคาของแกเอง และคงบอกกับซาเลงของแกใหรูสึกถึงความภาคภูมิใจในสิ่งที่ไดทํารวมกัน

“บางทีบากสองบากอั๊วะก็ขายหาย ถาคงกิงเขาอยากกิง ตักอันเล็กหนอยแตก็ลายขาย เหล็กตัวเล็กๆ มายมเีงินซื้อ ขายแพงอีก็มายลายกงิ” อาแปะอธิบายตอโดยไมตองรอใหขาพเจาถาม แลวตางฝายก็ตางทําตามอัธยาศัยของตนเอง ในขณะที่อาแปะนั่งพักขาพเจาก็นัง่กิน

Page 24: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๔

“เหลียวอ๊ัวะตองปายกอง” อาแปะลุกขึ้นหลังจากนั่งไดสักพกั แลวเดนิไปยังซาเลงคูชีพ พรอมทั้งปนออกไปในขณะที่ขาพเจาก็อ่ิมพอดี แมจะยังมีไอศครีมเหลืออีก 2 กอนในจานของขาพเจา นับจากวันนัน้ทุกครั้งที่ขาพเจาไดยินเสียงกริ่ง “กริ๊ง กร๊ิง กร๊ิง” “ไขกี้ มาเลี้ยว”

ขาพเจาตองเรยีกอาแปะทุกครั้ง และมีส่ิงที่เหมือนกนัเกอืบทุกครั้ง คือ เราทั้งสองนั่งคุยกันบนมานั่งตัวเดิม เปนการพูดคยุระหวางเด็กหนุมที่กําลังเรียนรูชีวิตกับชายชราผูผานชีวติที่ยาวนาน หาใชลูกคากับพอคาไม

นั่นคือ เหตุการณป พ.ศ. ๒๕๓๓ เปนปแรกที่ขาพเจาเขามาอาศัยในเมืองแปดริ้ว เปน

คร้ังแรกที่ขาพเจารูจักไอติมไขกี้ ซ่ึงเปนไอติมเจาแรก ๆ ของเมืองแปดริ้ว เปนของวางและของหวานคูกับวิถีชีวิตของคนแปดริ้วในสมัยกอนทั้งในตอนที่ขาพเจารูจกัและกอนหนานั้น คําถามที่ขาพเจายังมเิคยไดเอยถามและไมไดรับคําตอบมาจนถึงทุกวันนี้ คือ

“ทําไมตองชื่อไอติมไขกี้?” และเปนคําถามที่ขาพเจาตองหาคําตอบนบัจากนีใ้หได ขาพเจาพูดคยุสนทนากับอาแปะนับเวลาได ๑ ป หลังจากนั้นภาระการงานทําใหขาพเจาตองโยกยายที่อยูอาศัยทําใหไมมโีอกาสไดพบเจอกับอาแปะอีกเลย จวบถงึวันนี ้ ทุกคราวที่รูสึกอยากจะรับประทานไอศครีมขาพเจายังรําลึกถึงรสชาดของไอติมไขกี้เสมอ และในวันนี้เมื่อขาพเจากลับมาเมืองแปดริ้วอีกครั้งก็ไมเคยพบเห็นอาแปะคนเดิมพรอมกับไอติมไขกีข้องแก ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปนเจาแรกหรือตนตําหรับของเมืองแปดริ้วก็วาได

ขณะที่ขาพเจาเขียนเรื่องนี้อยู รุนนองที่สนิทกันทานหนึ่งก็เขามาชวนขาพเจาไปหาอะไรรับประทานกนั “พี่ ๆ เดี๋ยวไปกนิไอศครีมกัน” พรอมกันนั้นก็ไดสงแผนพับรายการสินคาที่กลาวถึงใหขาพเจาดู ส่ิงที่ขาพเจาเหน็ในแผนพับคือ ราคาไอศครีมตอ 1 ชุด คือ 109 บาท ถูกแพงอาจไมใชเร่ืองสําคัญในยุคทีค่าครองชีพสูงอยางปจจุบนันี้ แตไดเกดิคําถามขึ้นในใจของขาพเจา

“ไอติมไขกี้ หรือบานานาสปริทที่เปลี่ยนไป” “ฤๅวัฒนธรรมในการกินเปลี่ยนไปแลว”

Page 25: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๕

ภูมิปญญาทางศิลปะ : งานใบตอง (อีสาน)

ชูชาติ นาโพตอง

งานใบตองอีสานเปนศิลปะประดิษฐพื้นบาน เปนประเพณีทําสืบตอกนัมาทุกจังหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ (อีสาน) ซ่ึงมีลักษณะงานที่ออนชอยงดงามของรูปแบบและลวดลายเฉพาะตัวอันโดดเดน การออกแบบประกอบลวดลาย จะแตกตางกันออกไปตามสภาพของสังคมวัฒนธรรมของแตละทองถ่ิน

งานใบตองอีสานไดมีการประดิษฐคิดคนกนัขึ้นมาแตสมยัโบราณกาลแลว และแพรหลายจนกลายเปนศลิปวัฒนธรรมจารีตประเพณขีองชาวอีสาน เนื่องจากถือเปนประเพณีเกี่ยวกับความเชื่อและยังเปนการสืบสานมรดกทางศิลปวฒันธรรมอีกทางหนึ่งซ่ึงมักใชประกอบกับงานพิธีกรรมตางๆ นั่นก็คือพิธีบายศรีสูขวัญ เชน พิธีบายศรีสูขวัญบาวสาว พิธีบายศรีสูขวัญนาค (บวชนาค) ฯลฯ เพื่อความเปนศิริมงคล ตลอดจนการบูชาคุณครูบาอาจารยตามความเชื่อ ซ่ึงเรียกกันวา เสียคาครู และจําเปนอยางยิ่งที่จะตองทํา ขนั ๕ หรือ ขันหมากเบง ในการบูชาครูที่ไดประสาทวิชาความรูแกศษิย

ขันหมากเบง นี้นั้นจะประกอบไปดวย บายศรีใบตองสดขนาดเล็ก พรอมกับการหอ ธูป เทียน ปูน หมาก พลู ยาเสน เหลา และเงินตามที่ครูจะกําหนด (เงินจํานวนไมมาก) วางบนขันหรือกระทงใบตอง ถือวาเปน “เคล็ด” ที่กลาวมาตรงนี้ ถือไดวา การประดิษฐขันหมากเบง เปนจุดเริ่มแรกในการประดิษฐคิดคนพัฒนางานใบตองอีสาน ใหมีความประณีตออนชอยสวยงามตามยคุตามสมัยเสมอมา ดังที่เห็นความสวยงามในปจจุบัน

การประดิษฐเศียรพญานาค แบบที่ ๑ การประดิษฐเศียรพญานาค แบบที่ ๒

Page 26: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๖

ประโยชนและคุณคาของงานใบตองอิสาน งานใบตองอิสาน เปนศิลปะพื้นบานที่ยงัคงอยูในสังคมปจจุบัน มีประโยชนและคุณคา

หลายประการดังนี ้๑. ดานประโยชนใชสอย ใชสําหรับตกแตงและใชในงานประเพณตีางๆ เปนภูมิปญญา

ชาวบานที่นําใบตองมาประดษิฐ สรางสรรค จนกลายเปนศิลปวัฒนธรรมของชาติ ๒. ดานความงาม งานใบตองอีสาน มีความสวยงามมีลวดลายอนัโดดเดนออนชอย มีการ

มวนพับใบตองเปนนิว้นาง และมีการหมผานุง หลายช้ันเปนลวดลายหลักตามแบบลักษณะทางภาคอีสาน เปนการอนุลักษณศิลปวัฒนธรรมไทยไดเปนอยางดี

๓. ดานสังคม งานใบตองเปนงานที่ตองอาศัยความรวมมือในการทาํงานเปนหมูคณะ ซ่ึงลักษณะของงานเปนงานใบตองสด จําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองอาศัยกําลังคนจํานวนมาก ในการประดิษฐช้ินสวน เพื่อทีน่ําไปประกอบเปนชิ้นงาน ซ่ึงจะตองมีการเตรียมการ วางแผน แบงงาน และมีความสนุกสนานพดูคยุ อันกอใหเกดิความรัก ความสามัคคีรวมกัน

๔. ดานความเชื่อ การตกแตงใหเกิดความวิจติรเพือ่แสดงถึงความเคารพ ความระลึกถึง ความศรัทธา กตัญูตอคุณครูบาอาจารย ซ่ึงเปนวัฒนธรรมอันดีดานจิตวิญญาณของคนไทย

การออกแบบลายกนกจากใบตองสด

๑. ดานพฒันารปูแบบ ลวดลายของงานใบตองอีสาน ในอดีตมีลักษณะของลายคอนขางหยาบ ไมละเอียดออนชอย ชางใบตองในปจจุบันไดพัฒนาลวดลายออกแบบประยุกตลาย ใหเกิดความทนัสมัยแปลกตาใหออนชอยวจิิตรสวยงาม เชน การออกแบบการพับใบตองและประกอบลายเปนเศยีรพญานาค หางหงส ตัวกนกลายไทย ลวนแตเปนลวดลายที่ไดรับการออกแบบขึ้นใหมทั้งนั้น โดยการนําวัสดุธรรมชาติมาตกแตง และยงัมีการนําเสนลวด มาเปนแกนกลางในการที่จะดัดชิน้งานใหมีความออนชอยมากยิ่งขึน้

การประยุกตงานใบตองชดุนางนพมาศ ประจําป ๒๕๔๘

(ภาพจากปฏทิิน รีเจนซี่ ป ๒๕๔๗)

Page 27: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๗

ปจจุบันมีการนํางานใบตองสดมาประยุกตใชในงานตางๆ อาทิ การประดิษฐใบตองใหเปนเครื่องประดับชุด นางนพมาศ ซ่ึงผูเขียนไดออกแบบไวเพื่อใชในงานประกวดกระทงใหญ และใหนางนพมาศใสชุดที่ออกแบบนี้ เพื่อนําเสนองานการทํากระทงใหญของมหาวทิยาลัยที่จะสงเขาประกวดในวนัลอยกระทง ประจําปนี ้

๒. ดานการตลาด เปนสวนหนึ่งของงานอาชีพเสริมจากงานประจํา คาตอบแทนในการประดิษฐงานใบตองคอนขางสูง สวนมากผูวาจางจะเปนคนมีฐานะดี มีรสนิยม มีความรักและหวงแหนในศิลปวฒันธรรม ซ่ึงถือวาเปนการสรางรายไดเสริมอีกทางหนึง่ ขอเสนอแนะ

เมื่อวิเคราะหกระบวนการและกรรมวิธีการทํางานใบตองอีสานของแตละจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เปรียบเทียบกับกระบวนการและกรรมวิธีการทํางานใบตองจากภาคอื่นๆ โดยอาศัยขอมูลจากเอกสารและการสัมภาษณผูชํานาญการในทองถ่ินแลว ผูเขียนเห็นวาในการทํางานใบตองดวยกระบวนการและกรรมวิธีที่แตกตางกัน รูปแบบของผลงานจะมีความแตกตางกัน ถาไดขยายขอบขายการศึกษาใหกวางออกไป เราอาจพบความรูเทคนิควิธีการที่เพิ่มมากขึ้น ซ่ึงจะเปนการศึกษาใหเห็นถึงภูมิปญญา ที่เปนเอกลักษณของคนไทยในแตละทองถ่ิน อันจะเปนการชวยสงเสริมและเผยแพรความรูความสามารถในดานการทํางานใบตอง ใหดํารงอยู ซ่ึงสมควรที่จะไดรับการสนับสนุนเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้

๑. การสงเสริมใหชางงานใบตอง ไดแสดงฝมือในงานใหปรากฏ ๒. การสงเสริมใหชางงานใบตองเผยแพรวิทยาการดานงานใบตองใหกวางขวาง การเผยแพรความรูและผลงานดานการประดิษฐใบตองสด ใหปรากฏอยางกวางขวางใน

สังคมไทย ในปจจุบนัถือวาเปนสิ่งที่จําเปน เพราะนอกจากจะทําใหเปนทีน่าสนใจ เปนที่นยิมชมชอบของสังคมแลว ยังเปนการปลูกฝงหลักวิชาการใหสืบทอดเจรญิงอกงามตอไปอีกดวย

ในปจจุบนัความเจริญกาวหนาทางกิจการสื่อสารมวลชนเปนไปอยางรวดเร็ว ดังนัน้โอกาสที่จะเผยแพรวิทยาการดานการประดิษฐงานใบตองอีสาน จึงกระทําไดอยางกวางขวาง ทั้งทางดานการจัดพิมพเปนหนังสือ เอกสารตํารา อินเตอรเน็ต วิทยกุระจายเสยีง โทรทัศน ภาพยนตร ภาพถาย ตลอดจนการบรรยายและการสาธิต ซ่ึงผูเขียนยนิดีทีจ่ะเปนวิทยากรถายทอดใหแกบุคคล ชุมชน หนวยงาน ที่สนใจทัว่ไป

Page 28: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๘

การประดิษฐงานใบตองประดับตกแตงขบวนรถบปุพชาติ เปนพญาครุฑ ทายนี้ผูเขียนขอฝากบทเพลง (แหล) งานใบตองใหทานไดอาน ไดเปนแนวทางในการ

อนุรักษมรดกทางศิลปวัฒนธรรมไทย โดยไดรับความอนุเคราะห จากอาจารยกรกานต พรหมเดเวช คณะมนษุยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภฏัราชนครินทร ประพันธเพลงใหในครั้งนี้

ศิลปศาสตรตอง

.....สวัสดีทานทั้งหลาย หญิงชายทุกบาน เชิญชมตํานาน สืบสานศิลป เร่ือง งานใบตอง ของ ราชนครินทร งามสดโสภิณ เปนสินชาติไทย กิจจา และชูชาติ มาประกาศใหฟง ใหเปนพลัง สรางหวังในใจ วางานใบตอง ตองอยูคูไทย ช่ัวลูกหลานไป รวมใจรวมแรง

(ดนตรี) แตครั้งเกากอน เหลาบรรพชน ทานคิดทานคน ฝกฝนจัดแจง เย็บพับจับจีบ ไมรีบรุนแรง หล่ันรัดดัดแปลง แขงขันฝมือ แมยากยังเยือกเย็น เปนพรวิเศษ ชาวตางถิน่เทศ ก็เล่ืองลือ

คนไทยใจเย็น เคี่ยวเข็ญฝกปรือ ผลงานนั้นหรือ งามล้ําเรียงราย เปนภาชนะ กระทงทอง บายศรีเรืองรอง ละอองฉาย

หอหับอับนอย ใชสอยสบาย ภูมิไทยพริง้พราย ไวลายบรรพชน (ดนตรี)

กาวสูยุคใหม คนไทยใจรอน นวลตองใบออน โรยรอนรอนรน ภูมิลํ้าปญญา มหาชน สูญยับอับจน กนโศกเสียดาย

มาเถิดเรามา ชาวโลกาภวิัตน มาตระหนักใหชัด กอนสมบัติสลาย ยกยองเชิดชู อยูคูใจกาย อยาทอดทิ้งหาย ละอายบรรพชน

(ดนตรี) ศิลปกรรม นําไทย ช่ือกองเกรียงไกร ไปทุกแหงหน

บุญชาวสยาม เมืองงามเลิศลน มีเอกลักษณตน คือศิลปศาสตรตอง

Page 29: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๒๙

ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย?

ภานุ สรวยสุวรรณ

ในหลายครั้งหลายโอกาสบนหนาหนังสือพิมพ นิตยสาร ส่ือส่ิงพิมพตาง ๆ ตําราเรียนศิลปะ หรือแมกระท่ังเสียงจากวิทยุ โทรทัศน มักจะมีคํา ๆ หนึ่งปรากฏออกมาคือ คําวา “ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย” และแนนอนสําหรับบุคคลทั่ว ๆ ไป ผูที่ไมคอยจะไดคลุกคลีอยูกับแวดวงทางศิลปะ ก็ยอม

สงสัยเปนธรรมดาวา อะไรคือรวมสมัย? สมัยของใคร? มันมีกี่สมัย? ผูเขียนเองแมจะเคยคลุกคลีอยูในวงการศิลปะมาสิบกวาป แตก็ยังไมสามารถหาคําจํากัดความที่ชัดเจนของคําวา “ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย” ได เหตุเพราะคําวา “รวมสมัย” หรือ Contemperary ในภาษาอังกฤษจะถูกใหความสําคัญ จํากัดความโดยคนในยุคสมัยนั้น ๆ เปนผูกลาวถึง ดังนั้นศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยในสิบปที่แลวกับศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยในสิบปถัดมายอมมีบริบทและขอบเขตที่แตกตางกัน การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเมือง เศรษฐกิจ เทคโนโลยีรวมถึงคานิยมเปนตัวขับเคลื่อนกระแสทางรสนิยม ฐานความคิด รูปแบบการดํารงชีวิตที่ไมอยูกับที่ คําวา “รวมสมัย” จึงมีพลวัตในตัวของมันเอง คํา ๆ นี้จึงถูกใชเพื่อควบคุมความหมายของสิ่งที่เปล่ียนไดตลอดเวลา เชนเดียวกับคําวา “วัฒนธรรม” ที่มาจากคําวา “วัฒนะ” หรือ “พัฒนา” กับคําวา “ธรรมะ” ซ่ึงรวมความอาจจะหมายถึง “การพัฒนาไปตามเหตุปจจัยที่ควรจะเปน” (ความเห็นผูเขียน)

ฉะนั้นถาพูดถึงคําวา “ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัย” ในความหมายที่กวางและพอจะเขาใจงายที่สุด อาจจะหมายถึง “ศิลปะที่มีการพัฒนารวมอยูในบริบททางสังคมของชุมชนใดชุมชนหนึ่งที่กลาวถึงในยุคนั้น ๆ” (ถูกผิดประการใดผูรูโปรดกรุณาชวยแกไขดวย)

แตประเด็นสําคัญที่ผูเขียนตองการกลาวถึงในที่นี้ คือ ศลิปวัฒนธรรมรวมสมัยของไทย เปนอยางไร? ในเมื่อถาเราลองมองดูองครวมของภาวการณปจจุบันในประเทศไทย (พ.ศ. ๒๕๔๘) จะพบวาในปจจบุันวัฒนธรรมไทยอยูในสภาวะหลากหลายที่ผสมผสานปนเปและปะทะกันทั้งจากภายในและภายนอกประเทศ ประเด็นรวมตาง ๆ ในสังคมถูกมองตางอยางสุดขั้วในเชิงวยั รสนิยม ฐานความคิด บริบทตาง ๆ ถูกแบงแยกเปนกลุม คนใสเสื้อสายเดี่ยวเกาะอกกจ็ะเปนกลุมคนสายพนัธุหนึ่ง คนใสชุดไทยพระราชทานก็เปนกลุมคนสายพันธุหนึ่ง หรือคนใสมอฮอมก็จะเปนอีกสายพนัธุหนึ่ง โดยที่แตละสายพันธุไมมีการปฏิสัมพันธกันแบงเปนพวก ๆ มองเหยยีดและดถููกฝายที่ไมใชฝายเรา ตรงนี้คือ วิกฤติทางสังคมและวัฒนธรรม ในทางศิลปะก็เชนเดยีวกัน ศิลปะชัน้สูงประเภทขบคิดทั้งวันตองปนกระไดดู หรือศิลปะตกแตงรูปเหมือน รูปดาราที่กระทําใหตามอามสิสินจาง ก็เปนปรากฏการณรวมของรูปแบบทางศิลปะที่เกิดและแสดงออกในยุคสมัยเดยีวกัน ถาตางฝายตางมองกันดวยประเดน็ตางอยางสุดขั้วอยู พัฒนาการของวงการศิลปะก็จะถูกกําแพงอัตลักษณขวางกั้นเสียแลว

Page 30: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๐

เปาหมายหลักของตัวงานศิลปะ คือ นําสารจากผูทําสูผูดู ที่สําคัญตัวผูดูเองในยุคสมยัปจจุบันก็ยังสับสน งงงวย ตื่นตระหนก ในวิกฤตทิางวัฒนธรรมที่ประสบกันอยู ศิลปวัฒนธรรมในประเทศไทย จึงแทบไมมีบทบาท หนาที่อะไรเลยในสังคม เปนการรับรูกันเฉพาะในกลุมผูทํา ผูเรียนผูสอน นักวจิารณและนักสะสม

ที่มาที่ไปของศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยไทยถูกกําหนดชวงเวลาจากไมกี่สิบปที่ผานมานี้เอง มาตรฐานความเปนรวมสมัย ถูกทาบเกี่ยวกับรูปแบบความเปนสากล ใชกระแสแมบทจากวัฒนธรรมตะวนัตกเปนหลัก พัฒนาการจึงเปนไปในลักษณะกาวกระโดด ขณะเดียวกนัวิถีชีวิตรูปแบบดาํเนินชีวิตของผูคนก็ยิ่งมีการพฒันาการแบบกระโดดโดยไมตองกาว และดวยพัฒนาการที่รีบเรงนี้ขับเคลื่อนส่ิงตาง ๆ ออกเปนสวน ๆ โดยขาดการมององครวมของการเรียนรู แกไข ตรวจสอบ ฉะนัน้ถาจะใหกลาวตามความเหน็ผูเขียน ศิลปวัฒนธรรมรวมสมัยของไทยในปจจุบันนี ้ มีสวนรวมกบัคน

ในยุคสมัยนี้หรือไม? อยางไร? หรือเปนเพียงแคปรากฏการณ “รวมสมัย” ที่บุคคลทั่วไปไมคิดจะมีสวนรวมอยูแลว

ในเมื่อทัศนคติที่มองตางขั้วมีอยูทั้งในผูทําและผูดู ความเห็นตาง ๆ อยูบนฐานของปจเจกเปนที่ตั้ง ความขัดแยงยอมเกิดขึน้อยางไมตองสงสัย แตดานบุคคลเขาใจในปรากฏการณ “รวมสมัย” ที่เกิดขึ้นนี้ ปฏิวัติใจเสียใหม ยอมรับในสิ่งที่ไมเคยยอมรับทําขอบเขตของคําวา “ตัวเรา” “ฝายของเรา” ใหขยายออกทัง้มิติทางกวางและทางลึก เมื่อนั้นกลมกลนืเปนเอกภาพทางความคิด จะเกิดขึ้นยอมรับปรากฏการณตาง ๆ ที่เกดิขึ้น ทั้งสายเดีย่ว เกาะอก และชุดไทยพระราชทานวา ทุกอยางลวนมเีหตุปจจัยในการเกิดและดําเนนิมา ปญหาไมไดอยูที่ความตาง ปญหาอยูที่วาทิศทางในการพัฒนาไปสูส่ิงที่ดี ตามกรอบความถูกตองดีงามของการอยูรวมกนั ซ่ึงจะเปนเครื่องบงชี้ภูมิปญญาของสังคมนั้น ๆ ดังนั้น ศิลปวฒันธรรมรวมสมัยในอีกนัยยะหนึ่งที่ปราศจากการกลาวถึงศิลปะวัตถุ (Art Object) คือ การสรางสรรคและพัฒนาสิง่ตาง ๆ ที่หลากหลายใหดาํเนินไปในกรอบที่ดีงามตามยุคตามสมัย ถาผูอานไดอานมาถึงตรงนี้แลว รูสึกคานในใจขึ้นมากเ็อาเปนวา ทานลองตรวจสอบกําแพงอัตลักษณของ “ตัวทาน” ดูนะครับ

Page 31: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๑

อุตสาหกรรมการทองเที่ยว กับ ศาสนา วัฒนธรรม

ไตรภพ โคตรวงษา

ขาวการนําองคประกอบสําคัญและสัญลักษณทางพุทธศาสนามาปลูกสราง และตกแตง

อาคารพาณิชยประเภทธุรกิจโรงแรม รานอาหาร และธุรกิจสปาซึ่งเปนธุรกิจบริการเพื่อรองรับและตอบสนองความตองการของนักทองเที่ยวในประเทศและตางประเทศ หรือแมกระทั้งรานขายของที่ระลึกที่นําสัญลักษณและพระพุทธรูปมาวางโชวเพื่อจําหนายเปนสินคาที่ระลึก ทั้งสื่อหนังสือพิมพ รายวัน รายสัปดาห และทางอินเตอรเน็ต เปนขาวที่สรางปรากฏการณที่กระทบกระเทือนกับสังคมไทยในภาพรวมเปนอยางยิ่ง ปรากฏการณดังกลาวเกิดขึ้นในเมืองทองเที่ยวที่สําคัญของเมืองไทยไมวาจะเปน กรุงเทพฯ พัทยา ภูเก็ต สมุย หัวหิน และเชียงใหมที่ถูกสงเสริมและทุมงบประมาณจากรัฐบาลใหพัฒนาดานการทองเที่ยวและภาคเอกชนที่เกี่ยวของขานรับตอนโยบายการพัฒนาดานการทองเที่ยวดังกลาว ปรากฏการณนี้สะทอนใหเห็นผลทางความคิดของกลุมธุรกิจบางกลุมในสังคมไทยปจจุบันที่มีมุมมองตอมิติทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และสังคมไทยภายใตการนําของรัฐบาลยุคปจจุบันกับการมุงเนนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศเพื่อใหเปนศูนยกลางการทองเที่ยวแหงเอเชีย (Tourism Capital of Asia) ภายในป พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีเปาหมายใหนักทองเที่ยวชาวตางชาติเขามาทองเที่ยวปละกวา ๒๐ ลานคน สรางรายไดปละ ๗ แสนลานบาท อุตสาหกรรมทองเที่ยวไมไดมีวัตถุประสงคเพื่อมุงผลประโยชนและการเติบเชิงปริมาณและเชิงเศรษฐกิจของประเทศเพียงอยางเดียว ตัวอยางของการพัฒนาที่มองมิติทางเศรษฐกิจหรือใชเงินเปนตัวตั้งมีจํานวนมากในเมืองไทย เชน กรณีการผลักดันใหเกิดกระเชาลอยฟาขึ้นภูกระดึง จ.เลย และดอยหลวงเชียงดาว จ.เชียงใหม แตการพัฒนาการทองเที่ยวใหยั่งยืน (Sustainable Tourism) นั้นจะตองมองถึงมิติทางดานจิตวิญญาณ ความเชื่อความศรัทธาที่มีตอศาสนา ประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนสิ่งแวดลอม และไมใชทุกพื้นที่ในเมืองไทยจะสามารถสงเสริมใหกลายเปนแหลงทองเที่ยวได แตขึ้นอยูกับศักยภาพ ความเหมาะสมของพื้นที่ ความพรอมและการยอมรับของประชาชนในพื้นที่นั้นๆ เปนสําคัญ ผูที่ไดรับผลประโยชนโดยตรงจากกิจกรรมดานการทองเที่ยวก็ควรจะเปนประชาชนที่เปนเจาของทรัพยากรทั้งทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตวัฒนธรรม ไมใชแคตกอยูกับกลุมทุนขนาดใหญทั้งในและตางประเทศ เพียงบางกลุม

กระแสนิยมของผูบริโภค เปนตัวกําหนดสินคาทางการตลาด กระแสการพัฒนาทางดานธุรกิจในปจจุบัน มุงเนนโดยใชการตลาด (Marketing) เปนตัวนํา

และการตลาดในปจจุบันตกอยูในกํามือของผูบริโภค หรือ อํานาจการตอรองทางการตลาดเปนของผูบริโภค ปรากฏการณนี้ที่มีทั้งผลดี และผลเสีย ผลดี คือ ผูบริโภคมีโอกาสเลือกสินคาที่มีคุณภาพ

Page 32: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๒

และราคาถูก ผลเสีย คือ กระแสนิยมของผูบริโภคที่เกิดจากการเรียนรูและยอมรับที่มีผลกระทบตอสังคมและวัฒนธรรมที่ไมเหมาะสม ทําใหเกิดสังคมแบบบริโภคนิยมและวัตถุนิยมตามมา ยอมสงผลเสียหายตอสังคมโดยรวม เจาของกิจการที่อยูในโลกของการแขงขันทางธุรกิจยอมตองสรางความแตกตาง (Differentiation) โดยการสรางเอกลักษณเฉพาะ (Uniqueness) ใหกับสินคาของตัวเองเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคตามกระแสนิยมในปจจุบัน

อุตสาหกรรมการทองเที่ยว กับผลกระทบทางศาสนาและวัฒนธรรม ธุรกิจที่เปนองคประกอบหลักของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวในเมืองไทย ไมวาจะเปน

ธุรกิจโรงแรม ภัตตาคาร รานอาหาร การขนสง รานจําหนายสินคาที่ระลึก และสปา จะเห็นวาในเมืองทองเที่ยวที่สําคัญที่ไดรับความนิยมจากนักทองเที่ยวโดยเฉพาะชาวตางชาติ จะมีผูประกอบการในธุรกิจทองเที่ยวจํานวนมากในพื้นที่ดังกลาว อันสงผลใหเกิดการแขงขันทางธุรกิจกันสูงเพื่อชวงชิงลูกคา การตลาดจึงมีบทบาทสําคัญตอธุรกิจและเปนการสรางชัยชนะใหเหนือคูแขงขัน ผูที่มีเงินทุนมากยอมสรางสินคาไดยิ่งใหญอลังการและหลากหลายครบวงจร เพื่อตอบสนองกระแสนิยม (Trend) ตอบสนองความตองการ (Needs) ของนักทองเที่ยวชาวตางชาติในตลาดระดับบน (High-end Market) ที่นิยมสัมผัสกล่ินอายของซีกโลกตะวันออก โดยเฉพาะดานวิถีชีวิต วัฒนธรรมและพุทธศาสนา

ปรากฏการณดานการตลาดเหลานี้จึงเกิดขึ้นในวงการธุรกิจดานการทองเที่ยวโดยเฉพาะธุรกิจโรงแรม เชน การสรางสะพานนาคราชเปนทางเขาเชื่อมสูอาคารโรงแรมที่มีสถาปตยกรรมคลายปราสาทหินในศิลปะขอมแบบบายน ของโรงแรมอุทัย ไอยรา รีสอรท แอน สปา จ.อุทัยธานี และไมนาเชื่อวาโรงแรมนี้ยังไดรับคัดเลือกจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ใหเปน ๑ ใน ๕๐ ที่พักแรม ที่เปนสวรรคในการพักแรมตามโครงการ Unseen Paradise การสรางเลียนแบบนาคราชแบบศิลปะขอมลอมรอบสระวายน้ําที่อยูริมทะเล ของโรงแรมฮิลตัน หัวหิน รีสอรท แอนด สปา โรงแรมระดับ ๕ ดาวใน จ. ประจวบขีรีขันธ การจําลองศาสนสถานทางพุทธศาสนาที่สําคัญและมีช่ือเสียงทั้งในและตางประเทศภายในพื้นที่โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล ดาราเทวี จ. เชียงใหม การสรางกําแพงโรงแรมเหมือนกําแพงวัด และมีสิงหประดับทางเขาหนาโรงแรม ราชมรรคา และโรงแรมแทมมาริน วิลเลจ จ. เชียงใหม และโรงแรมสุโขทัย ที่ ถ.สาธรใต กรุงเทพฯ ที่จําลองเจดีย รูปปนเทวดานางฟา โดยชางฝมือเมืองลําพูนและประดับดวยระฆังภายในพื้นที่โรงแรม นวัตกรรมดานที่พักแรมเหลานี้ ไดรับอิทธิพลมาจาก กระแสการสรางที่พักแรมแนวใหมที่เรียกวา โรงแรมบูติค (Boutique Hotels) หรือ บูติครีสอรต (Boutique Resorts) ที่เปนที่พักที่ตองการสรางที่พักใหมีความแตกตางและเปนตัวของตัวเอง มีเสนหและมีความเอกลักษณพิเศษไมเหมือนใครและไมมีใครเหมือน แมแตสถานบริการดานสุขภาพอยางสปาและรานจําหนายสินคาที่ระลึกยังจําหนายและตกแตงรานโดยใชศิลปะที่เกี่ยวโยงกับพุทธศาสนา และจัดวางอยางไมเหมาะสม

Page 33: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๓

ปรากฏการณที่เกิดขึ้นในเมืองไทยเปนปรากฏการณทางดานการตลาด ที่กลุมทุนขนาดใหญทุนบางกลุมใชเปนเครื่องมือทางธุรกิจ โดยการมองเห็นชองทางการตลาดโดยการใชศิลปะและวัฒนธรรมที่เกี่ยวโยงกับพุทธศาสนา เพื่อตอบสนองกระแสนิยมของฝรั่งที่คล่ังตะวันออก

กลุมทุนที่เปนทั้งคนไทยและคนตางชาติ ที่นําศิลปวัฒนธรรมและสัญลักษณทางพุทธศาสนามาใชผลประโยชนเชิงธุรกิจ จะมองในมุมที่จะสรางความชอบธรรมเพื่อตัวเองและพวกพองอยางเดียวคงไมยุติธรรมกับประเทศชาติ จะตองมีมุมมองและจิตศรัทธาที่คํานึงถึงผลกระทบทีมีตอศาสนา ความเชื่อ จิตวิญญาณ และวัฒนธรรมของชุมชนดวย รายไดที่เกิดจากการลงทุนเหลานี้ไมไดตกอยูที่เมืองไทยและคนไทยทั้งหมด แตรายไดสวนใหญตกอยูในมือของนักลงทุนชาวตางชาติที่ถือหุนและลงทุนในเมืองไทย แลวประชาชนไทยคงไดแคเพียงคาจางและรายไดอันนอยนิดจากกิจกรรมทางการทองเที่ยว ตอไปสิ่งเหลานี้แมแตศาสนาที่เปนที่ยึดเหนี่ยวและพึ่งพาทางจิตใจถูกขายไปหมด แลวเขาจะขายและสรางความแตกตางใหกับธุรกิจของเขาอยางไรอีกตอไป จิตสํานึกในความรักมรดกทางศาสนาและวัฒนธรรมของชาติอาจจะมองไมเห็นเปนผลทางเศรษฐกิจโดยเร็ว แตจะเกิดผลในระยะยาวและยั่งยืนทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคมในวงกวาง ไมใชกลุมใดกลุมหนึ่ง กลุมนายทุนนักธุรกิจเหลานี้ลวนมีบทบาทและอิทธิพลทางความคิดตอสังคม และเยาวชน ดังนั้นควรเปนแบบอยางการเรียนรูที่เหมาะสมและถูกตองในบริบทของสังคมไทย

ทางออก คือ สังคมแหงการสรางการเรียนรูในบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย ในเมื่อประเทศชาติที่มีทั้งศาสนา ประวัติศาสตร และสังคมวัฒนธรรม ไมใชเปนแคเพียงของ

กลุมนายทุน แตเปนของคนไทยทั้งชาติทุกภาคสวน ทางออกแหงวิกฤติสังคมวัฒนธรรมและศาสนาจากผลกระทบการดําเนินธุรกิจดานการบริการ เฉกเชน โรงแรม ภัตตาคาร สปา หรือธุรกิจบริการตางๆ ที่สรางผลกระทบตอชาติบานเมือง จะตองเรงหาทางออกโดยความรวมมือจากทุกภาคสวนและทุกระดับเพื่อสรางพลังแหงการเรียนรูและแกปญหา เพื่อใหเกิดการกระบวนเรียนรูอยางมีสวนรวมและหลากหลายมิติ ทั้งมิติดานศาสนา สังคมวัฒนธรรม ประวัติศาสตร ส่ิงแวดลอม เศรษฐกิจ และจิตใจ จึงจะเกิดการพัฒนาอยางมีสวนรวมและยั่งยืน

Page 34: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๔

การเพิ่มมูลคาของชุมชนดวยทุนทางสังคม

อารียา บุญทวี

ปจจุบันนี้ ทั้งภาครัฐบาลและภาคเอกชน ไดกลาวถึงการนําทุนทางสังคมมาใชในการพัฒนาประเทศ แนวคิดดังกลาวไดเร่ิมมีการศึกษาในราวทศวรรษที่ ๑๙๘๐ แตชวงแรกไมไดรับความสนใจมากนัก นักวิชาการที่ทําใหแนวคิดนี้ไดรับความสนใจมากขึ้น คือ นักสังคมวิทยา ช่ือ James Coleman (๑๙๘๘) ในขอเขียนที่ช่ือ Social Capital and the Creation of human Capital ที่ตีพิมพครั้งแรกในวารสาร American Journal of Sociology ซ่ึงเขาชี้วาทุนทางสังคมเปนเรื่องนามธรรมและเปนคุณสมบัติอยางหนึ่ง หรือเปนองคประกอบที่มีอยูในสิ่งที่เรียกวาโครงสรางทางสังคม ทั้งนี้ Coleman ไดอธิบายรูปธรรม โดยใชตัวอยางของทุนทางสังคมในครอบครัว นอกจากนี้แนวคิดของศาสตราจารย Robert Putum (1993) อาจารยดานความสัมพันธระหวางประเทศแหงมหาวิทยาลัยฮาวารท ซ่ึงไดศึกษากระบวนการประชาสังคมในประเทศอิตาลี ที่ ช่ือ Making Democracy work : Civic Traditions in Modern Italy โดยช้ีใหเห็นวาทุนทางสังคมเปนการรวมตัวของกลุมองคกรตางๆ ในสังคมกระบวนการและความรวมมือกัน เปนเครือขายตางๆ ที่ทํางานเพื่อสาธารณะและสวนรวมนั้นคือพลังพื้นฐานทางสังคม อันจะนํามาซึ่งความแข็งแกรงในดานตางๆ รวมทั้งเศรษฐกิจดวย นับวานักเขียนผูนี้ทําใหทุนทางสังคมเปนจุดที่สนใจของนักวิชาการทางสังคมวิทยา รัฐศาสตร นักพัฒนาการเศรษฐกิจ รวมถึงนักทฤษฎีองคการ สวนในประเทศไทย นักวิชาการและนักพัฒนาของไทยไดมีการพูดถึงทุนทางสังคม (Social Capital) โดยทุนทางสังคมเปนทุนเกา ทุนเดิมที่สังคมไทยมีอยูโดยเฉพาะในสังคมชนบทภูมิภาค ซ่ึงหมายถึงสัมพันธภาพที่ดี เอื้ออาทร รวมมือ ชวยเหลือกันบนพื้นฐานจิตสาธารณะที่ผูกพันกับทองถ่ินของตนและพลังกลุม หรือสัมพันธภาพอันเปนกระบวนการทางสังคมพื้นฐานที่ออกมาในทิศทางบวกคือชวยเหลือบูรณาการ ผสมผสานกัน และเปนหนึ่งในทางเลือกอันเปนทางรอดที่จะสามารถพึ่งตนเองแขงขันและยั่งยืนไดในอนาคต ซ่ึงตอมาทุนทางสังคมยังไดถูกกําหนดใหเปนวาระแหงชาติของการพัฒนาประเทศในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับ ที่ 9 อีกดวย

ความหมายของทุนทางสังคม ประเวศ วะสี ( ๒๕๔๑ : ๒๗-๒๘) ใหความหมายทุนทางสังคมวาเปนกลุมกอนทางสังคม การมีการศึกษาดี การมีวัฒนธรรม การมีความซื่อสัตยสุจริต การมีความรับผิดชอบตอสวนรวมการมีประสิทธิภาพในการทํางาน ชาติชาย ณ เชียงใหม (๒๕๔๓ : ๒๘๖) ไดใหความหมายทุนทางสังคมวา หมายถึง สถาบันทางสังคม ( เชน บาน วัด โรงเรียน ฯลฯ) และรูปแบบความสัมพันธทางสังคมที่มีอยูในแต

Page 35: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๕

ละชุมชนชนบทที่ทําหนาที่ จัดระเบียบความสัมพันธ ใหความชอบธรรมแกแบบแผนของการจัดสรรเปลี่ยนทรัพยากรอันเปนการสรางความผสมกลมกลืนทางสังคมและลดความขัดแยงในชุมชน อีกนัยหนึ่งทุนทางสังคม คือวิถีการดํารงชีวิต วัฒนธรรม จารีตประเพณีของชุมชนวิถีความสามารถในการจัดการองคกรของประชาชน รวมทั้งปราชญชาวบาน ภูมิปญญาพื้นบาน สุพรรณี ไชยอําพร (๒๕๔๖ : ๕๙-๖๐) ไดใหความหมายทุนทางสังคม เนนที่รูปแบบความสัมพันธที่มีอยูในกลุมสังคม โดยเฉพาะชนบทตั้งแตในครอบครัวขยายจนถึงกลุมเพื่อน กลุมอาชีพและกลุมตางๆ ในชุมชน ในสังคมที่ตางมุงมั่น เพื่อสวนรวม รวมกัน เอื้ออาทร ชวยเหลือ รวมมือกันในการจัดดําเนินการตางๆ ในชีวิตและสังคมตน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (๒๕๔๗ : ๒) ไดสังเคราะหความรูและความคิดเรื่องงานทางสังคมจากแหลงความรู และเวทีตางๆ แลวประมวลสรุปเสนอใหสอดคลองกับบริบทของสังคมไทย โดยทุนทางสังคมเกิดจากการรวมตัว รวมคิด รวมทํา โดยคํานึงถึงคุณคาของความเปนมนุษย ความเปนธรรมในสังคมและประโยชนตอสวนรวม ซ่ึงการสรางกระบวนการใหเกิดการรวมตัว รวมคิด รวมทําใหเปนทุนทางสังคมนั้นสามารถเกิดขึ้นไดโดยมีองคประกอบเกื้อหนุนที่สําคัญอยู ๓ องคประกอบ คือ

๑. ทุนมนุษย ทั้งที่เปนบุคคลทั่วไปและผูนําทางสังคมที่มีความรักมีน้ําใจ ความเอื้ออาทรตอเพื่อนมนุษย มีความเชื่อระบบคุณคาและหลักศีลธรรมท่ีดี เชน มีคุณธรรม วินัย ความซื่อสัตย จิตสํานึกสาธารณะ ความไวเนื้อเชื่อใจ ฯลฯ ที่จะทําประโยชนตอสังคม ๒. ทุนที่เปนสถาบัน ตั้งแตสถาบันหลักของชาติ ไดแก สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา และพระมหากษัตริย สถาบันสําคัญในสังคม เชน สถาบันการศึกษา สถาบันการเมือง ฯลฯ รวมทั้งองคกรที่ตั้งขึ้นมาเชนองคกรพัฒนาเอกชน องคกรชุมชน ฯลฯ ซ่ึงมีบทบาทสนับสนุนใหเกิดการรวมตัว รวมคิด รวมทํา

๓. ทุนทางภูมิปญญาและวัฒนธรรมทั้งภูมิปญญาไทย ภูมิปญญาทองถ่ิน จารีตประเพณีที่ดีงาม สถาปตยกรรมตางๆ ฯลฯ กลาวโดยสรุป ทุนทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธหรือโครงสรางทางสังคมที่สามารถเรียกผลประโยชนทางเศรษฐกิจจากความเชื่อถือไววางใจกัน (Trust) เครือขาย (Network) สถาบัน (Institution)

Page 36: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๖

การวัดทุนทางสังคม วิธีการวัดทุนทางสังคมพอจะแบงได ๒ แบบ กลาวคือ ๑. วัดไปที่ตนกําเนิดของทุนทางสังคม ตอจํานวนและคุณภาพกิจกรรมสัมพันธหรือทํา กิจกรรมรวมกันในหลายๆ รูปแบบ ซ่ึงเปนการวัดคอนขางงายไมซับซอน เชน การวัดกิจกรรมรวมกันในหมูบาน อายุของชุมชน การทํากิจกรรม ความหลากหลายทางลักษณะของผูคนในเครือขายความสัมพันธ 2. วัดตนทุนทางสังคม ซ่ึงเปนวิธีที่ดีกวาวิธีแรกในแงที่มุงวัดทุนทางสังคมโดยตรงเลยวามีอยูมากนอยแคไหน เชน ระดับความเชื่อถือ ปริมาณและคุณภาพของกลุมองคกรเครือขายและสถาบันตางๆ ที่ปจเจกชนหรือชุมชนมี

การเพิ่มมูลคาของชุมชนดวยทุนทางสังคม

คน

กาย ใจ ปญญา

ทุนทางสิ่งแวดลอม

และทรัพยากร

ทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคม

ภูมิปญญาทองถ่ิน กระตุนทางเศรษฐกิจกิจ

วิสาหกจิชุมชน กระบวนการกลุม มูลคาของชุมชน ช่ือเสียง

ความมั่นคง พลังในชุมชน หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ

ปจจุบันนี้สินคาที่ขายในชุมชนเนนถึงสมุนไพร เพราะเขารูวาสมุนไพรคือสัญลักษณแหงสุขภาพ ซ่ึงผูเขียนไดมีโอกาสรวมลงชุมชนกับนักศึกษาในโครงการเรียนรูรวมกันสรรคสรางชุมชนในเดือนเมษายน – พฤษภาคม ๒๕๔๘ ในตําบลคลองเขื่อน กิ่งคลองเขื่อน จ.ฉะเชิงเทรา ไดเขาไปสังเกตและสัมภาษณผูนําชาวบานชื่อนายจําลอง พรเจริญ อยูหมู ๒ ต.คลองเขื่อน กิ่งอําเภอคลอง

Page 37: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๗

เขื่อน จ.ฉะเชิงเทรา ที่มีอาชีพเล้ียงกุงและทํานาเปนหลัก แตมีอาชีพเสริม คือ ปลูกตะไคร โดยชาวบานในหมู ๒ นอกจากจะทํานาเปนอาชีพหลักและปลูกตะไครเปนอาชีพเสริม โดยจะนําตะไครมารวมกันที่บานคุณลุงจําลอง พรเจริญ และมีพอคาคนกลางมารับซื้อในราคากิโลกรัมละ ๓-๔ บาท ซ่ึงนอกจากมีรายไดจากการขายตะไครแลว จากการที่ผูเขียนลงไปอยูในชุมชนรวมกับนักศึกษาไดมองเห็นวาชาวบานเกิดความคิดที่จะนําตะไครมาแปรรูปเปนเครื่องดื่มบํารุงสุขภาพ โดยกลุมผูนําชาวบานตองการใหมหาวิทยาลัยประสานกับวิทยากรจัดอบรมทําน้ําตะไคร ดังนั้นผูเขียนจึงไดทาํการประสานกับอาจารยวินิธา เที่ยงรอด อดีตวิทยากรจากรายการบานเลขที่ ๕ มาอบรมทําน้ําตะไคร ซ่ึงวิทยากรไดนําดอกอัญชัญและมะนาวมาเปนสวนผสมในการทําน้ําตะไคร ทําใหผลิตภัณฑน้ําตะไครมีสีสวยนารับประทาน ทั้งนี้จากการสอบถามผูนําชุมชนและผูนําชาวบานในวันที่ ๑๒พฤษภาคม ๒๕๔๘ กลาววาจะนําสูตรการทําน้ําตะไคร ไปใชเปนเครื่องดื่มในงานประจําปของหมูบาน นับเปนการเพิ่มรายไดและเปนการเพิ่มทุนทางปญญาใหกับชาวบาน รากหญา ตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา

กลุม

น้ําสมุนไพรตะไคร กลุม

หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ

นําไปใชในงานประเพณีในหมูบาน

การแปรรูปเปนเครื่องดื่ม

ตนตะไคร

นอกจากนี้ผูเขียนขอยกตัวอยาง คุณลุงศรีโพธิ์ เจริญสุข เจาของความคิดตะเกียงไม อยูที่ตําบลพิมพา อําเภอบางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา คุณลุงผูนี้ไดนําไมขนุน ไมกระถินณรงค ซ่ึงเปนไมที่หาไดในหมูบานและทองถ่ินมาแปรรูปเปนตะเกียงไมแบบโบราณ เชน ตะเกียงโปะ ตะเกียงลาน ตะเกียงโคม เปนตน ซ่ึงไมขนุนไดเปนหนึ่งในไมมงคล ๙ ชนิด ของประเทศไทย แตถารูจักนํามาแปรรูปเปนผลิตภัณฑเครื่องใชและเครื่องประดับตกแตง สามารถเปนสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑไดดีทีเดียว นับวาคุณลุงศรีโพธ์ิ เปนนักภูมิปญญาทองถ่ินที่รูจักนําทุนทางสังคมที่มีอยูตาม

Page 38: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๘

ธรรมชาติมาประยุกตจนเกิดเปนสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของตําบลพิมพา อําเภอบางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา ดังนั้นถาหากชุมชนรูจักนําทุนทางสังคม ทรัพยากรที่มีอยูทุนทางปญญา ความรู ประสบการณ มาสรรคสรางจนเกิดสินคาหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ จะเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับทองถ่ิน

สรุป คนทุกคน ชุมชนทุกชุมชน องคกรทุกองคกร มีทุนทางสังคมอยูแลว ไดแก ทรัพยากร ธรรมชาติ ความรู ภูมิปญญา แรงงาน แรงกาย รวมทั้งสิ่งที่ไมสามารถเห็นเปนรูปธรรมหรือวัดเปนมูลคาไดในชุมชน การนําทนุทางสังคมมาใช ไมจําเปนตองรอผลตอบแทน หากนาํไปใชเพื่อผลประโยชนของชุมชนและทองถ่ิน โดยมีหลักการบรหิารจัดการทีด่กี็สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแกชุมชนและประเทศชาติไดอยางยั่งยืน

บรรณานุกรม

ชาติชาย ณ เชียงใหม. 2543. การบริหารการพัฒนาชนบทเพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท 21 เซ็นจูร่ี จํากัด.

ประเวศ วะส.ี 2541. ยุทธศาสตรชาติเพือ่ความเขมแขง็ทางเศรษฐกจิสังคมและศีลธรรม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพหมอชาวบาน.

รัฐกร กอนแกว. 2547. ทุนทางสงัคมกบัความสําเร็จของธุรกิจชุมชน. ภาคนิพนธ ศิลปศาสตร มหาบัณฑติ สถาบันบัณฑติพัฒนบริหารศาสตร.

สุพรรณี ไชยอําพร. 2546. ทุนทางสังคม ทางเลือก ทางรอดของสงัคมท่ีทายทายนกัพัฒนา. วารสารพัฒนาสังคม. ปที่ 7, ฉบับที่ 2 ( ธันวาคม 2546 ) : 46 – 73.

สํานักงานคณะกรรมการพฒันาเศรษบกจิและสังคมแหงชาติ. 2547. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตรการ พัฒนาทุนทางสังคมเพื่อการพัฒนาที่ยัง่ยนื.

Coleman, J. 1988. Social Capital in The Creation of Human Capital. American Journal of Sociology. 95 – 120.

Putum, R D. Loonardi, R. and Nanetti, R. Y. 1993. Making Democracy Work : Civic Traditions in Modern Italy. New Jersey : Princeton University Press.

Page 39: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๓๙

ขนมไทย

.กิจจา สิงหยศ

ฉบับนี้เปนปฐมฤกษ จึงขอกลาวผูที่รักการอานดวยบทความของขนมไทยกอนก็แลวกัน ตามหลักศิลาจารึกเชื่อกันวา ขนมไทย มีมาในสมัยพอขุนรามคําแหง โดยบอกกลาวไวมีนัยวา เมืองสุโขทัยนั้นนอกจากจะมี “ปาหมาก” “ปาพลู” แลวยังมี “ปาขนม” อีกดวย แต “ปา”หรือ “แหลงขนม” สมัยนั้นจะมีขนมอะไรบางไมไดบอกไว ขนมไทยไทยแตดั้งเดิมนั้นที่แทจริงจะประกอบดวย “ แปง น้ําตาล กะทิ ” เรียกกันวาเปนขนมที่ใชวัตถุดิบที่มีอยูในทองถ่ินใกล ๆ ตัวนั้นเอง เราอาจแบงประเภทของขนมไทยตามแบบฉบับดั้งเดิม ในรูปแบบตามความเปนอยูในการดํารงชีวิตแบบไทยๆไดดังนี้ ๑. ขนมที่ทําจากไรสวน เชน เม็ดแมงลัก + น้ํากะทิ, แตงไทย + น้ํากะทิ, ขาวตอก + น้ํากะทิ เปนตน ๒. ขนมเลี้ยงลูก ที่กลาวเชนนี้เพราะสมัยกอนแตละครอบครัวจะมีลูกที่คอนขางมากมีไวสําหรับใชแรงงานในการทํามาหากินจึงตองวิธีนี้ในการทําขนมเลี้ยงลูกคือ เอาขาวเย็นที่เหลือจากการกินในแตละมื้อมาตากแดดเปนขาวตากแลวนํามาคั่วแลวคลุกน้ําตาลเคี่ยว เรียกเสียใหมใหดูดีวา “ไขจิ้งหรีด” ๓. ขนมเพื่อวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา เชน วันตรุษ-สารท ก็ทํา “กระยา-สารท” “ขาวเหนียวแดง” “กะละแม” เปนตน ๔. รับวัฒนธรรมมาจากนานาประเทศ เชนจากประเทศจีนเราได “ขนมเทียน , ขนมเขง , ขนมเปยะตางๆ , ขนมลูกเตา ฯลฯ” จากประเทศอินเดีย เราได “ โรตี ทั้งเค็มและหวาน , กะหร่ีปบ ,ขนมไสไก” เปนตน ๕. ขนมจากในรั้วในวัง ที่มีการประดิดประดอยกันมากขึ้น เชน ถ่ัวกวนเอามาปนเปนผลไมลูกเล็ก ๆ แตงแตมสีเขาไปดูใหเหมือนจริงแลวนําไปชุบวุนใสก็จะได “ ขนมลูกชุบ”

Page 40: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๐

ขนมไทย เปนเอกลักษณดานวัฒนธรรมประจําชาติไทยอยางหนึ่งที่เปนที่รูจักกันดี เพราะเปนส่ิงที่

แสดงออกถึงความละเอียดออน ประณีตในการทํา เร่ิมตั้งแตวัตถุดิบ วิธีการทําที่กลมกลืน พิถีพิถันในเรื่องรสชาติ สีสัน ความสวยงาม กล่ินหอม รูปลักษณชวนนารับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทาน ขนมแตละชนิดซึ่งยอมแตกตางกันไปตามลักษณะของขนมชนิดนั้น ๆ กลาวถึงขนมไทยจะมีใหเห็นกันทุกภาคของประเทศก็วาไดทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะการกิน การอยูอาศัย ของแตละทองถ่ิน ขนมไทยจึงมีหลากหลายอยางออกไปซึ่งบางครั้งเราจะพบวาขนมชนิดเดียวกันแตอยูกันคนละภาคก็จะเรียกชื่อตางกันเชน ภาคกลางเรียก ขนมถั่วแปบ แตภาคใตเรียกวา ขนมหูชาง เปนตน

ขนมไทยที่นิยมทํากันทุกๆภาคของประเทศสยาม ในพิธีการตางๆ เนื่องในการทําบุญเล้ียงพระ ก็คือขนมที่ทํามาจากไขเพราะใหสีเหลืองเหมือนทองและมีช่ือที่เปนศิริมงคลอีกดวย เชน ฝอยทอง ความหมายเพือ่ใหอยูดวยกันยาวนาน อายุยืนยาว ขนมทองเอก ความหมายเพื่อขอใหเปน

หนึ่งหรือไดเปนเอก เม็ดขนุน ความหมายเพื่อใหผูใหญคอยสนับสนุนใหกาวหนาในหนาที่การงาน และอ่ืน ๆเชน ขนมถวยฟู ก็ขอใหเฟองฟู , ขนมชั้น ก็ใหไดเล่ือนชั้นขั้นเงินเดือน จะขอยอนกลับไปในสมัยสุโขทัยอีกครั้งตามที่ไดแบงความเปนมาของขนมไทยไวนั้นมีอยูตอนหนึ่งกลาวถึงขนมไทยเพื่อวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และที่จะกลาวตอไปนี้ก็คือ ขนมที่ใชในงานมงคลสมรสนั้นเอง ขนมที่ใชในงานมงคลสมรส มักจะทําขนมหวาน ๙ อยางตามประเพณีซ่ึงทางฝายเจาสาวเปนผูจัดและขนมที่นิยมจัดคือ ๑. ฝอยทองหรือทองหยิบ ๒. ขนมชั้น ๓. ขนมถวยฟู ๔. ขนมทองเอก ๕. ขนมหมอแกง ๖. ขาวเหนียวแกวหรือวุนหนาสีตางๆ ๗. พุทราจีนเชื่อม ๘. ขนมดอกลําดวน ๙. ผลไมตาง ๆลอยแกว ทั้งหมดนั้นจะเห็นไดวา ขนมแตละอยางชื่อเปนสิริมงคลแทบทั้งส้ิน

ขนมที่ใชเปนเครื่องสังเวยในการตั้งศาลพระภูมิ คือ ๑. ขนมตมแดง ๒. ขนมตมขาว ๓. ขนมเล็บมือนาง(ขนมคันหลาว) ๔. ขนมดอกจอกหรือขนมทองหยิบ ๕. ขนมถั่วแปบ(ขนมหูชาง) ๖. ขนมขาวเหนียวแดง ๗. ขนมประเภทบวดตางๆ

Page 41: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๑

ลิเก – เคร่ืองแตงกาย - ลมหายใจแหงการคงอยู

ประภัสส ร จันทรสถิตยพร

ในหมูผูรักและชื่นชอบในการแสดงศิลปะพื้นบานตางๆ ลิเกถือเปนขวัญใจสําหรับพอยกแมยกทัว่ไป เปนที่นาสังเกตวาในขณะที่ส่ือพื้นบานชนดิอ่ืน ไมวาจะเปนลําตัด หนังตะลุงหรือการละเลนของแตละภาคจะหาดูยากและความนยิมลดนอยลงทุกท ี ลิเกกลับยังพอมีเร่ียวแรงสวนกระแส ดนัตัวเองเขาไปอยูใน โทรทัศน VDO หรือ VCDตามรานเชาได พระเอก นางเอกลิเกกย็ังตดิช่ือติดชั้นไดจงัหวะเปนดาราทั้งจอแกว จอเงินอยูเนืองๆ ส่ิงที่สังเกตไดจากจดุเดนของลิเกปจจุบันก็คือ เร่ืองของชุด เพชร ที่แตละคณะแขงกนัใหระยิบระยับไปหมด การแตงกายของลิเกมีวิวฒันาการที่นาสนใจมาก เพราะมีเอกลักษณเปนของตัวเองและมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ เร่ิมจากลิเกในสมัยทีเ่ปนการสวด ผูสวดจะแตงกายแบบชาวมุสลิมทั่วไป คือ สวมหมวกหนีบ หรือโพกผา สวมเสื้อแขนยาวคอปด นุงโสรง หรือกางเกงขายาว หากเปนงานพิเศษจะสวมเสื้อคลุมทับ และนงุผาทับกางเกงแคเหนือเขาอยางที่พวกมาเลเซียแตงเปนชุดราชการ สําหรับลิเกบันตันและลิเกลูกบทจะแตงกายแบบสามัญชน แตจะมีสีฉดูฉาดอยางที่เห็นจากการแสดงลําตดัในยุคปจจุบนั โดยชายจะสวมเสื้อคอกลมแขนสั้น นุงโจงกระเบนมีผายี่โปคาดพุง สวนหญิงจะสวมเสื้อแขนกระบอก หมสไบ นุงโจมหรือซ่ิน สวนลิเกสิบสองภาษาจะแตงกายเลียนแบบชาติที่ตนกําลังแสดงลออยู โดยใหดูตลกมากกวาจะใหเหมือนจริง แตจุดสําคัญที่เนน คือ การตบแตงศรีษะ เชน จีนสวมหมวกจกุหรืองอบของจีน มอญโพกผาเปนนออยูเหนือหนาผาก พมาโพกผาเปนโบขางหูซาย ฯลฯ ตอมา การแตงกายของลิเกเริ่มเพิ่มความหรูหรามากขึ้นเรื่อย ๆ จนในที่สุด พระยาเพชรปราณี (ตรี) ไดคดิเครื่องแตงกายเลียนแบบขาราชการเต็มยศในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซ่ึงคนรุนหลังเรียกกันวา “ลิเกทรงเครื่อง” ซ่ึงเรียกตามความหรหูราของเครื่องแตงกาย ลิเกทรงเครื่องในยุคแรก ๆ ตวัพระสวมเสื้อเขมขาบแขนยาวทําดวยผาแพรหัวเปด คือเนื้อผาเล่ียนเปนมนัและมีสีเขียวอมฟาอยางหวัเปด เพิ่มระบายที่ชายเสื้อเล็กนอย คาดเข็มขัดอยางละคร และนุงโจงกระเบน แตไมสวมรองเทา ดวยยังถือธรรมเนียมตามอยางละครรําที่วา เวทนีั้นมคีรู การใสรองเทาถือเปนการดูหมิ่น สําหรับเครื่องประดับมีชฎา เรียกวา “ปนจุเหร็จยอด” อันเปนเครื่องประดับศีรษะไมมียอดแตลิเกนํามาตอยอดโปรง ๆ ปนจุเหร็จยอด แตเดิมมีรูปรางเพรียวใชเครื่องขี้รักปดทองติดกระจกอยางกรรมวิธีของการทําชฎาละคร สาเหตุที่ตองสวมปนจุเหร็จยอดคงไดรับอิทธิพลจากละคร

Page 42: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๒

สวนตัวนางสวมเสื้อแขนหมูแฮม หมสไบเลียนแบบสไบของฝายใน ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหวั นุงผายกทองจบีหนานาง สวนเครื่องสวมศีรษะ ถาเปนนางชั้นสามัญจะใชกระบังหนาและปนจเุหร็จ แตถาเปนนางกษัตริยใชกระบังหนาตดิตอยอดเปนมงกุฎ เรียกวา “มงกุฏสตรี” พอในยุคหลังลิเกทรงเครื่องมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติมใหหรูหรามากขึ้น กลาวคือ เสื้อตัวพระเปลี่ยนจากผาแพรหัวเปดเปนผาเยียรบับ ปลายแขนมีแผงเพชรติดแทนการปก ทอนลางเพิ่มสนับเพลาไมมีเชิงงอนอยางละคร ปนจุเหร็จยอดเปลี่ยนจากเครื่องขี้รักเปนเครื่องเงินติดเพชร และมีทรงปอมขึ้นขนนก สวนตัวนาง เสื้อเปลี่ยนเปนผาเยียรบับแขนสั้นมีระบายไมมีสไบ ใชสังวาลอยางตัวพระ แตติดผีเส้ือเพชรที่โบแทนอินทรธนู มงกุฏสตรีมีขนาดใหญและทรงปอมกวาเดิม ทําดวยเงินติดเพชรแทนเครื่องขี้รัก ภายหลังเครื่องแตงกายของลิเกทรงเครื่องไดเสื่อมความนยิมลง เนื่องจากคนเริ่มเบือ่เร่ืองจักร ๆ วงษ ๆ คร้ันถึงสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ อุปกรณที่ใชทําเครื่องแตงกายลิเกหายาก ทั้งคนดูและลิเกจึงหันไปสนใจลิเกทีแ่ตงกายงายกวา เชน ลิเกลกูบท ลิเกแตงเคร่ืองแบบทหาร ฯลฯ สวนเครื่องแตงกายลิเกในยุคปจจบุันเรียกวา “เครื่องลูกบทเพชร” เพราะแตงอยางลิเกลูกบทแตมีเพชรหรูหรากวา เครื่องแตงกาย “ลิเกลูกบทเพชร” นี้แบงออกไดเปน ๒ ภาคดังนี ้ ภาคแรก ตัวพระสวมเสื้อคอกลมแขนสั้น นุงโจงกระเบนทับสนับเพลาสีเดียวกับสีเส้ือ โดยผาโจงใชผาไหมเมืองจีนแทนผายกทองจับจีบและตีปกใหพอง ปลอยชายพกใหฟู สวมถุงนองสีขาว ตามอยางลิเกทรงเครื่อง ศีรษะคาดผาผูกเปนโบขางใบหูซายหรือขวา แลวคาดทับดวยสังเวียนเพชรหอยจี้เพชร และหอยสังวาลเพชรยาวถึงทองนอย คาดเข็มขัดเพชรและรัดสะโพกเพชร มีเส้ือกั๊กเพชรสวมทับเสื้อคอกลม ตัวนางแตงชุดไทยประยุกตตามอยางชุดวัฒนธรรมหญิงไทยของทาน ผูหญิงละเอียด พิบูลสงคราม แตไมสวมถุงเทาและรองเทา ภาคหลัง ในป พ.ศ. ๒๕๑๘–๒๕๑๙ ซ่ึงเปนปการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญของเครื่องแตงกายลิเก คือ ตัวพระแตงคลายภาคแรก ยกเวนตัวเสื้อเปนเสื้อคอลึกสวมทับผาโจงถึงสะโพก แขนยาวโปรงเปนตะแกรงเหมือนตาขายดักแมงดา นุงผาอยางมอญ คือ โจงขางขาขวาจีบหอยชายเสมอเขาซาย ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๒๐–๒๕๒๑ เปนเสื้อคอวีแขนสั้นแคขอศอก รอบคอและปลายแขนปกเพชร บนตาขายหรือผาลูกไมถอดเปลี่ยนได โดยยึดกับตัวเส้ือดวยกระดุมแปะซ่ึงสะดวกในการเปล่ียนสีเส้ือ แตใชเครื่องเพชรชุดเดียวกัน พอป พ.ศ. ๒๕๒๒ ใชเส้ือลูกไมโปรงทั้งตัวปกเพชรตลอดตัว นอกจากนี้ยังมีเครื่องประดับตางๆ คือ ที่บริเวณศีรษะเพิ่มเกี้ยวยอดทําดวยเพชรเรียกวา “หัวมอญ”, ขนนก, ผาคาดหนา, ปน, แผงขาง, ดาว, ตางหู, คอเพชร (สรอยคอ), สายสะพาย, กําไรขอเทาและแหวน สําหรับตัวนางแตงชุดราตรีตามแฟชั่น ศีรษะประดับมงกุฏเพชรอยางนางงาม

Page 43: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๓

ความสวยงามเปนสิ่งที่นามอง โลกของคนดูคนชมลิเกยังแพรวพราวอยูไดก็ดวยเสื้อผาอาภรณที่หรูหราใหบรรดาแฟนๆไดปลอยใจปลอยกายไปกับจินตนาการ ความรักความแคน เจาหญิงเจาชาย ที่พอจะชวยตอลมหายใจใหทั้งคนดแูละคนเลนไดมีชีวติอยูในสังคมที่ความสุขสมอาจไมไดมางายดายเหมือนในทองเรื่อง

Page 44: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๔

ยอนรอย.......บางปะกง

พิมพวดี จันทรโกศล

ดงลําพชูะอุมเขียวคูริมฝง ไมโกงกางสะพรั่งปาจากพรางปดบงัลําเนา

ซอนความสวยเดนเปนรปูเงา ชาวโลกจะรูไมรูชางเขา แตเรารักบางปะกง

(เพลงเรารักบางปะกง ประพันธโดย อาจารยพยงค มกุดา ในงาน ๑๐๐ ป บวรวทิยายน)

ภาพที่สวยงามริมฝงน้ําบางปะกง ที่มตีนไมปาชายเลน ทั้งตนลําพู โกงกาง จาก แสม งามสะพรั่ง ทําใหเห็นถึงความสมบูรณของส่ิงแวดลอม เปนแรงบันดาลใจทําใหผูเขียนไปศกึษาส่ิงแวดลอมของบางปะกง

อําเภอบางปะกงเปนบริเวณปากแมน้ําที่ตดิกับอาวไทย จึงมีน้ําขึ้น น้ําลงตลอดเวลาและยังเปนรอยตอของน้ําเค็มกับน้ําจืดรวมกันเปนน้ํากรอย มีการตกตะกอนทําใหเกิดเปนปาชายเลน จากคําบอกเลาของชาวบาน เมือ่ประมาณ ๔๐ ปที่ผานมา บางปะกงมีบริเวณของปาชายเลนมาก แตในปจจุบันบางปะกงเปนเมืองอตุสาหกรรม ปาชายเลนจึงถูกทําลายสรางเปนโรงงานอุตสาหกรรมอาชีพของคนในทองถ่ินซึ่งแตเดิมทําอาชีพประมงก็กลับกลายเปนมนุษยเงินเดือน ทําโรงงานกันเปนสวนใหญ สังเกตจากเรือประมงที่จอดเรียงรายกันอยูตามริมฝงลดลงเหลือนอยมาก ผูที่ยังทําอาชีพนี้อยูบอกวาปลาและสัตวน้ําหายากกวาเดิมตองออกไปไกล ๆ ถึงพอจะไดบาง บางก็หันมาเลีย้งปลากระพงในกระชัง ไมเพยีงเทานั้นธรรมชาติยังสรางใหมีปาชายเลนในบริเวณที่มกีารกดัเซาะของน้ําทั้งบริเวณที่ตดิกบัทะเล ริมฝงแมน้ําเพื่อชวยไมใหดินเคลื่อนตัวไปกับความแรงของกระแสน้ํา แมกระนั้นริมฝงแมน้ําในบริเวณของโรงเรียนบางปะกง “บวรวิทยายน” ที่อยูชวงคุงน้ําพอดยีังหายลงไปในน้ําถึง ๑๐ ไร จากเหตนุี้จึงเปนสวนหนึ่งที่ทําใหโรงเรียนเหน็ความสําคัญของสิ่งแวดลอมปาชาย ปลูกปาเพิ่มเตมิกับปาเดิมทีม่ีอยู พรอมกับใหความรูกบันักเรียน จนโรงเรียนไดรับคัดเลือกใหเปนศูนยส่ิงแวดลอมศึกษาจังหวดัฉะเชิงเทรา โดยมีปาชายเลนพื้นที่เปนปาชายเลนจํานวน ๓๔ ไร จากพื้นที่ ๖๘ ไรของโรงเรียน ทางโรงเรียนจงึไดทําการศึกษา สํารวจพันธุพืช พันธุสัตวในปาชายเลนภายในโรงเรียนพบวาม ี พนัธุพืชจํานวน ๓๘ ชนดิและมีพันธุสัตว จํานวน ๓๒ ชนิด ที่อาศัยอยูอยางสมดุลย ทางโรงเรียนจึงเห็นวาควรตองมีการอนุรักษปาชายเลนโดยเริ่มจากนกัเรียนทีเ่ปนเยาวชน เปนกําลังสําคัญของชาติ ใหรูจักรักและไมทําลาย และยังชวยเผยแพรความรูเกี่ยวกับปาชายเลนไดโดยจัดตั้งโครงการมัคคุเทศกนอย ใหเปนผูนําชมและใหความรูเกี่ยวกับปาชายเลนในโรงเรียน ทั้งระบบนิเวศที่สมบูรณเปนอยางไรและสามารถบูรณาการกับการเรียนการสอนกับกลุมสาระการเรียนรู ๘ กลุมสาระไดอยางไร กับผูเขาเยี่ยมชม ที่มีทัง้สถานศึกษาตางๆ ตั้งแตระดับอนุบาลจนถึง

Page 45: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๕

ระดับอุดมศึกษา หนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและตางประเทศเขามาศึกษาดูงานเปนจํานวนมาก ทําใหเกิดการเรียนรู รักและรักษาสิ่งแวดลอม ปาชายเลนที่กาํลังจะหมดไปใหคงอยู

ถาเราเริ่มใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมทีอ่ยูใกลตวัเรา โดยเริ่มจากตัวเรา แลวเปนสื่อประกาศใหโลกรูวา เรารักบางปะกง

Page 46: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๖

โดย...พรรณวลัย คีรีวงศวัฒนา

เมื่อใดที่มีการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม นักวางแผนทั้งหลายจะตองกลาวถึงการ

พัฒนากําลังคนที่เนนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงมักมีการละเลยหรือใหความสําคัญแกการสอนศิลปะนอยลง นับตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘ เปนตนมา รัฐไดเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาโดยเนนคนหรือทรัพยากรมนุษยเปนเปาหมายหลัก โดยใหคนไทยทุกคนไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ เพื่อใหเปนคนดีมีคุณธรรม มีจิตสํานึก รับผิดชอบตอตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม มีคานิยมอันดีงาม ทิศทางการพัฒนาประเทศของไทยโดยยึดแนวคิด “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” ในทุกมิติอยางเปนองครวม และใหความสําคัญกับการพัฒนาที่สมดุลทั้งดานตัวคน สังคม เศรษฐกิจและส่ิงแวดลอม เพื่อใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยกําหนดลักษณะที่พึงประสงคของคนไทยในอนาคตที่สนับสนุนการพัฒนาใหประเทศมีความเจริญกาวหนาไดรวดเร็วและสอดคลองกับสภาพสังคมไทยและสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลก(แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๘, ๒๕๔๐ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๙, ๒๕๔๔) เมื่อศึกษาถึงแนวทางการพัฒนาประเทศในเอเชียที่มีความเจริญรุงเรืองทัดเทียมประเทศในยุโรปและสหรัฐอเมริกาไดอยางรวดเร็วและมั่นคงเชนญี่ปุน พบวา ประเทศญี่ปุนใหความสําคัญตอการพัฒนาคนอยางมาก โดยสภากลางทางการศึกษาของญี่ปุนไดกลาวถึงลักษณะคนที่พึงประสงคอันจะมีสวนพัฒนาเยาวชนและสังคมใหมีความสุขและเจริญ กาวหนาไดเปนประการแรก คือ ควรมีความรูสึกออนไหวตอความงามและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ (The Central Council for Education,1998) นอกจากนั้น แนวทางในการสรางและพัฒนาคนใหไดลักษณะที่พึงประสงค ตามวิสัยทัศนการมุงสูเกาะอัจฉริยะ (Shibata,J.,2002)ของประเทศสิงคโปร ประการหนึ่ง คือ มุงใหดํารงเอกลักษณของตน ทั้งทางดานวัฒนธรรม จริยศึกษาโดยมุงเนนที่ความซื่อสัตย มีสุนทรียะ เพื่อสามารถจัดการความเครียดและหาความสุขใหกับตนเองได จะเห็นไดวาปจจัยสําคัญประการหนึ่งในการพัฒนาประเทศใหเจริญ กาวหนาไดคือการพัฒนาคนใหมีสุนทรียภาพ รับรูความงามของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ตลอดจนตระหนักในคุณคาของศิลปวัฒนธรรมของชาติ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ , ๒๕๔๕) ไดรวบรวมและศึกษา

Page 47: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๗

คุณลักษณะและภาพอนาคตคนไทยที่พึงประสงค คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงคหามิติหลักนั้นทักษะทางสุนทรียะเปนหนึ่งในมิติดานทักษะที่ควรสงเสริม ความเปนมนุษยนั้นมิไดมีแตเพียงรางกายเพียงอยางเดียว จิตใจก็ถือวาเปนองคประกอบสําคัญยิ่งในหลักทางปรัชญาถือวาความเปนมนุษยที่แทจริงตองรูจักคุณคาของความเปนมนุษย คือ ความดี ความงามและความเปนผูรู มีเหตุผลหรือสติปญญา สุนทรียภาพจึงมีความสําคัญในสวนของคุณคาของมนุษย ที่จําเปนตองมีการพัฒนาคานิยมทางความรูสึกตอความงามที่ตนสนใจใหสอดคลองกับสิ่งที่สังคมที่อาศัยอยูยึดถือปฏิบัติกันหรือใหเปนไปตามทัศนะของมวลมนุษยชาติ ความรูสึกตอความงามจึงเปนสิ่งที่มนุษยทุกคนขาดไมได มนุษยยอมตองการความเพลิดเพลิน อยากรูอยากเห็นในสิ่งที่สวยงามเพื่อชวยจรรโลงจิตใจ ดังนั้น สุนทรียศาสตรจึงเปนสิ่งที่มนุษยตองเรียนรูทั้งทางตรง ไดแกการเรียนรูอยางเปนระบบโดยอาศัยศิลปะเปนเครื่องมือในการสื่อสารอารมณของความงามตอมนุษยดวยกัน และในทางออมเกิดจากการไดสัมผัสความงามของธรรมชาติและงานศิลปะที่มนุษยไดกระทําไวใหสังคมไดช่ืนชมในรูปแบบตางๆที่แฝงอยูในงานที่เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ดังนั้น จึงถือวาความงามเปนวัฒนธรรมของมนุษยอยางหนึ่งที่แสดงถึงความเจริญทั้งทางวัตถุและจิตใจในสังคม ตลอดจนแสดงถึงความเปนผูมีวัฒนธรรมซึ่งบงบอกถึงความเปนอารยชนอีกดวย สุนทรียภาพ (Aesthetic) หรือสุนทรียะ คือ ความซาบซึ้งในคุณคาของสิ่งที่งาม ไพเราะหรือร่ืนรมย ไมวาจะของธรรมชาติหรืองานศิลปะ (พจนานุกรมศัพทศิลปะ, ๒๕๓๐ : ๖) ซ่ึงเจริญขึ้นไดดวยประสบการณหรือการศึกษา อบรม ฝกฝน จนเปนอุปนิสัยเกิดเปนรสนิยมขึ้นในตัวบุคคล ซ่ึงสามารถสรางขึ้นไดตั้งแตวัยเด็กถึงเยาวชน ทั้งในหองเรียนและนอกหองเรียน เรามีนักวิชาการซึ่งเปนครูศิลปะทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาจนกระทั่งถึงอุดมศึกษาในจังหวัดฉะเชิงเทรามากมาย ในฐานะที่เปนนักวิชาการศิลปะในทองถ่ิน เราไดเสริมสรางสุนทรียภาพแกเยาวชนอยางไรบาง

ศิลปะเปนศาสตรแขนงหนึ่งที่มีบทบาทในดานการสรางเสริมมนุษยใหมีพัฒนาการทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณ สังคม การรับรู ความคิดสรางสรรคและสุนทรียภาพ การเรียนรูศาสตรทางศิลปะทําใหเปนคนชางสังเกต ละเอียดออน ไวตอการรับรูส่ิงตางๆรอบตัว มีโอกาสสํารวจ ทดลองหาประสบการณการรับรูจากประสาทสัมผัส สงเสริมใหใชความคิด จินตนาการ การวิเคราะห วิจารณอยางมีเหตุผลและการแกปญหาอยางมีระบบดวยวิธีการตางๆ ส่ือสารความรูสึกนึกคิดที่เปนนามธรรมออกมา เปนรูปธรรมที่เขาใจได ศิลปะสามารถเชื่อมโยงกับสหวิทยาการ เพื่อประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสมและเพิ่มพูนประสิทธิภาพในงานอาชีพแขนงตางๆอีกดวย ดวยแนวคิดและความตองการในการรวมมือเพื่อพัฒนามาตรฐานทางศิลปะของนักเรียนในจังหวัดฉะเชิงเทรารวมถึงพัฒนาวิชาชีพครูศิลปะในจังหวัดฉะเชิงเทรา โดยการแลกเปลี่ยนความรู

Page 48: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๘

ประสบการณ ใหคําแนะนําและชวยเหลือกันระหวางสมาชิก และเผยแพรความรูทางศิลปะแกบุคคลทั่วไป กลุมนักวิชาการศิลปะดังกลาวไดรวมตัวกันสรางสรรคกิจกรรมที่เปนประโยชนและสามารถพัฒนาคุณคาทางสุนทรียภาพแกสังคม ดวยรูปของการจัดกิจกรรม เชน คายศิลปะ นิทรรศการทางศิลปะ การอบรมสัมมนาทางศิลปะ ในนามของชมรมครูศิลปะฉะเชิงเทรา

ชมรมครูศิลปะฉะเชิงเทราจัดกิจกรรมคายศิลปะ เพื่อเปนการสงเสริมนักเรียนในจังหวัดฉะเชิงเทราใหมีสุนทรียภาพ ช่ืนชมและเห็นคุณคาของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคางานศิลปะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย โดยมีแนวคิดจากการจัดกิจกรรมคายสุนทรียภาพ เมื่อวันที่ ๖-๘ สิงหาคม ๒๕๔๕ ณ โรงเรียนเบญจมราชรังสฤษฎิ์ ๒ เพื่อใหเยาวชนมีพัฒนาการทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคมควบคูไปกับการพัฒนาอัจฉริยภาพที่พัฒนาความรู ความสามารถทางวิชาการ โดยจัดการเรียนรูในลักษณะบูรณาการสาระทางทัศนศิลป ดุริยางคศิลป นาฏศิลป อันเปนสาระที่มีสวนในการเสริมสรางความละเอียดออนในการรับรูและเขาถึงความงาม และสาระทางพลานามัยที่มีสวนในการเสริมสรางความสมบูรณทางรางกาย รวมทั้งการเชื่อมโยงความสัมพันธไปสูการเห็นคุณคาของภูมิปญญาไทยและภูมิปญญาทองถ่ิน เพื่อใหเกิดการสืบทอด อนุรักษ และพัฒนา

ผลสรุปการดําเนินงานของโครงการ พบวา นอกจากนักเรียนที่เขารวมโครงการจะไดรับรูความงาม สามารถแสดงออกและสรางสรรคงานศิลปะที่สะทอนถึงความชื่นชมและเห็นคุณคาของธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มีความภาคภูมิใจในงานศิลปะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยแลวนักเรียนยังไดรับความสุข สนุกสนาน กลาแสดงออก มีความมั่นใจในตนเอง อีกทั้งมีทักษะการจัดการ การทํางานรวมกับผูอ่ืน มีความสามัคคีและมีมนุษยสัมพันธกับเพื่อนตางโรงเรียน และในโอกาสนี้คณะกรรมการดําเนินงาน ซ่ึงเปนครูศิลปะจากโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา ไดเสนอแนวคิดในการจัดตั้งชมรมครูศิลปะ โดยรวมมือกับโปรแกรมศิลปะสถาบันราชภัฎราชนครินทร ซ่ึงเปนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทางดานศิลปะในจังหวัด จัดกิจกรรมคายศิลปะครั้งแรกในนามของชมรมฯในชื่อวา คายศิลปะ “รักสิ่งแวดลอม” ในวันที่ ๑๗-๑๙ ธันวาคม ๒๕๔๖ ณ สถาบันราชภัฏราชนครินทร (หัวไทร) อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พรอมกันนั้นไดจัด การประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง”การจัดกิจกรรมศิลปะเพื่อพัฒนาเยาวชน” สําหรับครูศิลปะขึ้นในโอกาสเดียวกัน และตอเนื่องมาจนถึงโครงการคายศิลปะ “เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ” ในวันที่ ๔-๖ ตุลาคม ณ โรงเรียนพุทธิรังสีพิบูล ซ่ึงนอกจากจะสงเสริมใหเยาวชนมีสุนทรียภาพ ช่ืนชมและเห็นคุณคาของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย เห็นคุณคางานศิลปะท่ีเปนมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยแลวยังถือเปนโอกาสอันเปนมงคลในการแสดงการระลึกถึงพระอัจฉริยภาพและมหากรุณาธิคุณสมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถในดานการสงเสริม ทํานุบํารุงส่ิงแวดลอม ตลอดจน

Page 49: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๔๙

ศิลปกรรมและภูมิปญญาไทย เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระองคในวโรกาสที่ทรงมีพระชนมายุครบ ๗๒ พรรษา สุนทรียภาพของเยาวชนที่เขารวมในกิจกรรมไดสะทอนออกมาจากการทํากิจกรรมที่กระตุนใหผูเขารวมกิจกรรมไดเกิดจิตสํานึกในการเห็นคุณคาความงามของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม งานศิลปกรรมและภูมิปญญาที่นักเรียนไดสัมผัสจากสภาพจริง เชน กิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อสงเสริมการรับรูความงามของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ศึกษาระบบนิเวศปาชายเลน กิจกรรมทัศนศึกษาเพื่อสรางความตระหนักในคุณคาของภูมิปญญาทองถ่ิน รูจักศิลปนในทองถ่ิน อ.พิทักษ ปยะพงษ กับสมาคมสรางสรรคศิลปนนอย ศิลปกรรมในทองถ่ิน กิจกรรมดนตรีไทย รูจักชมรมลิเก ดนตรีไทยภาคตะวันออก กิจกรรมที่ไดปฏิบัติจริง ไดแก ปฏิบัติการกิจกรรมความคิดสรางสรรค กิจกรรมเทคนิคศิลปะ ปฏิบัติการศิลปกรรมเรื่อง”เมืองฉะเชิงเทรา” ศิลปกรรมเฉลิมพระเกียรติพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ กีฬา/เครื่องเลนพื้นบาน เมื่อสํารวจความเห็นของเยาวชนที่มีตอการจัดคายศิลปะ พบวา เยาวชนคิดวาไดประโยชนในการเขาคายมาก เพราะ บรรลุตามเจตนารมณที่ตองการมาเขาคาย คือ ไดความรูและทักษะศิลปะเพิ่มเติมจากที่เรียนจากหองเรียนที่โรงเรียน ไดประสบการณและรูจักเพื่อนใหมตางโรงเรียนที่มีความสนใจดานเดียวกัน ไดความสนุกสนาน เยาวชนเห็นคุณคาของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอมและศิลปะ ภูมิปญญาในทองถ่ิน อยูในระดับมาก เพราะเยาวชนไดมีโอกาสใชเวลา ๓ วันอยูกับการชมธรรมชาติ ศิลปะ ภูมิปญญาในทองถ่ิน เรียนรูความเปนมาของทองถ่ินและถายทอดการรับรูนั้นเปนผลงานทางศิลปะ สําหรับความเห็นของของบุคคลทั่วไปที่มีตอสภาพทั่วไปของคายศิลปะ พบวา กิจกรรมนี้ควรจัดอยางตอเนื่องมากที่สุด เนื่องจาก กิจกรรมคายศิลปะ เปนกิจกรรมที่เกิดจากความรวมรวมมือกันของครูศิลปะที่มีความรู ประสบการณไดมาพบปะ แลกเปลี่ยนประสบการณซ่ึงกันและกัน รวมทั้งใหความรูแกนักเรียน ซ่ึงจะไดเรียนรูจากผูที่มีความสามารถ ความชํานาญอันหลากหลาย นอกจากนั้น ยังเปนกิจกรรมที่สรางความสมัครสมานสามัคคี และความมีมนุษยสัมพันธ สามารถทํางานรวมกับผูอ่ืน มีทักษะการจัดการ กลาแสดงออก มีความมั่นใจในตนเอง อันเปนคุณลักษณะอันพึงประสงคของเยาวชนรุนใหมในยุคปจจุบันและอนาคต

การเสริมสรางสุนทรียภาพของเยาวชนมิใชเปนเพียงหนาที่ของบุคคลหรือหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งมิไดจํากัดวงแตเพียงเยาวชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา แตความสําเร็จของการปลูกฝงสุนทรียภาพนั้นจําเปนตองมีการรวมมือจากฝายตางๆในการดําเนินงานอยางครบวงจร ไมวาจะเปนสถาบันครอบครัว ผูนําทางสังคม การเมือง กฎหมาย การศึกษา ส่ือ ชุมชนและศาสนา ใหขยายขอบเขตออกไปสูกลุมบุคคลในวัย รวมทั้งภูมิภาคตางๆ อยางทั่วถึง เพื่อเปนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหมีคาของสังคมสืบไป.

Page 50: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๐

เอกสารอางอิง เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศศักดิ์.รายงานคุณลักษณะสําคัญท่ีพึงประสงคของคนไทยตามแตละชวงวัย.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพองคการคาของคุรุสภา, ๒๕๔๖.

คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ,สํานักงาน.ทฤษฎีการเรียนรูเพื่อพัฒนาสุนทรียภาพและลักษณะนิสัย:ศิลปะ ดนตรี กีฬา . กรุงเทพฯ, ๒๕๔๐.

ชมรมครูศิลปะฉะเชิงเทรา.รายงานผลการดําเนินงานกิจกรรมคายสุนทรียภาพ.เอกสารอัดสําเนา,ฉะเชิงเทรา, ๒๕๔๕.

ชมรมครูศิลปะฉะเชิงเทรา.รายงานผลการดําเนินงานกิจกรรมคายศิลปะรักสิ่งแวดลอม.เอกสารอัดสําเนา, ฉะเชิงเทรา, ๒๕๔๖.

ชมรมครูศิลปะฉะเชิงเทรา.รายงานผลการดําเนินงานกิจกรรมคายศิลปะเฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ” เอกสารอัดสําเนา, ฉะเชิงเทรา, ๒๕๔๗.

ดํารง วงศอุปราช.กิจกรรมศลิปะ:อารตแคมป.ศิลปะเด็กความคิดสรางสรรคและจินตนาการ.สรุปการจัดชุมนุมเชิงปฏิบัติการศิลปะเดก็ (Art Camp).กระทรวงศึกษาธิการ,กรุงเทพมหานคร:อัมรินทรการพิมพ, ๒๕๒๙.

ธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์. ทัศนะของผูเชีย่วชาญดานการพัฒนาหลักสูตรและนักการศึกษาดานศิลปศึกษาเกี่ยวกับแนวโนมของหลักสูตรศิลปศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนในทศวรรษหนา.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ ภาควิชาศิลปศึกษา คณะครุศาสตร บัณฑิตวทิยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๐.

ทวีเกยีรติ ไชยยงยศ. สุนทรียะทางทัศนศิลป. กรุงเทพฯ:ฝายเอกสารและตํารา สถาบันราชภัฏสวนดุสิต, ๒๕๓๘.

พีระพงษ กุลพิศาล.มโนภาพและการรบัรูทางศิลปะ.ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการ หนวยศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู.กรุงเทพฯ:โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๓๑.

วิจัยทางการศกึษา,กอง.กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสรางเสริมคุณลักษณะเกง ดี มีสุข.กรุงเทพฯ:โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๔๓.

ศักดิ์ชัย เกยีรตินาคินทร. ความสัมพันธระหวางคุณคาศิลปกรรมกับการสรางทัศนคตติอตนเองละความผูกพนักับชุมชน.วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ภาควิชสารัตถศึกษา คณะครุศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.

สถิต วิเศษสัตย.การศกึษาการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรศิลปศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ไดรับรางวัลพระราชทาน สังกดักรมสามัญศึกษา จังหวัดเลย.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาศิลปศกึษา คณะครศุาสตร บัณฑติวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย, ๒๕๔๐.

Page 51: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๑

พิพิธภัณฑภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โรงเรยีนพุทธโสธร อาจารยนันทา ผลบุญ

ประวัติความเปนมา

ตั้งอยูบนอาคารเอนกประสงคช้ัน ๓ โรงเรียน พุทธโสธร อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนสถานที่ จัดเก็บและจัดแสดงโบราณวัตถุและส่ิงของเกาแก ที่หา ไดยากในจังหวัดฉะเชิงเทราตามดําริของหลวงปู พระพรหมคุณาภรณ (นายดาบ เจียม กุลละวณิชย) ปฐมาจารยผูกอตั้งโรงเรียนพุทธโสธร ซ่ึงขณะนั้นทานดํารงตําแหนงเจาอาวาสวัดโสธร เจาคณะจังหวัดฉะเชิงเทรา เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช มีพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา อาคารเอนกประสงคเร่ิมโครงการเพื่อนอมเกลา ฯ ถวายในหลวง ตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๖ และเสร็จสมบูรณ ในป ๒๕๓๐ ไดรับพระราชทานชื่อวา “ อาคารเอนกประสงค หอสมุด หอพิพิธภัณฑภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ” ตลอดเวลาหลวงปูพระพรหมคุณาภรณ มาดูแลการกอสรางเกือบทุกวัน และไดนอมเกลา ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๑ ชาวแปดริ้ว คณะครู นักเรียนโรงเรียนพุทธโสธร มีความภาคภูมิใจและซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน เนื่องในพระราชวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ พรอมดวยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดอาคารเอนกประสงค หอสมุด หอพิพิธภัณฑพรอมกับทรงวางศิลาฤกษ พระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหารหลังใหม

พระพรหมคุณาภรณ (นายดาบ เจียม กุลละวณิชย)

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ พรอมดวยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เสด็จทอดพระเนตรพิพิธภัณฑ ณ อาคารเอนกประสงคโรงเรียนพุทธโสธร ๑๙ มกราคม ๒๕๓๑

Page 52: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๒

ภายในพิพิธภณัฑ

จากความชํานาญและเชี่ยวชาญอยางยิ่งของสถาปนิกจากกรมศิลปากร คือ อาจารยประเวศ ลิมปะรังสี นายเมธา คันธโร และนางสาวบุศกร สมจติติ หอพิพิธภณัฑ จึงจัดไดวาเปนอาคารที่จัดตกแตง และออกแบบไดสัดสวนเหมาะสมเปนอยางยิ่งโดยแบงพืน้ที่ใชสอยออกเปน 3 สวนดังนี ้ สวนที่ ๑ เปนสวนจัดแสดงศิลปวัตถุที่หาไดจากพื้นที่ในจังหวัดฉะเชงิเทรา ในแตละยุค แตละสมัย ประกอบดวยองคหลวงพอพุทธโสธรจําลอง พระเครื่องบูชา ภาชนะเครื่องปนดินเผา ตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร ฯลฯ

ตัวอยางวัตถุโบราณที่จัดแสดงในสวนที่ ๑ ภายในพิพิธภัณฑ

Page 53: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๓

สวนที่ ๒ เปนหองโถงใหญอยูตรงกลางจัดแสดงศิลปะและวัฒนธรรมไทย ภูมิปญญา ทองถ่ินและวถีิชีวิตของประชาชน

ตัวอยางวัตถุโบราณที่จัดแสดงในสวนที่ ๒ ภายในพิพิธภัณฑ

Page 54: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๔

สวนที่ ๓ มุงแสดงเกีย่วกับความเปนมาของชนชาติไทย ปลุกเราใหเกดิความเปนชาตินิยมรักและเทิดทูนหวงแหนสถาบันพระมหากษัตริยอันเปนศูนยรวมจิตใจของชนชาวไทย

ตัวอยางการจัดแสดงในสวนที่ ๓ ภายในพิพิธภัณฑ

Page 55: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๕

ขอมูลภาษาอังกฤษ

Puttasothorn School Museum Puttasothorn School Museum is Located on the third floor dt Anekprasong Building , Puttasothorn School Amphur Muang Chachoengsao. There is a place of Antiques and former thing in Chachoengsao. To consider of Luang poo Jiam who was the abbot of Wat Sothorn at that times. To celebrate the 60 th His majesty the King’s Birthday. The Anekprasong Building was built to put forward to the King since 1983 and finished in 1987. Luangpoo Jiam, the abbot served the building everyday while is was in construct.

In January 1988. The King and Her Royal Highnes Princess Maha Sirinthorn came to open The Anekprasong Building. The School Library is on the second floor and the museum is on the third floor. At that times the King put a foundation at a partial list of new Wat Sothorn. Inside At the first floor of The Anekprasong is a big hall. That is suitable for the activities with 1,600 people. And it is (approximatry for the big seminar. It’s install of Buddha Image for rite to make a pilgrimage. The second floor , a school library that’s suitable for 500 people. And a small hall named Moonlaniti Tepbamroong for the conference with a hundred of people. The third floor is a museum and the center of culture and art. The area is abont 1,600 square metres. Under the contral of an architect from the Department of Fine Arts. A small part at the east of the room is an astronomy’s observatory project.

Page 56: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๖

Inside the museum. Decorated and design by the architect from fine Arts Department. It separates into three part.

Part I A part of former things in Chachoengsao to display from time to time. To assemble with Luang por Sothorn Buddha Image and Banchiang Pottery

Part II

A hall in the middle is displayed the Thai culture, Local wisdom and folk way of life.

Part III The history of Thailand to encourage the Thai people to be a nationalist and Royal The Kings of Thailand. The Thrones of His Majesty the King Bhumibol Adulyadej and Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirinthorn. 19 January 2531 King Bhumibol Adulyadej and Her Royal Highnes Princess Maha Chakri Sirindhorn made a royal visit to the museum. ( King Bhumibol Adulyadej Maharaj Museim) Phra Phromkhunaporn (Luang Poo Jiam) who estrablished a monument and a multipurpose building * library and museum on the occasions of the 60 th Anniversary of King Bhumibol Adulyadej’s Birthday on 5 December 2530 B.E. “The Thrones” are now disphying at the museum under the initiatives of His Majesty the King,whose beneficence was cherished by all Puttasothorn students and all teachers

*or Anek Prasong building Special Thanks To the ones who donated every antiquity and art objects to the museum Puttasothorn School take the good served for every pieces of those thing by registing and taking the pictures all of them.

เรียบเรียงโดย นางพวงเพชร โหมดประดษิฐ

Page 57: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๗

แนะนําโบราณวัตถุ ในหอพิพิธภณัฑภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โรงเรียนพุทธโสธร

พระพุทธรูป

พระพุทธรูปเปนงานประตมิากรรมแทนองคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดจดัสรางขึ้น ภายหลังที่พระพุทธองคเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแลว ประมาณ ๖๐๐ กวาป ในสมัยคันธารราษฎร ซ่ึงแตเดิมพระเจาอโศกมหาราช ตนราชวงศโมลิยะ ซ่ึงทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาไดทรงสรางแตเพยีงรูปสัญลักษณแทน เชน ดอกบัว หมายถึง ประสูต ิ ตนโพธิ ์ หมายถึง การตรัสรู ธรรมจักร หมายถึง การแสดงธรรม สถูป หมายถึง การเสด็จดับขนัธปรินิพพาน ดังนั้น การสรางพระพุทธรูปจึงไดสรางตามลักษณะมหาบุรุษลักษณะเดน ๓๒ ประการและลักษณะอืน่ ๆ อีก รวม ๘๐ ประการ ลักษณะมหาบรุุษ หรือพุทธลักษณะ เปนลักษณะตดิตัวมาแตกําเนดิ อสิตะดาบส จึงสามารถทํานายกาลอนาคตของเจาชายสิทธัตถะเมื่อพบครั้งแรกได การสรางพระพุทธรปูจึงสรางตอกันมาพัฒนารปูแบบตามความเชื่อของแตละยุคสมัย มาเจริญรุงเรืองสุดในสมัยคุปตะ ซ่ึงใหอิทธิพลตอพุทธศิลปในไทยอยางมากมาย พระพทุธรูปสมัยทวาราวดี ชางศิลปไทยไดนาํมาปรับปรุงแกไขจนเปนพุทธศิลปแบบไทยอยางแทจริง แบงไดเปนสมัยตาง ๆ ดังนี ้ สมัยทวาราวด ี (พุทธศตวรรษ ๑๑-๑๖) สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษ ๑๓-๑๘) สมยัลพบุรี (พุทธศตวรรษ ๑๖-๒๐) สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษ ๑๗-๒๑) สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษ ๑๘-๒๐) สมัยอูทอง (พุทธศตวรรษ ๑๗-๒๐) สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษ ๑๙-๒๔) สมัยรัตนโกสินทร ยุคแรก รัชกาลที่ ๑-๓ ยุคกลาง รัชกาลที่ ๔ ยุคปลาย รัชกาลที่ ๗-๘ ยุคปจจุบัน รัชกาลที่ ๙

Page 58: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๘

นอกจากการจดัศิลปวัตถุ ศลิปะและวัฒนธรรมไทย ภมูิปญญาทองถ่ินและความเปนมาของ ชนชาติไทย อันมีสถาบันพระมหากษัตริยเปนศูนยรวมจติใจของชนชาวไทย ในพพิิธภัณฑภูมิพลอดุลยเดชมหาราช โรงเรียนพทุธโสธร ยังไดจัดแสดงเรื่องราวเกีย่วกับพระพุทธรูปสมัยตาง ๆ เชน สมัยศรีวิชัย ลพบรีุ เชียงแสน สุโขทัย อูทอง อยุธยา รัตนโกสินทร รวมถึงพระพทุธรูปปางตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับชวีิตประจําวัน และพุทธประวัติ ตลอดจนยงัไดจัดแสดงเครื่องใช ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ออกเปนหมวดใหญ ๆ ได ๒ หมวด คือ ๑. เครื่องใชสวนตวัของพระสงฆ ๒. เครื่องใชของวดั และเครื่องมือเครื่องใชที่สําคัญในอดีต รวมถึงศิลปะพื้นบาน

โรงเรียนพุทธโสธร จึงขอเชิญชวนใหหนวยงานตาง ๆ เขาศึกษา เยี่ยมชม และประชาสัมพันธพิพิธภัณฑ เพื่อเปนการสงเสริมใหนักเรียน นักศกึษา และผูสนใจทั่วไปไดเรียนรูประวัติศาสตรของทองถ่ินและของชาติไทย โดยเปดทาํการเวลาราชการ สวนผูสนใจเขาเยี่ยมชมนอกเวลาราชการสามารถติดตอกับทางโรงเรียนไดโดยตรง ที่ อาจารยนันทา ผลบุญ โทร.038-511989

Page 59: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๕๙

แมน้ําบางปะกงแหลงชีวิต วัลลภา ชํานาญคา

ฝงชายน้ําบางปะกง

ยามเมื่อแสงอาทิตยอัสดง ใกลจะค่ําลงแลวหนา แตบางปะกงนัน้ยังคงสวยงามตา คราใกลสนธยา ยิ่งพาใหเราสุขสันต

แดดจวนลับลงรําไร มองเห็นเรือนอยลองลอยไป ตื่นใจดั่งยลธารสวรรค

เยือกเย็นสายลม พร้ิมพรมอยางนี้ทุกวนั ธรรมชาติยามสายยัณห ไดเห็นแลวลืมไมลง..........................

ขางบนนี้คือสวนหนึ่ง ของบทเพลง “บางปะกง” ที่ผูแตงคือ นคร มงคลายน ผูขับรอง เพ็ญศรี

พุมชูศรี ซ่ึงผูเขียน ไดฟงเพลงนี้มาตั้งแตสมัยยังเปนเดก็ๆ เนื้อรองและทํานองของเพลงชางไพเราะและบรรยายถงึความงามของสองฝงแมน้ําบางปะกง ที่ไดภาพที่ประทับใจ เมื่อไดยนิไดฟงเมื่อใด จะเกิดความซาบซึ้งเปนอยางยิ่ง วันนี้จึงอยากมาเลาเกีย่วกบั “ แมน้ําบางปะกง” ที่เปนแมน้ําสําคัญสายหนึ่งของประเทศไทย ซ่ึงมีความเกีย่วพันและสําคัญอยางยิ่งสําหรับจังหวดัฉะเชงิเทรา และจังหวัดใกลเคียง แมน้ําบางปะกงเปรียบเสมือนเสนเลือดใหญ อันมีความสําคัญตอชีวิตคนที่อาศัยอยูสองฝากฝงแมน้ํามาเนิน่นาน ทุกยคุทุกสมัย เปนแหลง อารยธรรมและความเจริญของแผนดินมาแตโบราณ เปนแหลงอาหาร อันอุดมสมบูรณ แกผูอาศัยในลุมน้ําแมน้ํา แมน้ําบางปะกงมีความยาว ความกวางใหญและความลึก สะดวกแกการสัญจรไปมาทางน้ํา มีธรรมชาติกําเนิดมาจาก ทวิเขาสันกําแพง ไหลผานจังหวัดปราจีนบรีุ นครนายกและฉะเชิงเทรา ออกสูอาวไทยที่อําเภอบางปะกงรวมเปนระยะทางประมาณ ๒๓๐ กิโลเมตร ดินในลุมแมน้าํบางปะกงเปนดินที่ไดช่ือวามีคุณสมบัติด ี เหมาะกับการเพาะปลูกมากที่สุดโดยเฉพาะตอนกลางและตอนปลายของลุมแมน้ํานัน้ เปนแหลงชุมชนเกษตรกรรมที่ใหญที่สุดของประเทศ ชาวบานบริเวณริมฝงแมน้ําจะ ทําการเกษตรแบบผสมผสาน ทั้งเพาะปลกูขาว ผัก ผลไม หมากพลู จาก และเลี้ยงเปด หมู กุง ปลา แมน้ําบางปะกงยังคงผลิตอาหารเลี้ยงดินแดนทั่วทั้ง ภูมิภาคตะวนัออก และเปนแหลงสงออกผลผลิตทางการเกษตรที่สําคัญของไทย

แยกจากแมน้ําบางปะกง คือคลองสําคัญหลายสายที่ใชเปนเสนทางคมนาคม เปนแหลงน้ํากิน น้ําใชและบํารุงพืชผลทางการเกษตร คลองสายใหญที่สุดคือคลองประเวศบุรีรมย เปนคลองหนึ่งที่ขุด

Page 60: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๐

ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ พระยาดํารงราชพลขันธเปนแมกองขุด เปนคลองที่แยกจากแมน้ําบางปะกงไปติดตอกับเขตอาํเภอบางบอ จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อใชเปนเสนทางคมนาคมและเสนทางชลประทาน บุกเบิกเขาไปในบริเวณที่ยังรกรางวางเปลา เพื่อใหประชาชนเขาไปตัง้ถ่ินฐานและแผวถางขยายพื้นทีใ่นการทํานา

แมน้ําบางปะกง ที่ไหลเขาสูจังหวัดฉะเชงิเทรา จะไหลผานอําเภอบางน้ําเปรี้ยว กิ่งอําเภอคลองเขื่อน อําเภอบางคลา อําเภอเมืองฉะเชงิเทรา อําเภอบานโพธิ์ และอําเภอบางปะกง ที่เขตอําเภอบางปะกงนัน้มีบริเวณตดิทะเลยาวถึง ๑๒ กิโลเมตร เหตุที่แมน้ําสายนี้ช่ือวา บางปะกง มีขอสันนิฐานวานาจะมาจากชื่อปลาชนิดหนึ่งที่มีอยูชุกชุมในแมน้ําสายนี้ในสมัยกอน คือ ปลาอีกง จึงเรียกลําน้ําสายนี้วา บางปลาอีกง ตอมาจึงกลายมาเปน บางปะกง แมน้ําบางปะกง ยังเปนแมน้ําหนึ่งที่ถือวาเปนแหลงน้ําที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่ใชในการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ของประเทศ มาตั้งแตสมัยโบราณ เชนพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยา เปนตน การทําน้ําศักดิ์สิทธิ์เกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีมาตั้งแตสมัยอยุธยา จนถึงสมัยรัตนโกสินทร ตังอยางเชน ในสมัยรัชกาลที่ ๑-๔ นอกจากมีการใชน้ําจาก สระเกษ สระแกว สระคงคา สระยมนา ในแขวงเมืองสุพรรณบุรีแลว ยังมีการนําน้ําในแมน้ําสําคัญของประเทศ อีก ๕ สาย คือ

๑. น้ําในแมน้ําปาสัก ตักที่ทาราบ แขวงเมืองสระบุรี ๒. น้ําในแมน้ําเจาพระยา ตกัทีต่ําบลบางแกว แขวงเมืองอางทอง ๓. น้ําในแมน้ําราชบุรี ตักที่ตําบลดาวดึงส แขวงเมืองสมุทรสาคร ๔. น้ําในแมน้ําเพชรบุรี ตักที่ตําบลทาไชย แขวงเมืองเพชรบรีุ ๕. น้ําในแมน้ําบางปะกง ตกัที่บงึพระอาจารย แขวงเมืองนครนายก

น้ําในแมน้ําทั้ง ๕ นี้เรียกวา เบญจสุทธคงคา ในการทําน้ําอภิเษกในพระราชพิธีบรม

ราชาภิเษก เมื่อทําพิธีกรรมตักมาแลวจะตั้งพิธีเสก ณ วัดเจดียสถานสําคัญแหงแขวงเมืองนั้น ๆ แลวจึงจัดสงเขามาทําพิธีที่กรุงเทพมหานครตอไป

สองฝงแมน้ําบางปะกงในทุกวันนี้ ยังงดงามนาดูดวยภาพของวัดวาอาราม เรือนแพทรงไทย เรือนรานคา บาน ตลาดทองน้ําเล็ก ๆ แบบเกา และทิวทัศนของปาจาก เขียวขจี เปนกอหนาทึบรายเรียงเปนแนวขนานกับฝงน้ํา สถานที่สําคัญ ๆ ที่ตั้งอยูริมแมน้ําบางปะกงในจังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแก วัดโสธรวรารามวรวิหาร ตําหนักกรมขุนมรุพงษศิริพัฒน ปอมกําแพงเมืองฉะเชิงเทรา ศาลหลักเมือง วัดปตุลาธิราชรังสฤษฏ ศาลากลางจังหวัดหลังเกา จากการที่ผูเขียนได เลามาทั้งหมดนี้ จะพบวา แมน้าํบางปะกงเปนแมน้ําที่สําคญัตอการดําเนนิชีวิตของผูคนที่อยูอาศัยสองฝากฝงแมน้าํ ทั้งในดานการอุปโภค การบริโภค การคมนาคม การขนสงสินคา การทองเที่ยว เปนแหลงเศรษฐกจิ มี

Page 61: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๑

ความสําคัญตอวิถีชีวิต ทั้งในอดีต จนถึงปจจุบัน รวมทั้งเปนแหลงอารยธรรมที่สําคัญทางประวัติศาสตรของประเทศ ใครที่ผานมาหรือไดเดนิทางมา ยอมไมอาจลืม แมน้ําบางปะกงอยางแนนอน

* แมจากไปอยูไกลแสน ก็ไมขอลืมแดน ที่เคยปกใจลุมหลง จะเฝาแตฝนถงึอาทิตย อัสดง

ชายฝงบางปะกง นั้นลืมไมลงแนเอย โองามแทบางปะกง

ใครไดเหน็เมือ่อัสดง ก็คงสุดกลาวคําเฉลย ยากจะกลาวชม ใหสมความงามนั้นเลย

เพลงนี่กลาวภิเปรย ไมถึงแมเพียงครึ่งเดยีว *

จากบางสวนของเพลง บางปะกง ของ นคร มงคลายน

Page 62: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๒

พระศักดิ์สิทธ์ิหลวงพอโสธร โดย วัลลภา ชํานาญคา

หลวงพอพุทธโสธร คือพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ที่มีประชาชนนับถือเปนจํานวนมากทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ หลวงพอพุทธโสธร เปนพระพุทธปฎิมากร ปางสมาธิประทับอยูเหนือรัตนบัลลังก ๔ ช้ัน ซ่ึงปูลาดดวยผาทิพย อันมีความหมายถึงการอยูสูงสุดเปนพุทธเหนือ พระอริยบุคคล ๔ คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต ประดิษฐานอยูในพระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร หลวงพอพุทธโสธรเดิมเปนพระพุทธรูปหลอดวยสําริดอยางสวยงาม แตตอมาพระสงฆในวัดเห็นวา กาลเวลาตอไปภายหนาคนที่กิเลสแรงกลาอาจจะลักไปเพื่อประโยชนสวนตัว เพื่อความปลอดภัย จึงพอกปูนเสริมใหใหญหุมองคจริงไวภายใน พระพุทธลักษณะขององคหลวงพอพุทธ โสธร ที่ปรากฎในปจจุบันจึงเปนแบบปูนปน ลงรักปดทอง พระวรกายแบบ เทวรูป พระพักตรแบบศิลปะลานนา พระเกตุมาลาแบบปลี อันหมายถึงความอยูเย็นเปนสุขตามคติของชาวจีน ขอพระกรขางขวามีกําไลรัดตรึง เปนเครื่องหมายถึงความอาทรหวงใย ที่หลวงพอ ทรงมีตอสาธุชนผูเคารพในองคทาน ทรงจีวรแบบแนบเนื้อ มีความกวางของพระเพลา (หนาตัก) ๓ ศอก ๕ นิ้ว (๑ เมตร ๖๕ เซนติเมตร) สูง ๑ เมตร ๙๘ เซนติเมตร ขณะนี้วัดมีพระพุทธรูปบนแทนฐานชุกชีทั้งหมด ๑๓ องค องคพระพุทธโสธรคือองคที่อยูตรงกลาง ประวัติความเปนมาและประวัติการกอสรางหลวงพอพุทธโสธรมีความเปนมาอยางไร ไดสรางหรือบูรณะขึ้นสมัยใด เปนพระพุทธรูปที่ทําดวยสําริด ศิลาแลงหรือทําดวยไม ทําขึ้นในจังหวัดฉะเชิงเทราหรือมาจากที่อ่ืนนั้นมีความยุงยากกับผูเรียบเรียง เพราะปราศจากหลักฐานที่แนนอน สวนมากเปนการเลาขานหรือบอกเลาสืบตอกันมา ซ่ึงทานผูอานอาจเคยไดอานหรือฟงกันมา แตผูเขียน มีความคิดเห็นตรงกับ ทรรศนะของนักโบราณคดี ที่สรุปไดวา องคจริงของหลวงพอพุทธโสธรไมไดทําขึ้นในจังหวัดฉะเชิงเทรา แตไดนํามาจากที่อ่ืนเพราะหลวงพอพุทธโสธรทําดวยศิลาแลงพระพุทธรูปเปนฝมือแบบชาวลานชางหรือเรียกวา “พระลาว” ไดบูรณะหรือสรางขึ้นในปลายกรุงศรีอยุธยา หรือตนสมัยรัตนโกสินทร

ความศักดิ์สิทธ์ิและอภินิหารของหลวงพอพุทธโสธร

ศรัทธาในกฤษฏาภินิหารและความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพอพุทธโสธรที่ขจรขจายไปทั่ว อาจเปนเพราะมนุษยโดยทั่วไปยังมีความปราถนาในเรื่องลาภยศ สรรเสริญและความสุข ความเชื่อถือในอานุภาพที่ชวยคลายทุกข บารมีอันคุมครองใหเกิดความสุขและอัศจรรย บันดาลที่ใหเกิดความเจริญรุงเรือง จึงเปนสิ่งรอยรัดจติใจของผูคนไวอยางแนนเหนียว เมื่อใดที่เกิดความสิ้นหวัง หรือทุกขรอนในชีวิต ชาวบานมักใชวิธีบนบานศาลกลาวกับ “หลวงพอ” ที่ตนเคารพนับถือ เพื่อใหไดส่ิงที่

Page 63: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๓

อันตองประสงคหรือขจัดความทุกขนั้น ครั้นเมื่อตนไดส่ิงอันประสงค ความเลื่อมใสศรัทธาก็ยิ่งเพิ่มทวี จนองคหลวงพอกลายเปนศูนยรวมจิตใจและที่พักพิงของคนไทยทั่วทั้งประเทศ เมื่อหลวงพอพุทธโสธรไดมาประดิษฐานอยูในวัดโสธรฯ แลว ประชาชนชาวเมืองนับถือกันมาก กลาวกันวา “หลวงพอพุทธโสธร ศักดิ์สิทธิ์” ผูใดปรารถนาสิ่งใด ที่ชอบ ที่ควร ทานก็ประสิทธิ์ประสาทใหสมความประสงค ความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพอ มีมากมาย จนในกาลตอมาถึงสมัยรัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ใหขาราชการในจังหวัดฉะเชิงเทราเขาถือน้ําพิพัฒนสัตยา ในพระอุโบสถอันเปนที่ประดิษฐานองคหลวงพอพุทธโสธร ซ่ึงแตเดิมกระทําที่ วัดปตุลาธิราชรังสฤษฎิ์ (วัดเมือง) และไดกระทําตอ ๆ มาจนสิ้นสมัยการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ปจจุบัน ประชาชนทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ มานมัสการหลวงพอพุทธโสธร อยางเนืองแนนทุกวัน โดยเฉพาะ วันเสาร วันอาทิตย และวันหยุดราชการ ยิ่งเปนเทศกาลสําคัญและงานนักขัตฤกษ จะมีผูคนมานมัสการหลวงพอพุทธโสธร นับเปนจํานวนแสน ๆ คน งานนมัสการหลวงพอพุทธโสธรนั้น ปหนึ่ง ๆ มี ๓ คร้ัง คือ งานเทศกาลกลางเดือนหา ตั้งแตวันขึ้น ๑๔ ค่ํา จนถึงวันแรม ๑ ค่ํา เปนงานฉลองสมโภชวันคลายวันที่อาราธนาหลวงพอพุทธโสธรขึ้นจากน้ําและอัญเชิญประดิษฐานที่วัดโสธรวรารามวรวิหาร งานเทศกาลกลางเดือนสิบสอง จัดขึ้นตั้งแตขึ้นสิบสองค่ํา ไปจนถึงแรมหนึ่งค่ําเดือนสิบสอง เปนการจดังานฉลองสมโภชหลวงพอพุทธโสธร มีการแหหลวงพอพุทธโสธรทางบก มีการแหทางน้ํา และมีการเวียนเทียน สรงน้ําพระ งานเทศกาลตรุษจีน ตั้งแตวันขึ้น ๑ ค่ํา จนถึงวันขึน้ ๕ ค่ําเดือน ๑ เปนการจัดใหมีงานตอนรับเทศกาลตรุษจีนขึ้นทีว่ัดโสธร เปนการเปดศกัราชใหม มกีารแหหลวงพอพุทธโสธรทางบก เพื่อประพรมน้ําพระพุทธมนตและอวยพรปใหม

Page 64: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๔

พระยาศรีสุนทรปราชญภาษาไทย โดย วัลลภา ชํานาญคา

พระยาศรีสุนทรโวหาร ( นอย อาจารยางกูร ) เปนชาวจังหวัดฉะเชิงเทราโดยกําเนิด ทาน

เกิดเมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๓๖๕ ณ บานริมคลองโสธร อําเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา ตรงกับวันแรม ๒ ค่ํา เดือน ๘ ปมะเมีย บิดาชื่อนายทองดี มารดาชื่อนางบัว เปนบุตรคนที่ ๖ เมื่ออายุไดประมาณ ๗-๘ ป เรียนหนังสือกับพี่ชายคนโต ขณะนั้นอุปสมบทเปนภิกษุจําพรรษา ณ วัดโสธร เมื่ออายุ ๑๓ ป ทานไดเขาไปศึกษาตอในกรุงเทพมหานคร อยูกับสามเณรนาชาย ช่ือทัด ณ วัดสระเกศวรวิหาร อายุ ๑๔ ป บรรพชาเปนสามเณร และไดอุปสมบทเปนพระภิกษุที่วัดสระเกศวรวิหาร เมื่ออายุ ๒๔ ป ไดเขาแปลปริยัติธรรมในที่ประชุมพระราชาคณะ ณ วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม สอบไดเปรียญ ๗ ประโยค พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวโปรดเกลาฯ สถาปนาเปนพระราชาคณะที่ " พระประสิทธิสุตคุณ " จนถึงป พ.ศ. ๒๓๙๖ ทานจึงไดลาสิกขาบท เจาพระยามหินทร ศักดิ์ดํารงค (ขณะนั้นเปนเจาหมื่นสรรเพชภักดี ) ไดนําเขาถวายตัวรับราชการอยูในกรมมหาดเล็กเวรศักดิ์ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงใชสอยในเรื่องหนังสือไทย - หนังสือขอม ทานรับราชการได ๑ ป ไดเปนที่ " ขุนประสิทธิ์อักษรศาสตร " ผูชวยเจากรมอารักษ วาที่เจากรมอักษรพิมพการ คร้ันถึงในสมัยรัชกาลที่ ๕ โปรดเกลาฯ ใหเล่ือนตําแหนงเปน " ขุนสารประเสริฐ " ปลัดทูลฉลองกรมพระอาลักษณในป พ.ศ. ๒๔๑๔ ทานไดคิดแบบสอนอานหนังสือไทย รวม ๖ เลม คือ มูลบทบรรพกิจ วาหะนิตินิกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน ไวพจนพิจารณ และ พิศาลการันต ซ่ึงเปนแบบเรียนที่สมบูรณที่สุดสําหรับเยาวชนในยุคนั้น ปรากฏวาเปนที่ถูกพระราชหฤทัยเปนอยางยิ่ง ไดเล่ือนยศเปน " หลวงสารประเสริฐ " ปลัดทูลฉลองกรมพระอาลักษณ ในป พ.ศ. ๒๔๑๕ ทานไดเปนครูสอนหนังสือไทย ในกรมมหาดเล็ก พ.ศ. ๒๔๑๖ ภายหลังไดคิดแบบเรียนอีกหลายเลม เชน อนันตวิภาคย เขมรากษรมาลา (หนังสือขอม) นิติสารสาธก ปกีระณําพจนาดถ โคลงฉันทอีกหลายเรื่อง ในป พ.ศ. ๒๔๑๘ เมื่อเจากรมพระอาลักษณถึงแกกรรมจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ตั้งเปน " พระยาศรีสุนทรโวหาร " เจากรมพระอาลักษณ ในป พ.ศ. ๒๔๒๒ เมื่อมีการปฏิสังขรณวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทานไดมีสวนในการแตงโคลงรามเกียรติ์เพื่อจารึกที่ระเบยีงรอบพระอุโบสถ และเปนแมกองตรวจโคลงรามเกียรติ์ที่ขาราชการแตงทูล เกลาฯ ถวายความชอบในครั้งนั้นไดเล่ือนเปน " พระยาศรีสุนทรโวหาร ญาณปรชีามาตย บรมนาถนติยภักดี พิริยะพาหะ "

ป พ.ศ. ๒๔๒๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ตั้งเปนองคมนตรีตอมาทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเปนอาจารยถวายอักษร สมเด็จพระบรมโอสาธิราชเจาฟามหาวชิรุณหิศ และสมเด็จบรมโอรสาธิราชเจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร ในป พ.ศ. ๒๔๓๒ ทานไดรับพระราชทาน

Page 65: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๕

เครื่องราชอิสริยาภรณทุติยจุลจอมเกลาฯ และในวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๔๓๔ ทานจึงไดถึงแก อานิจกรรม รวมอายุ ๖๙ ป

พระยาศรีสุนทรโวหาร(นอย อายางกูร) เปนผูมีความอุตสาหะ วิริยะ พากเพียร ใฝหาความรูและมีจรรยามารยาทที่ดี เปนตัวอยางแกเยาวชนรุนหลัง เปนปราชญผูมีความรูเชี่ยวชาญภาษาไทยและภาษาอื่น อาทิ ขอม บาลี และสันสกฤต รวมทั้งการแตงคําประพันธฉันทลักษณ เปนอยางดี สมควรอยางยิ่งที่ชาวเมืองฉะเชิงเทราจะไดยึดถือเปนแบบอยางและเผยแพรเกียรติคุณใหเปนที่ปรากฏสืบไป ช่ือของทานจึงได ปรากฏอยูในคําขวัญประจําจังหวัดฉะเชิงเทราและอนุสาวรียของทานตั้งอยูที่บริเวณแยกโสธร ตําบลโสธร อําเภอเมืองฉะเชิงเทรา

Page 66: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๖

อางฤาไนปาสมบูรณ

โดย วัลลภา ชํานาญคา

เขาอางฤๅไน ปาสมบูรณสดุทายของภาคตะวันออก ป พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐบาลไดกันพื้นที่ปาทึบในกิ่งอําเภอทาตะเกียบซึ่งแบงแยกออกจากอําเภอสนามชัยเขต ไวเปนปาอนุรักษและประกาศใหเปนเขตรักษาพันธุสัตวปาในชื่อวา “เขาอางฤๅไน” และในป พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดประกาศพื้นที่ปาแหงนี้เปนปารอยตอ ๕ จังหวัด เพราะมีอาณาเขตครอบคลุมรอยตอถึง ๕ จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง จันทบุรีและปราจีนบุรี แตทวานาเสียดายที่ ขณะนี้พื้นที่ปาในจังหวัดปราจีนบุรี คือ สวนที่เปนจังหวัดสระแกวในปจจุบัน และวังน้ําเย็นไมมีเหลืออยูอีกแลว อําเภอบอทองของชลบุรีก็เชนเดียวกัน สวนเขตเขาชะเมาของระยองนั้นก็ถูกตัดขาดดวยไรออยที่รายรอบ “เขาอางฤๅไน” จึงเปน ปาสมบูรณผืนสุดทายของภาค ตะวนัออกโดยแทจริง “เขาอางฤๅไน” ในวันนี้มี เนื้อที่ ๖๔๓,๗๕๐ ไร ทิศเหนือ ครอบคลุมกิ่งอําเภอทาตะเกียบ อําเภอสนามชัย จังหวัดฉะเชิงเทรา และอําเภอวังน้ําเย็น จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันออกครอบคลุมอําเภอวังน้ําเย็น จังหวัดปราจีนบุรี และอําเภอโปงน้ํารอน จังหวัดจันทบุรี ทิศตะวันตกอยูในอําเภอบอทอง จังหวัดชลบุรี และทิศใตอยูในอําเภอแกลง จังหวัดระยองกิ่งอําเภอแกงหาง-แมว อําเภอ ทาใหม จังหวัดจันทบุรี เปนปาลุมต่ําที่มีขนาดใหญที่สุดและสมบูรณที่สุดในประเทศไทย ไมที่ครอบครองพื้นที่สวนใหญของปา คือ ไมตะแบกใหญ ซ่ึงเมื่อถึงฤดูกาล ก็จะออกดอกสีสันสดใส สวยสะพรั่งไปทั้งปา ความอุดมสมบูรณของผืนปา ทําใหมีสัตวปาจํานวนมาก และหลากหลายประเภทพักพิงอยูในเขาอางฤๅไนไดอยางผาสุก ไมวาจะเปนสัตวเล้ียงลูกดวยนมอยางกวาง เนื้อทราย เกง กระทิง วัวแดง เลียงผา เสือโครง ฯลฯ สัตวเล้ือยคลานประเภทตาง ๆ สัตวสะเทินน้ําสะเทินบก ปลาหรือนก ปาแหงนี้นับเปนแหลงดูนกชั้นเยี่ยม เพราะมีนกอยูราว ๒๐๐ ชนิด และไดช่ือวามีนกขุนทองและไกฟาพญาลอ อาศัยอยูมากที่สุดในประเทศไทย เขาอางฤๅไน มีน้ําตกที่สวยงามอยูสองแหง คือ น้ําตกอางฤๅไนหรือน้ําตกบอทองเกิดจากคลองหมากบนเขาอางฤๅไน ดานกิ่งอําเภอทาตะเกียบ ซ่ึงเปนบริเวณหุบเขาที่รมร่ืนและเยือกเย็น มีสายน้ําไหลพุงลงมาจากชองเขา ผานลงมาตามรากไทรเปนฝอยราวกับฝกบวัตลอดทั้งป และน้ําตกเขาตะกรุบอันเกิดจากคลองกัด ตะนาวใหญ บนเขาตะกรุบ ดานอําเภอวังน้าํเยน็ จังหวดัปราจีนบุรี ซ่ึงมีความสูงชันและสวยงามมากในฤดูฝน

Page 67: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๗

นอกจากความงดงามและประโยชนทางนิเวศวิทยาแลว เขาอางฤาไน ยงัมีคุณคาในฐานะ ที่เปน “ธนาคารสายพันธุ ” อยางดี ในปาแหงนี้มพีันธุพชืเศรษฐกิจหลายชนิด เชน ลําไย ลางสาด ล้ินจี่ มะไฟ กระทอน มะมวง ระกํา เปนตน ซ่ึงเปนพันธุที่แข็งแรงทนทานตอโรคและแมลง เมื่อใดที่พืชเศรษฐกิจออนแอลงก็อาจนําสายพันธุจากปามาปรับปรุงพืชเศรษฐกิจใหดีขึ้นได

ในขณะเดยีวกนัปาแหงนี้ยังมีประชากรสัตวปามากมายและหลากหลายชนิด ซ่ึงสามารถนํามาปรับปรุงสายพันธุของสัตวเศรษฐกจิใหดีขึ้นดวย เชน นําวัวแดงมาผสมพันธุกับววับาน และนําหมูปามาผสมกับหมูบาน เพื่อใหลูกทีผ่สมที่เกิดมาโตเร็วและมีความตานทานโรคมากขึ้น เขาอางฤาไน ยังเปนแหลงคนควาวจิยัทางวิชาการหรือหองทดลองขนาดใหญ เปนที่ตั้งของสถานีวิจัยสัตวปาแหงแรกของภาคตะวนัออก และแหงที่สองของประเทศไทยตอจากสถานีวิจยัสัตวปานางรําที่หวยขาแขง ขณะนีไ้ดมีการวจิัยดานชีววิทยาเกี่ยวกับนกขุนทองและไกฟาพญาลอ ซ่ึงเปนสัตวสําคัญของปาแหงนี้ เพื่อทําการเพาะเลีย้งและอนุรักษไวมิใหสูญพันธุ เขาอางฤาไน นับวาเปนปาผืนใหญที่อยูใกลกับกรุงเทพฯ มากที่สุด สามารถเดินทางไปกลับในวนัเดยีวได เหมาะจะไปทัศนศึกษาและพักผอนชมธรรมชาติ ในวนันี้ เสนทางการเดินทางเขาปาไปเที่ยวชมความงดงามของปาเริ่มจากอําเภอสนามชัยเขต ตัดตรงไปบนทางลาดยางอยางดีผานไปบนเนินสลับซับซอน ซ่ึงเคยเปนปาดงดิบประมาณ ๕๐ กิโลเมตร ก็จะถึงบานหนองคอก เล้ียวขวาไปตามทางลูกรังอีกราวสิบกโิลเมตร เสนทางก็จะเริ่มเปนปาละเมาะ อันเปนสัญญาณวาเริ่มเขาเขตรักษาพันธุสัตวปาเขาอางฤๅไนแลว เมื่อผานหนวยพิทักษปาหลุมจังหวัดซึ่งมีดานกัน้อยู เสนทางก็จะเร่ิมทอดเขาไปในปาดงดิบ จากนั้นราว ๖ กิโลเมตร ทางขวามือจะเหน็หนองน้ําชื่อวา “หนองปรอื”ซ่ึงมีสัตวปาลงกินน้ําเปนประจํา และเมื่อเลยหนองน้ํานีไ้ปอีกราว ๑๐ กิโลเมตร กจ็ะถึงหนวยพิทักษปาบอทอง ซ่ึงมีบานพักรับรองอยางดี อยูหางจากน้ําตกเขาอางฤๅไนเพียง ๒ กิโลเมตร สภาพในปารมร่ืนสวยงาม มีเสนทางเดินปาหลายสายใหเที่ยวชมธรรมชาติ

Page 68: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๘

หนังตะลุงแปดริ้ว

อ.ฉันทนา สระบุรินทร

หนังตะลุง ที่เปนมหรสพพื้นบานอยางหนึ่งของจังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ผูเขียนเคยเห็นแสดงตาม

วัดเวลามีงานศพ เมื่อ ๔๕ ปกอน แตปจจุบันสูญหายไป จึงไดพยายามสืบเสาะวามีอยูที่ใดบาง ไดทราบจากพระครูอุดมสุตาวิวัฒน (เฉื่อย อุตตโม) เจาอาวาสวัดอางชางไล วาที่หมูบานอาว

ชางไลซ่ึงอยูใกลเคียงกับหมูบานหัวสําโรง กิ่งอําเภอแปลงยาว จังหวดัฉะเชิงเทรา ยังคงมีหนังตะลุงเลนอยูคณะหนึ่ง ซ่ึงมี นายสมัย แสงเจริญ เปนเจาของคณะ

นายสมัย แสงเจริญ เจาของหนังตะลุงโรงสุดทายในอาํเภอนี้ไดเลาใหผูเขียนฟงวา พระครูอุดมสุตาวิวัฒน (เฉื่อย อุตตโม) เปนผูสอนวิธีตัดหนังตะลุงใหหลวงพอเฉื่อยเหน็วานายสมัยมหีนวยกานพอที่จะเชดิหนังตะลุงได จึงมอบรามเกียรติ์ พระราชนิพนธพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกใหไปอานเลมหนึ่ง นายสมัยเร่ิมตนทองจํารามเกียรติ์เลมนั้นตามที่หลวงพอแนะนํา หลวงพอเห็นวานายสมัยมีความตั้งใจจริงก็สอนวิธีตัดหนังให

เมื่อตัดหนังไดแลวก็ไปเรียนวิธีเชิดและพากยหนังตะลุงจากครูวุน ครูวุนเปนชาวตําบลบานทาลาดใต อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา สวนครูวุนจะเรียนจากใคร นายสมัยไมทราบ ขณะนีค้รูวุนเสียชีวิตแลว

หนังสัตวทีน่ํามาตัดหนังตะลุง ไดแก หนงัโค โคจะตายอยางไรก็ไดไมจําเปนจะตองตายอยางพิสดาร ดังเชนหนังตะลุงภาคใต ถาจะทาํรูปหนังศักดิสิ์ทธิ์ เชน รูปฤาษี รูปอิศวร ทรงโคและรูปเทวดา จะตองตัดจากหนังโคที่ถูกฟาผาตาย หนังตะลุงตัวดังกลาวนั้นจึงจะขลัง หรือหนังใหญที่วดัขนอนก็เชนกนั ตัวพระราม พระลักษณ จะตองตัดจากหนังโคที่ฟาผาตายหรือออกลูกตายหรือเสือกดัตาย อยางใดอยางหนึ่ง กอนอ่ืนตองนําหนงัโคมาขูดใหบางใส เพื่อใหแสงไฟผานเวลาเชิด ตอจากนัน้ก็นําหนังไปแชในน้ําดาง ๓ วัน น้ําดางผสมดวยปูนขาว เกลือ ขี้เถา และดางทับทิม แลวนําหนังไปขึงใหตึงตากไวจนแหง แลวจึงวาดและตัดเปนตัวหนัง ลวดลายที่แกะหนงัตะลุงนั้นเปนลวดลายแกะสลักอยางภาพเขียนลาดไทย สวนสีที่ระบายบนตัวหนังนัน้ใชสีตรงกับเรื่องรามเกียรติ์ เชน พระรามระบายสีเขียว สีที่ใชระบายใชสีน้ํามัน นายสมัยมักจะลงนะหนาทอง คือ ปดทองเพื่อใหเปนที่นิยมของคนด ูสําหรับสวนสูงของตัวหนังประมาณ ๕๐ เซนติเมตร ซ่ึงนายสมัยกลาววาเปนขนาดเลก็

ปจจุบันนายสมัยตัดหนังขนาดเล็ก เพราะขนาดใหญหนกัแรงมาก เวลาเชิด อาจารยมนตรี ตราโมท กลาววา หนังตะลุงที่สูงสุดจะสูงไมเกิน ๘๐ เซนติเมตร การตัดหนัง

ตองคํานึงถึงเนื้อเร่ืองดวย เปนตนวาถาตัดตอนพระรามเดินดงจะตองตัดหนังเปนรูปตนไมประกอบเปนฉากปาดวย ตวัหนังเหลานี้เมื่อเขาแสงไฟแลวมีสีสันสวยงามมาก เมื่อตัดหนังและระบายสีเสร็จ

Page 69: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๖๙

แลวก็จะใชไมผูกตัวหนัง ไมที่ผูกมี ๒ อัน เรียกวา ไมยนื คือ ไมทาบกลางตัวอันหนึง่ ที่ผูเชิดถือเวลาเชิด และปกบนตนกลวย เมือ่หมดบทบาทของตัวหนังนัน้ ๆ แตถาเปนตัวตลกจะมีเชือกอีกเสนหนึ่งผูกที่ปาก สําหรับผูเชิดดึงใหปากขยับ เมื่อเปนบทพูดของตัวตลกตวันั้น ๆ

ตัวตลกของนายสมัยมีอยู ๓ ตัว คือ เจาดวง เจาแกว และเจาบักกะทือ ตลกเอก ๓ ตัวนี้เปนตัวสําคัญที่ใชผอนแรงผูพากยและผูเชิดมาก

ผูพากยมวีิธีผอนแรงเพื่อบรรเทาความเหน็ดเหนื่อย ซ่ึงเรียกวา “ทด” ดวยการแทรกบทตลกหรือการละเลนพื้นบานลงไปในบทของตลกเอก โดยใหเจาดวง เจาแกว หรือเจาบักกะทือออกมาสนทนาออกมขุตลก บทตลกเปนบทที่ทันตอเหตุการณ เชน ตลกน้ํามันแพงบาง ลอเลียนเรื่องของแพงบาง หรือตลกเรื่องราวของคนในหมูบานซึ่งเปนที่รูกนัทั่วไป

การทดอีกวิธีหนึ่งของนายสมัย คือ ทดดวยการแทรกเพลงพื้นบานลงไปในการเจรจา เปนตนวา เพลงฉอย เพลงอีแซว เพลงเรือ ลําตัด รําวง แมแตเพลงลูกทุงก็แทรกลงไปในบทตลกได โดยเหตนุี้ผูพากยจึงตองเลนไดรอบตัว ทําใหหาผูพากยไดยากมาก

หนังตะลุงคณะนี้มีนายสมัยพากยไดอยูคนเดียว และพากยไดหมดทุกตวั ไมวาจะเปนตัวพระ ตัวนาง หรือตัวตลก เนื้อความที่ใชพากยนํามาจากรามเกยีรติ์ฉบับพระราชนิพนธ ดังไดกลาวมาแลว

ทํานองที่ใชพากยกพ็ากยดวยทํานองหนังตะลุงทั่ว ๆ ไป ยกเวน บางตอนที่เปนบทโศก นายสมัยจะใชเสภาแทน เพื่อมใิหซํ้าซากและจดืเกินไป

ขณะนีน้ายสมยัมีตัวหนังรวมทั้งส้ินราว ๘๐ ตัว ตัวท่ีสวยงามที่สุด คือ ตัวพระ ซ่ึงใชเวลาตัดประมาณ ๒ วนั

การตัดกีว่ันนัน้ขึ้นอยูกับความสามารถของผูตัด ซ่ึงแตกตางกับการตัดหนังใหญ ตัวสําคัญ ๓ ตัว คือ ฤาษี พระราม และพระลักษณ จะตองตัดใหเสร็จภายใน ๑ วัน ตัวหนังอ่ืน ๆ ไดแก ฤาษี พระ นาง ยักษ ลิง นกสดายุ ตลอดไปจนถึงตนไมซ่ึงใชประกอบเปนฉากปา เพื่อใหสอดคลองกับทองเรื่อง ตัวหนังทั้งหมดนี้เก็บไวในหบีไมส่ีเหล่ียมผืนผาขนาด ๔๐ คูณ ๓๐ นิ้ว ซ่ึงเรียกวา “แผง” ซ่ึงจะปองกันมิใหตวัหนังหักเสียหาย

หนังตะลุงเปนมหรสพที่มีความเชื่อทางไสยศาสตรปะปนอยูมาก เปนตนวาโอกาสที่จะเลนหนังตะลุงของชาวบานกลุมนี้จะเลนในงานวัด ไดแก งานประจําป งานแกบน ทําบุญกลางบาน คือ ทําบุญในหมูบาน งานศพ และงานบวชนาคที่เนื่องมาจากงานศพ นอกจากนั้นชาวบานยังถือไมนําหนังตะลุงมาในเลนในบริเวณบาน

โรงหนังตะลุงมีขนาดแนนอนคือ กวาง ๖ ศอก สูง ๔ ศอกคืบ สวนความสูงจากพื้นดนิอยูในระดับสายตาของผูดู นายสมัยช้ีแจงวาการสรางโรงหนังตะลุงเปนหนาที่ของเจาภาพ เมื่อทําโรงเสร็จแลว ผูเลนจะตองทําพิธีเบิกโรงดวยการวาคาถากอนขึ้นโรงกันคนทําราย ดานหนาโรงเปนจอผาขาวประกอบริมดวยผาสีกรมทา มีประตูเขาออก ๒ ประตู สวนอีก ๓ ดานมีฝากั้นกนัแสงจากตะเกียงเจาพายุหรือไฟฟา ผูเชิดนั่งอยูในโรง ภายในโรงมีตะเกียงเจาพายหุรือไฟฟาแขวนอยูกลางโรง เมื่อผูเชิด

Page 70: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๐

ๆ ตัวหนัง เงาจะทอดมาอยูที่จอ ภายในโรงจะมีตนกลวยวางตดิกัน ๓ ตน ใชเปนทีพ่ักตัวหนังทีก่าํลังแสดง สวนอกี ๒ ตน วางทํามุมฉากกับตนแรก เพื่อเปนทีพ่ักตัวหนังทีย่งัไมถึงบท

กอนจะเริ่มเลนจะตองไหวครูเสียกอน เครื่องสําหรับไหวครูเรียกวา เครื่องขันหา ไดแก ดอกไม ธูปเทยีน หมาก และพลู อยางละ ๕ กับเงินกํานน ๑๒ บาท ซ่ึงจะตองเรียกจากเจาภาพ การไหวครูเร่ิมตนดวยการนําตวัหนัง ๓ ตัว คือ ฤาษี ยักษและมนุษยอยางละตัวออกมายืนนิ่ง พรอมกันนั้นผูพากยกก็ลาวคํานมัสการคุณพระศรีรัตนตรัยจบแลว ตอดวยบทสวดชุมนุมเทวดา ที่ขึ้นตนวา “สคเค กาเมจรูปป..อยมทนตา” คร้ันจบบทสวดชมุนุมเทวดาผูพากยกเ็ร่ิมไหวครูวา

“ขาจะไหวพระมหาตมทั้งสามพระองค พระอิศวรผูทรงโคอุศุภราชฤทธิรอน เบื้องขวาขาจะไหวพระนารายณทั้งส่ีกร ทรงครุฑเจริญพรเรืองฤทธิรงค เบื้องซายขาจะไหวจตุพกัตรหลักโลกทุกองคเพ็ญ พระอยูเกลาองคทรงฤทธิ์เรืองรอง สามองคทรงพักตรพระพบกัน สามโลกยอมเข็ดขามพระเด็ชพระนามลือกําจร เรืองวิทยเรืองเดช เรืองเวทยและเรืองพร ปราบทั่วดินดอนบทจรจรจบทั่วจักรวาล ขาจะไหวพรหมวงศราชอาจารยที่ไดสาปสรรคบรรณาการเครื่องเลนในหมูพระผูรูการ

กลางวันโขนละครโสภา คนเห็นแจมตา ประดับประดาไปดวยเครื่องเรืองไสว ราตรีอัคคีแจมใส หนังสองแสงไฟ วิจิตรลวดลาย ปวงประสาท ราษฎรทั้งหลายชื่นชมสบายดวยพิพัฒนสถาพร เมื่อไหวครูจบแลว จะจับตอนเลนตอนใดกแ็ลวแตจะตกลงกับเจาภาพ เวลาที่เลนมักจะ

เร่ิมตนเลนราว ๆ ๓ ทุม และไปเลิกตอนสองยาม เครื่องดนตรีที่ใชกับหนังตะลุงมีอยู ๖ ช้ินดวยกนั เครื่องดนตรีแตละชิ้นจะกําหนดประเภท

ของไมไวดวย เปนตนวา โทนมี ๑ ใบ ทําดวยไมขนนุ สวนกลองตุกทําดวยไมประดูมีอยู ๒ ใบดวยกัน เครื่องดนตรีอ่ืน ๆ ไดแก ซออู ซอดวยและฉิ่ง

ปจจุบันนีน้ายสมัยยังคงรับแสดงหนังตะลุงตามงานอยู เร่ืองราคาคางวดนัน้ตกลงกนัได ถาเปนพรรคพวกกันก็อาจจะเลนใหเปลา ๆ

วันที่ผูเขียนไปสัมภาษณนั้น นายสมัยรับงานไวที่เทศบาลเมือง ราคา ๗,๐๐๐ บาท ฟงดูเผิน ๆ เหมือนวาราคาคอนขางสูง แตวาหนังตะลุงตองมีผูเลนทั้งคณะถึง ๗ คน กลาวคือ ผูเชิดและผูพากยคือตัวนายสมยัเอง นายสมหมาย สิริวรา ตีกลองตุก นายวิเชยีร ศรีมาลัยและนายชํานาญ สิริวรา ตีโทน นายเบิ้ม แสงเจริญ ซออู นายพยนต แสงเจริญ ซอดวงและนายโจ แสงเจรญิ เปนผูตีฉิ่ง และคณะที่ทําโรงหนังตะลุงดวย

ส่ิงที่ผูเขียนพอใจมากที่สุด คอื นักดนตรีของหนังตะลุงคณะนี้เปนคนหนุมทั้งนั้น มีอายุทั้งแต ๒๕-๔๐ ปเทานั้น ผูเขียนมีความเหน็วาถาเราสามารถรักษาการละเลนพื้นบานไวไดก็สามารถอนุรักษดนตรีไทยไวไดเชนเดยีวกัน

อนึ่ง ดนตรีไทยที่ใชประกอบหนังตะลุงเราใจคนอยูอยางยิ่งทําใหผูเขียนเกดิความคดิวา ถาเยาวชนของเราไดฟงดนตรทีี่ใชเฉพาะกิจบางเชนนี้ กน็าทําใหเด็ก ๆ หันมาสนใจดนตรีไทยมากขึ้น

Page 71: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๑

ขอที่นาคิดอีกประการหนึ่ง คือ นายสมัยไดนําเพลงลุกทุงบาง เพลงไทยสากลบางเขาไปแทรก ทําใหผูดูที่เปนเด็กหรือวัยรุนสนกุสนาน หนงัตะลุงโรงนี้จงึยังคงอยูได การยอมรับความเปลี่ยนแปลงบางประการเปนสิ่งสําคัญที่จะทําใหเราสามารถอนุรักษการละเลนพื้นบานไวจนตราบเทาทุกวนันี ้

ผูเขียนเองเชื่อเหลือเกินวาผูเลนเปนศิลปนยอมมีตาแหลมคมพอที่จะเลง็เห็นวา ส่ิงใดสามารถผสมผสานกันแลวกลมกลืน ศิลปนนั้นยอมรักและหวงแหนงานของตนและพยายามทุกวิถีทางทีจ่ะอนุรักษส่ิงที่ตนหวงแหนจนเต็มกําลังความสามารถของตน

ประการสุดทายผูเขียนมีความเห็นวา คนดูเปนผูอนุรักษทีสํ่าคัญที่สุด

Page 72: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๒

นาย อาทิตย อาวากุล นักศึกษาโปรกรมวิชาศิลปกรรม

“การตูนคืออะไร”…? หลาย ๆ คนอาจเคยสงสัยกับคําถามนี้ ไมมีนยิามตายตัวสําหรับคําวา

การตูน รูแตวาเวลาที่เราเขียนรูปเลนหรือนั่งวาดตวัอะไรสักอยางอยูแลวมีเพื่อนมาถามวา “เฮ ! ทํา

อะไรนะ” เราก็ตอบวา “วาดรูปเลน” นั่นละการตูน ๆ ก็คือส่ิงที่เราสรรสรางขึ้นและจรรโลงใจเราใหเบิกบานมีความสุขถาเราเบื่อเราทอ เราเครียด เรากว็าดการตูน เราดีใจ หัวเราะ มีความสุข เราก็วาดการตูน นี่คือพื้นฐานทางจติวิทยาของมนษุยที่มีความรูสึกนึกคิดแลวก็อยากถายทอดออกมาสูเสนสาย ปลายปากกาดนิสอ ลงบนแผนกระดาษหรือผืนผาใบ

ตั้งแตสมัยอดตีศิลปนของไทยทํางานเพื่อรับใชศาสนา วาดภาพจิตรกรรมฝาผนัง เขียนภาพพุทธประวัติ เพื่อใชในงานพิธีกรรมตาง ๆ งานเขียนภาพจึงเปนทีน่ิยมอยางแพรหลายเรื่อยมา เมือ่ระบบสิ่งพิมพถูกนําเขามาใชในเมืองไทย งานพิมพยุคแรกถูกใชไปทางการศึกษา เชน ตําราตาง ๆ ทางศาสนา เชน ภาพเรื่องราวพุทธประวัติ คําเทศนา นิทานชาดก เร่ืองพระเวสสันดร, สุวรรณสาม, เตมียใบ ฯลฯ นิทานที่เกีย่วกบัศาสนาจึงเปนนิยายภาพการตูนชุดแรกๆของไทยที่ผูอานสามารถอานและดูภาพประกอบไปเปนตอน ๆ หรือที่เรียกวา “ภาพแทรก” คือหนังสือหนึง่เลมอาจมีภาพแทรก หรือวาดภาพตามเนื้อเร่ืองประกอบเขาไปในเลม ๓-๔ ภาพ จุดมุงหมายเพื่อใหเกิดความนาสนใจ มีผลทําใหหนังสือจําหนายดีขึ้น สวนตําราเรียนกน็ิยมมีภาพแทรกดวยเหมือนกนั เชน ตําราเรียนภาษาไทย พยัญชนะไทย จะมภีาพประกอบของคํา เชน ว แหวนก็มภีาพวงแหวน บ ใบไมก็มภีาพใบไม เปนตน ในยุคภาพแทรกหนังสือหรือภาพประกอบหนังสือนี้ นักเขียนของไทยที่มีฝมือ และชื่อเสียงเปนท่ี

รูจัก ไดแก อ.ประยุกต เงากระจาง,อ.ประยูร จรรยาวงศ, อ.เหม เวชกร นักเขยีนการตูนทั้ง ๓ ทานนี้เปนผูบุกเบกิ นิยายภาพในยุคแรกเริ่มของเมืองไทยที่ถือวาเฟองฟูมาก เชน อ.ประยุกต เงากระจาง ทานเปนนักเขียนนยิายภาพที่มีบทบาทมากในยุคสงครามเยน็ ทานเขียนนิยายภาพตอตานคอมมิวนิสต พิมพแจกตามหมูบาน และเคยสรางความตื่นตาใหทั่วโลกตองประจักษ ดวยการเขียนการตูนชุด “สุดสาคร” ทําเปนการตูน ANIMATION ขนาดตางประเทศยังตะลึง ผูเขียนเองเคยมีโอกาสไดพูดคุยกับทานเมื่อปลายป ๒๕๔๓ ดูทานยังแข็งแรง อารมณดี เปนกันเอง แมปจจุบันทานจะไมไดจับงานดานเขียนการตูนแลวดวยวัยที่มากขึ้น แตทานก็พรอมถายทอดแกคนรุนใหมที่มีใจรักในการเขียนนยิายภาพ

Page 73: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๓

อ.ประยูร จรรยาวงศ งานเขียนของทานมักปรากฏตามหนังสือพิมพรายวนั, รายสัปดาหเปนสวนใหญ ลักษณะงานเปนแบบลายเสนการตูนลอเลียนบุคคล งานเขียนแนวนิยายของทานที่ถูกนาํมาสรางเปนตอน ๆ ก็มีเหมือนกัน สวนใหญเปนแนวผี เร่ืองลึกลับตาง ๆ อ.เหม เวชกร ถือวาทานเปนผูบุกเบกินิยายภาพการตูนที่มีผลงานออกมาอยางมากมาย ภาพเขียนที่เหมือนจริง รายละเอียดชดัเจน มีชีวิตชีวา ทําใหผูดูภาพเกิดอารมณรวมไปกับภาพนัน้ ๆ งานเขียนของ “อ.เหม เวชกร” จึงเปนพื้นฐานของนิยายภาพการตูนที่ชัดเจนทีสุ่ดในยุคนั้น จากภาพประกอบเพียงไมกีภ่าพมาสูยุคของนิยายภาพการตูนเต็มเรื่องที่แบงเปนชองๆเหมอืนดูภาพยนตร นักเขียนนยิายภาพการตนูแบบชอง ๆ ในยุคตอมาที่มีช่ือเสียงเปนที่รูจัก ไดแก

“ราช เลอสรวง” จากเรื่อง“สิงหดํา” รูปแบบงานเปนแนวเหนือจริง แบบหนังกําลังภายในซึ่งทานแตงขึ้นเอง

“จุก เบี้ยวสกุล” จากเรื่อง “เพชรพระอุมา”รูปแบบงานเปนแนวเหมือนจริง เขียนตามแนวนิยายทีไ่ดรับความนยิม รูปแบบการตูนเปนแนวสมัยนยิม เรื่อง “เจาชายผมทอง” ก็นําลักษณะของนักรองอยาง “เอลวิส” มาเปนตนแบบ นอกจากนี้ยังมีผลงานของทานอีกมากมายทั้งเรื่องยาวอยาง “มังกรสามหัว” หรือเร่ืองเปนตอน ๆ ตํานานดาว,ปลาเทวดา, คนเลี้ยงแพะกับทหาร ฯลฯ

“พ บางพล”ี จากเรื่อง “ขวานฟาหนาดํา” งานของทานเปนนยิายภาพเรื่องยาวทีจ่ัดพิมพเปนตอน ๆ สวนมากทานจะแตงขึ้นเอง

“ทวี วิษณุกร” จากเรื่อง “กระสือสาว” เปนเรื่องที่ทานเขียนและแตงขึ้นเองไดรับความนิยมมาก จนนําไปสรางเปนภาพยนตรมาแลว

นักเขียนทุกทานที่กลาวมานี ้ คือผูบุกเบิกการเขียนนยิายภาพการตนูแบบแบงเปนชอง ๆ เหมือนดหูนัง ซ่ึงยุคนั้นนยิายภาพการตูนถือวารุงเรืองมาก จนเกิดนกัเขยีนใหมๆ ขึ้นมากมาย ไดแก เตรียม ชาชุมพร, อําพล เจน, แมวเหมยีว, ราชันย ,นักรบ รุงแกว , สุวิทย , สกล แพทยกุล, โตด โกสุมพิสัย นักเขยีนเหลานี้อยูในยุคทีน่ิยายภาพการตูนยังไดรับความนิยม และสวนใหญจะเปนนักเขียนอิสระ

ในโลกของการตูนนั้นเราจะสรางสรรคจินตนาการอยางไรก็ได จะตัดตอเปล่ียนแปลงจากของเดิมที่มีอยู หรือเพิ่มเติมจากความรูสึกสวนตัวก็ได แตมีขอแมวาจะตองไมขัดตอศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี และไมลวงเกินบุคคลหรือองคกรใด ๆ ใหเปนที่เสียหาย ในปจจุบันเยาวชนยุคใหมหันมาสนใจการตูนกันมากขึ้นและนิยมอานการตูนตางประเทศที่หล่ังไหลเขามาในบานเราอยางแพรหลาย สํานักพิมพดังๆ ในประเทศไทยหลายสํานักพิมพซ้ือการตูนลิขสิทธิ์จากตางประเทศในราคาที่สูงเพื่อมาจําหนาย เพราะมีเยาวชนหลายกลุม แอนตี้การตูนไทย มองวาเปนสิ่งไรสาระเทียบชั้นการตูนตางชาติไมได แมแตการตูนเคลื่อนไหวในโทรทัศนที่เราเรียกวา ANIMATION ยังไมมีการตูนไทยสักเรื่องแลวจะเอาอะไรไปสูเขา ก็เพราะคิดกันแบบนี้ ตลาดการตูนในบานเราถึงไม

Page 74: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๔

เติบโตเสียที กอนที่จะไปคาดหวังถึงการตูนอนิเมชั่น หรือการนําการตูนไปทําเปนหนังแบบฝรั่งเขาทํากัน เราควรหันมาสนใจการตูนเลมที่ถืออานกันกอนดีกวาเพราะมันเขาถึงทุกเพศ ทุกวัย ไมวาจะเปนการตูนตลกขายแกก ขําขัน อยาง ขายหัวเราะ - มหาสนุก หรือการตูนเรื่องยาวแนว COMICS ที่กําลังโดงดังมากในขณะนี้ ผูปกครองควรปลูกฝงลูกอานใหเปนคนรักการอานตั้งแตยังเล็ก ๆ เร่ิมงาย ๆ จากการตูนสักเรื่อง เพราะการตูนสมัยนี้มีใหเลือกหลายเรื่องหลายแนวไมวาจะเปนการตูนกีฬา การตูนการทําอาหาร การตูนการตอสู ฯลฯ สารพัดที่จะจําหนาย อยาไปมองวาการตูนนั้นเนนความรุนแรง สอไปในทางลามก เราไมสามารถบังคับใหเขาเลิกผลิตจําหนายได แตเราสามารถเลือกซื้อหนังสือการตูนดี ๆ สักเลมใหลูกหลานอานได พอบาน-แมบานที่ตองการประกอบอาหารก็สามารถเลือกการตูนแนวทําอาหารได เพราะมีวิธีการทํา สูตรอาหาร สวนประกอบทุกอยางบอกไวหมด สารพัดอยางที่จะทําก็ลองไปหาอานดู หรือใครตองการรูรายละเอียดเกี่ยวกับกีฬาประเภทไหนก็สามารถหาอานไดจากในการตูนนี้แหละ รูสึกวาการตูนกีฬานี่จะมีครบทุกอยางในโลกนี้แลว ละครบั (เทานี่ผูเขียนอานมาก็เกิน ๒๐ เร่ืองแลวละ)

ถาคิดจะเขียนการตูนสักเรื่องตองทําอยางไรเปนคําถามที่ตอบยากนะ กอนอ่ืนเราก็คงตองลองถามตัวเองดูกอนวา “เราคิดจะเขียนการตูนเพื่ออะไร” เพื่อประกอบอาชีพ เพื่อใหสบายใจหรือเพราะเห็นเพื่อนเขียนการตูนแลวสวยจึงอยากเขียนบาง ถาอยางหลังสุดนี่เลิกเขียนเถอะ เพราะเดี๋ยวคุณก็ทอแลวก็เบื่อจนเลิกลาไปเอง เพราะการเขียนการตูนนั้น ไมใชแคการวาดภาพใหสวยเพียงอยางเดียว แตเนื้อเรื่องตองตองสนุกควบคูไปดวย เพื่อใหผูอานเกิดความรูสึกสนุกมีอารมณรวมไปกับงานของเรา เพราะฉะนั้นการที่จะกาวมาเปนนักเขียนการตูนอาชีพอยางเต็มตัวไมใชเร่ืองงาย เราจะตองพบกับการทดสอบมากมาย เพื่อพิสูจนถึงความพรอมของเราที่จะตอสูดิ้นรนไปบนเสนทางสายนี้อยางตลอดรอดฝง…

ถาเปรียบเทียบนักเขียนการตูนเปนฮีโร ก็คงเปนฮีโรในดวงใจของเด็ก ๆ และใครตอใครหลายคน ที่สนใจและชื่นชอบในแวดวงของการตูน เพราะเหลาฮีโร ทั้งหลายที่เราเห็นตามโทรทัศนมักจะออกมาชวยเหลือทุกครั้งที่เราทีปญหาหรือยามเหลารายปรากฏตัว นักเขียนการตูนก็เปนฮีโรในดวงใจหลาย ๆ คนที่ติดตาม อาจชื่นชอบเพราะลายเสนสวย เนื้อเร่ืองสนุก หรือชอบเปนการสวนตัว ไมวานักเขียนการตูนคนนี้จะเขียนงานเสร็จเมื่อไหร พอผลงานไดตีพิมพเปนรูปเลมเสร็จ เราจะตองรีบไปซื้อมาอาน มาเก็บสะสมไวทันที บางครั้งก็กระวนกระวายอยากอานเลมตอไป พอไดอานก็มีความสุขมีกําลังใจทํางาน นี่ละ ฮีโร !! นักเขียนการตูนทุกคนก็เปนฮีโรนะ ผูเขียนเองก็ตองการเปนฮีโร ฮีโร ! ที่มีช่ือวา “นักเขียนการตูน” จับความเปนไทยใสการตูน…!! มีปญหาอยางมากสําหรับหลาย ๆ คน โดยเฉพาะนักเขียนการตูนรุนใหม ๆ ที่อยากเขียนการตูนสักเรื่องหนึ่ง ทั้ง ๆ ที่คิดเนื้อเร่ืองออกแลว แตกังวลไมรูจักทํายังไง ใหดูเปนการตูนไทย แตออกสากล (เพราะถาเอาแบบไทยแทเลยกลัวเขียนไมไดขายไมออก) วิธีงาย ๆ ก็คือ ดูวาการตูนที่เราเขียนเนื้อเร่ืองเปนแบบไหน ถาออกแนวจักร ๆ วงศ ๆ ก็ไมยากออกแบบชุดตามละครโทรทัศนไดเลย จําพวกเครื่องแตงกายหรือ

Page 75: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๕

อาวุธก็ดัดแปลงนิดหนอย ถาเปนแนวสากบยุคสมัยใหม มีตึกรามบานชองก็ใสบรรยากาศตาง ๆ ในเมืองไทยลงไปไดเลย แตถาเปนแนวพีเรียดยอนยุคนิดผสมผสานแฟนตาซีหนอย ก็ใชเครื่องประดับการแตงกายหรืออาวุธยุทโธปกรณที่ใชลวดลายไทยเขาไปผสมผสานใหเกิดความลงตัวก็ได แตที่สําคัญเหนือส่ิงอ่ืนใด ถาเราเขียนการตูนไทย ฉากในเมืองไทย ช่ือเรียกสถานที่หรือตัวละครก็สมควรเปนชื่อไทยดวย ก็แลวแตวาเราจะเขียนการตูนแนวไหนหาชื่อที่ เหมาะสมทั้งหมดก็ขึ้นอยูกับ วิจารณญาณ ของนักเขียนการตูนแตละคน

ในสวนของงานเขียนการตูนนั้นก็มหีลากหลายแนว ผูเขียนขอยกตัวอยางบางสวน เชน การตูนแนวแอ็คช่ัน (Action) เนนฉากการตอสู ความรุนแรง การตูนแนวดรามา (Drama) เปนการตูนชีวิต สะทอนอารมณความรูสึก เศรา หดหูใจ การตูนแนวโรแมนติค (Romantic) เปนการตูนหวาน ๆซ้ึง ๆ เกี่ยวกับความรัก การตูนแนวกีฬา (Sport) เปนการตูนสรางสรรคกีฬาแตละประเภทตามเนื้อเร่ือง การตูนแนววิทยาศาสตร (Sifi) เปนการตูนวิทยาศาสตร เครื่องจักรกล การตอสูโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม การตูนแนวแฟนตาซี (Fantasy) เปนการตูนเหนือความเปนจริง อิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย การเขียนการตูนไมจําเปนตองสรางสรรค ใหเทียบเคียงหรือเทากับมืออาชีพขอเพียงเรามีความรัก ความตั้งใจจริง อุตสาหะ และเพียรพยายามที่จะเรียนรู คอย ๆ กาวไปทีละกาว แตอยาหยุด ถาเจอกับปญหาหรืออุปสรรคใหถามผูรูหรือนักเขียนอาชีพที่เรารูจักในอนาคตอีกไมนาน เราก็คงจะมีผลงานการตูนเรื่องที่ทําเปน ANIMATION หรือการตูนที่ทําเปนหนัง โดยการสรางสรรคดวยฝมือคนไทยอยางเต็มภาคภูมิเปนแน

ประสบการณดานงานเขียนการตูนของผูเขียนเองนั้นก็ยังอยูในขั้นเรียนรู ยังไมอาจโออวดวาเกง แตดวยใจรักในการวาดภาคและเขียนภาพการตูน รวมทั้งประสบการณที่อยากถายทอดแกผูที่มีความสนใจในสิ่งเดียวกัน และอยากฝกฝน ผูเขียนก็พรอมเสนอแนะแนวทาง เพื่อเปนจุดเริ่มตนแกผูที่ตองการพัฒนาตนเอง และพรอมกาวไปสูการเปนนักเขียนการตูนอาชีพอยางเปนขั้นตอน

Page 76: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๖

รูปปูนปนที่วัดสัมปทวน(นอก)

อิงตะวัน แพลูกอินทร

วัดสัมปทวน(นอก) ตําบลบางแกว อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา ตั้งอยูริมฝงแมน้ําบางปะกง และชื่อของวัดนี้เกี่ยวของกับตํานานหลวงพอโสธร 1 ซ่ึงเปนพระศักดิ์สิทธิ์คูเมืองฉะเชิงเทรา เพราะตํานานไดกลาวถึงพระพุทธรูปสามพี่นองคือ หลวงพอโสธร หลวงพอวัดบานแหลม ประดิษฐานอยูที่วัดบานแหลม จังหวัดสมุทรสงคราม และหลวงพอโต ประดิษฐานอยูที่วัดบางพลีใหญ จังหวัดสมุทรปราการ เดิมอยูทางหัวเมืองลานนา ไดแสดงอิทธิปาฏิหาริยดวยการลองลอยมาตามแมน้ําจากทิศเหนือลงสูทิศใต จนในที่สุดมาผุดขึ้นกลางแมน้ําบางปะกง ชาวบานจึงพยายามอัญเชิญขึ้นจากน้ํา โดยใชเชือกพรวนมะนิลาลงไปผูกมัดที่องคพระพุทธรูปทั้งสามองค แลวชวยกันฉุดลากขึ้นฝง แตไมสําเร็จเชือกท่ีผูกองคพระขาดลง พระพุทธรูปทั้งสามองคจมน้ําหายไป บริเวณนี้จึงไดช่ือวาตําบล “สามพระทวน” ตอมาภายหลังเพี้ยนเปน “สัมปทวน” อันเปนที่มาของชื่อวัด พระอุโบสถหลังปจจุบันของวัดสัมปทวน(นอก) เร่ิมสรางขึ้นในป พ.ศ. ๒๔๗๙ ซ่ึงอยูในชวงของพระพุทธิรังสีมุนีวงศ (ฮอ พรหมโชโต) เปนเจาอาวาสวัด ทานเห็นวาพระอุโบสถหลังเกาคับแคบ ชํารุดทรุดโทรมและตั้งอยูชิดริมฝงแมน้ําบางปะกง น้ําเซาะตลิ่งพังจนเกือบถึงตัวพระอุโบสถ ทานจึงคิดสรางพระอุโบสถหลังใหม โดยยายออกไปใหหางแมน้ํา ผูที่เจาอาวาสวัดติดตอใหมาเปนหัวหนาทําการกอสรางคือ นายเซี่ยนกี่ แซโหงว ชาวจีนฮกเกี้ยนซึ่งมีความสามารถเปนทั้งชางไม ชางปูน และชางปนพื้นเมืองฝมือดีมากกับลูก ๆ อีกสี่คน รวมทั้งเจาอาวาสวัด พระลูกวัด และชาวบานที่มีจิตศรัทธามาชวยกันลงแรงสรางพระอุโบสถหลังนี้ 2

จนกระทั่งป พ.ศ. ๒๔๙๖ พระอุโบสถก็ถูกสรางจนเสร็จเรียบรอย มีช่ือดานความสวยงาม เพราะเสาและพื้นนอกของพระอุโบสถสรางดวยหินสีที่ขัดคลายหินออน แตจุดที่นาสนใจและสําคัญคือรูปปูนปนที่อยูตามเชิงชายรอบ ๆ พระอุโบสถ มุขดานหนาปนเปนรูปนารายณถือพระขรรคยืนเหยียบบาหนุมาน ซ่ึงพระพุทธิรังสีมุนีวงศ (ฮอ) เปนผูปนเองจากการสัมภาษณคุณปาหงส 3 บอกวาหลวงพอเจาอาวาสเปนชางปนที่เกงมาก งานละเอียด ตัวหนุมานสามารถมองเห็นไดเลยวา “เหาะลง” สวนตอนลางปนเปนรูปเทวดา นางฟาอยูในลายกนกไทย มุขดานหลังปนเปนพระถังซําจั๋งพรอมดวยทหารเอกกําลังเดินทางไปยังชมพูทวีปในเรื่องไซอิ๋ว ดังที่กลาวถึงในพงศาวดารจีน ดานซายทางทิศเหนือตามชองคูหาชายคาระหวางเสา ปนเปนรูปในเรื่องเวสสันดรชาดกทั้ง ๑๓ กัณฑ ดานขวามือทางทิศใตเปนรูปสภาพพื้นที่ของเมืองฉะเชิงเทราและบริเวณหมูบานที่สรางวัด ตลอดจนสภาพชีวิตของผูคนสองฝงแมน้ําบางปะกง

Page 77: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๗

งานปนสวนใหญผูปนคือนายเซี่ยนกี่และลูก ๆ ทั้งส่ีคนเปนลูกมือชวยเตี่ย โดยจะทําการปนตามที่ทานเจาคุณพุทธิรังสีมุนีวงศ เปนผูคิดเรื่องราวและบอกเลาดวยปากเปลา ไมมีการเขียนแบบใหดู เมื่อรับฟงแลวนายเซี่ยนกี่จึงตองจินตนาการใหตรงกับความคิดของทานเจาอาวาสวัด วิธีการปน นายเซี่ยนกี่จะเขียนโครงลายไวหยาบ ๆ บริเวณเชิงชายที่จะปน หลังจากนั้นจึงนําปูนซีเมนตไปพอกตามลายที่รางไว เพื่อใชเปนตัวยึดที่คงทนไมหลุดงาย เรียกวา “โกลน” เมื่อเห็นวาปูนที่โกลนไวแข็งตัวจับแนนกับพื้นผิวดีแลว ก็จะนําปูนตํา (ไดจากการนําหินขาวมากรอง แลวตักปูนขาวสวนที่ตกตะกอนอยูกนขึ้นมา นํากระดาษฟางหรือนุนที่แชหมักไวจนเนามาตําปนกัน สวนผสมอีกอยางหนึ่งคือปูนซีเมนตสัดสวนมากกวาปูนขาวนิดหนอยใสลงไปตําดวย) มาปนพอกทับลงไปอีกช้ันหนึ่ง หนาประมาณ ๑ นิ้ว พรอมกับตกแตงลวดลายที่รางเอาไวและปนแตงใหเปนรูปที่มีความงามสมบูรณ จนเปนที่พอใจของชางปน เมื่องานปูนปนเสร็จเรียบรอยแลว นายชางเซี่ยนกี่จะรอใหแหงหมาด ๆ กอน โดยใชเวลาประมาณ ๑ - ๒ คืน จึงลงสีเพื่อใหปูนดูดสีเขาไป สีที่นํามาใชกับรูปปูนปนวัดสัมปทวน(นอก) เปนสีที่ ส่ังตรงมาจากประเทศจีน กอนใชนําสีมาผสมกับน้ํากาวหนังควาย (นําหนังควายมาเคี่ยวจนกลายเปนน้ํา) กอนแลวจึงใชทาลงบนรูปปูนปน การใชปูนและสีที่มีคุณภาพจากประเทศจีน ประกอบกับความละเอียดและภูมิปญญาของชางพื้นบานเชน พระพุทธิรังสีมุนีวงศ (ฮอ) และนายเซียนกี่ ทําใหประสิทธิภาพของรูปปูนปนที่เชิงชายพระอุโบสถมีความคงทน แข็งแกรงอยูไดเปนเวลานาน สามารถทนทานตอสภาวะดินฟาอากาศ เพื่อใหอนุชนรุนหลังไดเรียนรู โดยเฉพาะทางดานทิศใต ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้ ชวงเสาท่ี ๑ เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงสภาพของเมืองฉะเชิงเทราบริเวณสองฟากฝงแมน้ําบางปะกง ที่เต็มไปดวยปาไมหนาทึบ มีสัตวปาหลากหลายชนิด เชน ลิง หมูปา เสือ ชาง เปนตน ทั้งยังเห็นจรเขอยูในแมน้ําดวย มีบานอยูชายปา ในภาพยังเห็นผูชายกําลังตัดไม อีกคนหนึ่งกําลังปนตนไม เพื่อหนีเสือ และชาง บริเวณหนาบานมีไก สุนัข มีบันไดลงน้ํากับเรือหมูผูกอยูหนึ่งลํา ตรงกลางของรูปปูนปนมีตัวหนังสือเขียนวา “สะภาพเมืองแปดริ้วสมัยกอน พ.ศ. 2485 ประมาณ 140 ป ขึ้นไป”

ชวงเสาที่ ๒ เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงชาวจีนทําไรออย บางก็กําลังตัดออย บางก็กําลังแบกออยไปยังโรงหีบ มีชายคนหนึ่งกําลังนั่งหีบออย บางก็หาบน้ําออยที่หีบไดไปยังโรงเคี่ยวน้ําออย บางก็กําลังเคี่ยวน้ําออย มีบานและโรงเรือนของชาวจีน ตรงกลางของรูปปูนปนมีตัวหนังสือเขียนวา “สะภาพเมืองแปดริ้วสมัยกอน พ.ศ. ๒๔๘๕ ประมาณ ๑๐๐ ปเศษ”

ชวงเสาที่ ๓ เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงการทํานา ชาวบานทั้งชายและหญิงกําลังไถนา บางก็กําลังดํานา บางก็กําลังเกี่ยวขาวและหาบขาว มีเรือนที่อยูอาศัยหลายแบบ เชน เรือนไทยใตถุนสูง มีสัตวเล้ียง เชน มา ไก แมว มีผูหญิงกําลังเดินไปยังแมน้ําเพื่อตักน้ํา ตรงกลางของรูปปูนปนมีตัวอักษร เขียนวา “สะภาพเมืองแปดริว้ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๐๐ ถึง ๒๔๘๕”

Page 78: ิ่น - culture.rru.ac.thculture.rru.ac.th/images/pdf/ปี 48-วารสาร-1.pdf · ๔ สารบัญ หน า กระบวนการทํางาน : มิติด

๗๘

ชวงเสาที่ ๔ เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงชาวจีนกําลังทําสวนผัก บางก็กาํลังพรวนดิน มีเรือ ๒ ลําในแมน้ํา ลําหนึ่งเปนเรือกระแชงมีคนอาศัยอยูในเรือ มีเรือนไทยใตถุนสูง และโรงเรือนของชาวจีน มีสวนหมาก สวนมะพราว ชาวบานกําลังสอยหมาก บางก็กําลังเลี้ยงไก มีหมูเปนสัตวเล้ียงอีกอยางหนึ่ง มีคนกําลังอาบน้ําในแมน้ํา บางก็กําลังยืนไหว บางก็ลงนั่งไหวทกัทายกนั บางก็ยืนคยุกัน บางก็อยูในบาน และมีเครื่องใชตาง ๆ เชน โองน้ํา โตะเครือ่งแปง เปนตน ตรงกลางของรูปปูนปนมีตัวหนังสือเขียนวา “แปดริ้วเร่ิมมีสวนหมากมาถึง พ.ศ. ๒๔๘๕ ประมาณ ๘๐ - ๙๐ ปเศษ”

ชวงเสาที่ ๕ เปนรูปที่แสดงใหเห็นถึงชาวบานกําลังทําไรสับปะรด มีคนกําลังพายเรือสําปนขายสับปะรด ๑ ลํา และกําลังแจวเรือสําปนจางขายพืชผลทางการเกษตรชนิดอื่น ๆ อีก ๑ ลํา มีชาวจีนกําลังหาบสับปะรดไปเก็บที่โรงซึ่งตั้งอยูติดแมน้ํา มีเรือนไทยใตถุนสูง ๓ หลัง ชาวบานกําลัง สีขาวและใชครกตําขาว บางก็นั่งอยูที่นอกชานบาน บางก็กําลังใสบาตรพระสงฆที่มาบิณฑบาต ตรงกลางของรูปปูนปนมีตัวหนังสือเขียนวา “บางสวนของเมืองแปดริ้ว ประมาณระหวาง พ.ศ. ๒๔๔๐ ถึง ๒๔๘๕” รูปปูนปนวัดสัมปทวน(นอก) สะทอนใหเห็นสภาพแวดลอมทางธรรมชาติของชุมชนเมืองฉะเชิงเทรา ที่มีแมน้ําบางปะกงอันเปนสายน้ําหลักไหลผานเมือง กอเกิดวัฒนธรรมริมสายน้ํา อีกทั้งภูมิปญญาในหลาย ๆ ดาน ซ่ึงมีผลตอวิถีชีวิตของผูคนเมืองนี้ ทั้งการสรางที่อยูอาศัยริมฝงแมน้ํา การสัญจรไปมาโดยใชเรือเปนพาหนะ การทํามาหากิน เปนตน คุณคาของรูปปูนปนวัดสัมปทวน(นอก) สามารถเห็นไดอยางเปนรูปธรรม ไมวาจะเปนในดานศิลปะ ดานสังคมวิทยา ดานมนุษยวิทยา ดานคติชนวิทยา ดานประวัติศาสตร มรดกอันทรงคุณคา เชนนี้ ควรที่ลูกหลานไทยโดยเฉพาะชาวเมืองแปดริ้วจะตองรวมมือ รวมแรง รวมใจ รักษาใหคงอยูสืบตอไป

…………………………….. แหลงอางองิ

1พ. สุวรรณ. ประวัตแิละคาถาพระพุทธโสธร (หลวงพอโสธร). ๒๕๔๐. หนา ๗๑. 2ประวัติวดัสัมปทวน(นอก) และชีวประวัต ิพระพุทธิรังสีมุนีวงศ อดีตเจาอาวาสวัด

สัมปทวน. ๒๕๒๑. หนา ๑๑. 3หงส แซโหงว. เปนผูใหสัมภาษณ อิงตะวัน แพลูกอินทร เปนผูสัมภาษณ ที่ราน ส. เจริญ

เลขที่ ๔๓ - ๔๕ ถนนชุมพล อําเภอเมือง จงัหวัดฉะเชิงเทรา เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๔.